Dek-D.com ใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสบการณ์ของ
ผู้ใช้ให้ดียิ่งขึ้น เรียนรู้เพิ่มเติมที่นี่
ยอมรับ

“ตำแยตัวผู้” กับที่มาชื่อ ตำแยแมว

ตั้งกระทู้ใหม่
ตั้งกระทู้ใหม่

"ตำแยตัวผู้" กับที่มาชื่อ ตำแยแมว 

ดอก

โดย

มีสรรพคุณคือ ต้น-ใบ ต้มน้ำดื่มเป็นยาทำให้อวัยวะของทางเดินอาหารระคายเคือง เป็นยาขับเสมหะ แต่ถ้ากินมากเกินไปจะทำให้เกิดการอาเจียน สมัยก่อนนิยมใช้แทน "อิปิแค้กคูแดนฮา" ของต่างประเทศ แพทย์ตามชนบท ใช้ใบสดปรุงเป็นแกงเลียงให้เด็กกินเป็นยา ขับพยาธิเส้นด้ายออกดีมาก ซึ่งถ้าดึงหรือถอนต้น
ออกเป็นช่อกระจุกตามกิ่งก้าน แต่ละช่อประกอบด้วยดอกย่อยขนาดเล็ก 3-5 ดอก เป็นสีขาว "ผล" รูปกลม ขนาดเล็ก ภายในมีเมล็ดจำนวนมาก เมื่อผลแก่แตกได้ ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด พบขึ้นตามธรรมชาติในบริเวณที่มีพื้นดินเย็น หรือที่รกร้างข้างทาง ซึ่งในต้นสดหรือแห้งของ
ผู้อ่าน หลายคนอยากทราบว่า "ตำแยตัวผู้" กับ ตำแยแมว เป็นตัวเดียวกันหรือไม่ แตกต่างกันอย่างไร สรรพคุณทางสมุนไพรใช้รักษาโรคอะไรได้บ้าง ซึ่งก็ขอยืนยันว่า เป็นต้นเดียวกัน "ตำแยตัวผู้" หรือ ตำแยแมว มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า ACALYPHA INDICA LINN. อยู่ในวงศ์ EUPHORBIACEAE เป็นพืชจำพวกต้นหญ้า ต้นสูงเต็มที่ไม่เกิน 3-4 ฟุต ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ ก้านใบยาว ใบเป็นรูปพัด ปลายใบแหลม โคนใบมน ขอบใบหยักตื้นและถี่" หรือ ตำแยแมว มีแอลคาลอยด์ เรซินแทนนิน และน้ำมันระเหยเยอะ จึงนำไปใช้ประโยชน์ได้ตำแยตัวผู้""ทั้งต้นทั้งรากโยนทิ้งไว้ หากแมว เห็นจะวิ่งตรงเข้าไปนอนกลิ้งเกลือก และกัดกินเฉพาะรากจนหมดก่อนจะเกิดการอาเจียน เป็นยาถอนพิษโรคในตัวแมวได้ดีมาก จึงถูกตั้งชื่อว่า ตำแยแมว ดังกล่าว ปัจจุบัน มีต้นขายที่ ตลาดนัดไม้ดอกไม้ประดับสวนจตุจักร ทุกวันพุธ-พฤหัสฯ แผง "คุณตุ๊ก" หน้าตึกกองอำนวยการ ราคาสอบถามกันเองตำแยตัวผู้" ตำแยแมว

Credit :

"นายเกษตร"

 ที่มา http://203.151.217.25/news.php?section=agriculture03&content=62097

รูปประกอบ

http://topicstock.pantip.com/jatujak/topicstock/2006/11/J4905855/J4905855-1.jpg

http://topicstock.pantip.com/jatujak/topicstock/2006/11/J4905855/J4905855-11.jpg

http://www.pantip.com/cafe/jatujak/topic/J6541825/J6541825-1.jpg
http://www.pantip.com/cafe/jatujak/topic/J6541825/J6541825.html


http://topicstock.pantip.com/jatujak/topicstock/2006/11/J4905855/J4905855-3.jpg



แก้ไขครั้งที่ 1 เมื่อ 24 เมษายน 2551 / 19:07
แก้ไขครั้งที่ 2 เมื่อ 24 เมษายน 2551 / 19:08

แสดงความคิดเห็น

>

2 ความคิดเห็น