Dek-D.com ใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสบการณ์ของ
ผู้ใช้ให้ดียิ่งขึ้น เรียนรู้เพิ่มเติมที่นี่
ยอมรับ

ช่วยจัดอันดับคณะนิติศาสตร์หน่อยครับ

ตั้งกระทู้ใหม่
ตั้งกระทู้ใหม่
พอดีอยากเรียนคนะนี้มากๆเลยครับ


อยากรู้ว่านิติทุกที่จบแล้วเหมือนกันไหม


เห็นเค้าว่าถ้าเป็นจุฬา ธรรมศาสตร์ ราม จะสอบเนติ ไม่ต้องผ่านการคัดเลือกอะไรซักอย่าง สอบได้เลย


แต่ถ้าที่อื่นต้องผ่านการทดสอบอะไรซักอย่าง


พอดีผมชอบวิชาสังคมอ่ะครับ ชอบวิชาที่อ่านแล้วจำ นำไปสอบ แต่ไม่เก่งภาษาไทยแบบให้วิเคราะห์ คือผมจะคิดมากไปจน คาดคำตอบไม่ถูกว่ามันต้องลึกหรือตื้นพอในการตอบ


ผมจะเรียนไหวไหม ช่วยให้คำแนะนำทีนะครับ ขอบคุณครับ

แสดงความคิดเห็น

>

21 ความคิดเห็น

... 19 ธ.ค. 51 เวลา 18:23 น. 1

จบจากไหนก็ต้องสอบเน เหมือนกันหมดแหละ จบทุกที่เหมือนกัน เพราะกฎหมายไทยเป็นกฎหมายที่ตายตัว ไม่ว่าที่ไหนๆก็ต้องเรียนกฎหมายตัวเดียวกัน อิอิอิ&nbsp ตามความคิดเห็นของเรานะ เราก็อยากเรียนนิติศาตร์ แต่เรา จะเรียน นิติ เอแบค เพราะ เราอยากเรียน กฎหมายที่เป็นภาษาอังกฤษอ่ะ

0
กดเกดเดกเ 19 ธ.ค. 51 เวลา 18:36 น. 2

ไม่จริงครับ

มหาลัยที่เนรับรองก็สามารถต่อเนได้เลยเหมือนกันไม่ต่างอะไรกันเลย
มหาลัยที่รัฐเนรับรองก็มีเช่น
1.ธรรมศาสตร์
2.ราม
3.จุฬา
4.มสธ.
5.นเรศวร
6.เชียงใหม่

มีอีกเยอะแยะครับ

0
omm 19 ธ.ค. 51 เวลา 19:05 น. 3

คุณภาพไม่ได้อยู่ที่ชื่อสถาบัน

แต่อยู่ที่ตัวเรา

เรียนที่ไหนก็ได้ ขอแค่ตั้งใจเรียนและนำเอาวิชาที่ได้เรียนมาใช้ให้เกิดประโยชน์ก็พอแล้ว



ที่บางม.ยังไม่มีชื่อเสียง คงเป็นเพราะเพิ่งเปิดสอนได้ไม่นาน

จึงยังไม่มีคนที่มีประสบการณ์ทำงานในตำแหน่งใหญ่โตให้เราเห็น
.
.
.
ทุกมหาวิทยาลัย

จบมาก็ต้องสอบเน เหมือนกันหมด

เราขอแนะนำม.ของเราไว้เป็นหนึ่งในตัวเลือกของคนที่คิดจะเรียนนิติศาสตร์ละกัน


ม.นเรศวร จ.พิษณุโลก

ปีนี้ก็มีรุ่นพี่สอบปลัดอำเภอได้ที่1 ระดับประเทศด้วยนะ

0
Lucifer_pride7 10 ม.ค. 62 เวลา 06:40 น. 4-1

วิศวะแล้วครับแบบนี้ ไม่เติม จุฬา กับเกษตรด้วยอะครับ ≧ω≦

0
law 51 19 ธ.ค. 51 เวลา 19:32 น. 5

เรียนนิติที่ไหนก็เหมือนกันหมดอะค่ะ คือ "ยาก" เหมือนกัน
ว่าตอนเอนท์ยากแล้ว ตอนเรียนยากกว่า 100 เท่า - -ll

ส่วนเรื่องเนติรับรอง ก็ให้ดูชื่อสถาบันตามนี้นะคะ (ก๊อบมาจากเว็บเนค่ะ)

เรียนที่ไหนก็ไม่สำคัญ (เพราะยังไงก็ต้องสอบเนติเหมือนกัน)
งานราชการ ที่เกี่ยวกับตุลาการของนิติศาสตร์ค่อนข้างดีนะคะ
เพราะเวลาเข้าทำงาน ก็ต้องสอบเข้าหมด เรื่องสี .. สถาบัน ก็ไม่ค่อยเป็นปัญหาเท่าไหร่

คือสถาบันไหนก็ได้ สอบให้ผ่านเข้าทำงาน เป็นผู้ช่วยผู้พิพากษา เป็นอัยการ ก็เป็นได้ (ถ้าสอบผ่าน)
เอาใจช่วยน้องๆค่ะ

รายชื่อสถาบันการศึกษาที่เนติบัณฑิตยสภารับรองและสามารถสมัครเข้าเป็นนักศึกษาได้ในปัจจุบัน มีดังนี้

001|มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
002|จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
003|มหาวิทยาลัยรามคำแหง
004|มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
005|มหาวิทยาลัยศรีปทุม
006|มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
007|มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
008|มหาวิทยาลัยสยาม
009|มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุ
010|มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
011|วิทยาลัยบัณฑิตพิษณุโลก
012|วิทยาลัยศรีอีสาน (คณาสวัสดิ์)
013|มหาวิทยาลัยพายัพ
014|มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
015|มหาวิทยาลัยเกริก
016|มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
017|มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น
018|มหาวิทยาลัยภาคกลาง
019|วิทยาลัยศรีโสภณ
020|มหาวิทยาลัยราชธานี
021|มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
022|มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์
023|มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
024|มหาวิทยาลัยรังสิต
025|มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
026|มหาวิทยาลัยณิวัฒนา
027|วิทยาลัยโยนก
028|มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย
029|วิทยาลัยทองสุข
030|มหาวิทยาลัยหาดใหญ่
031|มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
032|วิทยาลัยเทคโนโลยีราชธานีอุดร
033|วิทยาลัยโปลีเทคนิคภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
034|มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์
035|มหาวิทยาลัยเค้นท์แห่งแคนเทอเบอรี่
036|Melbourne University
037|วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก
038|มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
039|มหาวิทยาลัยปทุมธานี
040|มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
041|มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
042|มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น
043|มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง
044|วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยนเรศวร
045|มหาวิทยาลัยนเรศวร
046|มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
047|มหาวิทยาลัยเจ้าพระยา
048|มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร
049|มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่
050|วิทยาลัยตาปี
051|วิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี
052|มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
053|มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขตสารสนเทศพะเยา
054|มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
055|วิทยาลัยสันตพล อุดรธานี
056|วิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย
057|มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
058|วิทยาลัยบัณฑิตบริหารธุรกิจ
059|มหาวิทยาลัยทักษิณ
060|วิทยาลัยนครราชสีมา
061|มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
062|มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
063|มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
064|มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี
065|มหาวิทยาลัยขอนแก่น
066|University of Oxford
067|วิทยาลัยเฉลิมกาญจนา
068|มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
069|มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
070|มหาวิทยาลัยบูรพา(ภาคบัณฑิต)

credit : http://www.thaibar.thaigov.net/Service/stu_regis.htm

0
law 51 19 ธ.ค. 51 เวลา 19:38 น. 6

เรียนนิติ ไม่ใช่แค่การท่้องจำมาตราค่ะ ...
การท่องจำมาตราเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนกฎหมายก็จริง

แต่ที่สำคัญที่สุดก็คือ เราสามารถเอาหลักกฎหมายเข้าไปประยุกต์ใช้กับสถานการณ์นั้นๆได้รึเปล่า
ซึ่งมันก็คือการวิเคราะห์ด้วยนั่นเอง

ซึ่งตอนนี้ พี่ยังบอกอะไรน้องไม่ได้มาก เพราะเพิ่้งเรียนกม.เบื้องต้น (เทอมนี้เริ่มเจาะเข้าแต่ละเรื่อง เจาะตัวบทแล้ว ยังเสียวๆอยู่เลย)
แต่ขอให้ขยันเยอะๆ นะคะ

0
ชาญชัย 21 ม.ค. 53 เวลา 19:04 น. 9

ในปี 2552 นะครับ การจัดอันดับคณะนิติศาสตร์ของไทย 5อันดับแรก เป็นดังนี้ครับ
1.รามคำแหง
2.ม.จุฬา
3.ม.ธรรมศาสตร์
4.มสธ.
5.ม.ธุรกิจบัณฑิต
6.ม.กรุงเทพ
........................ นี้เป็นข้อมูลจริงที่สุดครับ....................
..........ส่วนต่อเนนั้น ถ้าจบจากม.ข้างต้น สามารถต่อได้เลย โดยไม่ต้องสอบต่อครับ......เพราะเป็นที่ยอมรับ....

0
gvเอ 21 ต.ค. 53 เวลา 08:56 น. 10

อยู่ที่คนจัดอันดับจบจากไหนมามากกว่านะ
สำคัญคือ จบ มาแล้ว มีงานทำไหม+เป้นคนดีต่อสังคมรึป่าว

0
คุณธรรม 2 ก.พ. 54 เวลา 15:19 น. 11

สถาบันอุดมศึกษาที่ผ่านการรับรองจากเนติบัณฑิตยสภา
คณะกรรมการอำนวยการอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา อนุมัติสถาบันอุดมศึกษาที่สามารถสอบเนติบัณฑิตได้ ดังนี้[1]

กลุ่มมหาวิทยาลัยรัฐบาล
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยนเรศวร
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
มหาวิทยาลัยทักษิณ
มหาวิทยาลัยพะเยา
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
มหาวิทยาลัยบูรพา
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

กลุ่มมหาวิทยาลัยเอกชน
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
มหาวิทยาลัยศรีปทุม
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
มหาวิทยาลัยสยาม
มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล
มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
มหาวิทยาลัยพายัพ
มหาวิทยาลัยเกริก
มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น
มหาวิทยาลัยภาคกลาง
มหาวิทยาลัยราชธานี
มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์
มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
มหาวิทยาลัยรังสิต
มหาวิทยาลัยณิวัฒนา (รับรองเฉพาะที่มีรายชื่อ)
มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย
มหาวิทยาลัยหาดใหญ่
มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิตวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยปทุมธานี
มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น
มหาวิทยาลัยเจ้าพระยา
มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่
มหาวิทยาลัยโยนก
มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี

กลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฎ
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง
มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี
มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ
มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี
กลุ่มวิทยาลัย
วิทยาลัยศรีอีสาน (คณาสวัสดิ์)
วิทยาลัยศรีโสภณ
วิทยาลัยบัณฑิตพิษณุโลก
วิทยาลัยเทคโนโลยีราชธานีอุดร
วิทยาลัยทองสุข
วิทยาลัยโปลีเทคนิคภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก
วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยนเรศวร
วิทยาลัยตาปี
วิทยาลัยสันตพล อุดรธานี
วิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย
วิทยาลัยบัณฑิตบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยนครราชสีมา
วิทยาลัยเฉลิมกาญจนา

กลุ่มมหาวิทยาลัยต่างประเทศ
มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด
มหาวิทยาลัยเค้นท์แห่งแคนเทอเบอรี่
มหาวิทยาลัยเมลเบิร์น

0
112 14 ก.พ. 54 เวลา 19:03 น. 12

คณะนิติศาสตร์
มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียง และเป็นที่ยอมรับของระดับโลก
กลุ่มมหาวิทยาลัยรัฐบาล
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

0
สมาชิก 15 ก.พ. 54 เวลา 17:58 น. 13

เนติบัณฑิตยสภา
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ คุณสามารถพัฒนาบทความนี้ได้โดยเพิ่มแหล่งอ้างอิงตามสมควร บทความที่ไม่มีแหล่งอ้างอิงเลยอาจพิจารณาให้ลบ
เนติบัณฑิตยสภา ในพระบรมราชูปภัมภ์ (อังกฤษ: Thai Bar Association under the Royal Patronage) เป็นองค์การอิสระ ที่มีฐานะเป็นนิติบุคคล ตามพระราชบัญญัติเนติบัณฑิตยสภา พ.ศ. 2507 โดยมีประธานศาลฎีกา เป็นนายกเนติบัณฑิตยสภา ประธานศาลอุทธรณ์ เป็นอุปนายกเนติบัณฑิตยสภา คนที่ 1 อัยการสูงสุด เป็นอุปนายกเนติบัณฑิตยสภา คนที่ 2 มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการศึกษานิติศาสตร์ และการประกอบอาชีพทางกฎหมาย รวมทั้งจัดหาทุนเพื่อการนั้น ส่งเสริมความสามัคคีและผดุงเกียรติของสมาชิก

เนื้อหา [ซ่อน]
1 ประวัติ
2 สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา
2.1 การสมัครเข้าเป็นนักศึกษา
3 สถาบันอุดมศึกษาที่ผ่านการรับรองจากเนติบัณฑิตยสภา
3.1 หลักสูตรการเรียนการสอน
3.2 การจบหลักสูตร
4 แหล่งข้อมูลอื่น
5 อ้างอิง


[แก้] ประวัติ
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีพระราชดำริจัดตั้งเนติบัณฑิตยสภา เพื่อประสงค์บำรุงการศึกษาวิชากฎหมายทั้งการรักษาความประพฤติของทนายความ ให้ตั้งอยู่ในสัจธรรม ให้สาธารณชนได้อาศัยทนายความซึ่งมีความสามารถและสมควรที่จะเชื่อถือได้ดียิ่งขึ้น ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยาอภัยราชา เสนาบดีกระทรวงยุติธรรม และกรมหลวงสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ อธิบดีศาลฎีกา พิจารณาร่างข้อบังคับเนติบัณฑิตยสภา ทรงรับเนติบัณฑิตยสภาไว้ในพระบรมราชูปถัมภ์ เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2457 และถือเป็น "วันกำเนิดเนติบัณฑิตยสภา"

[แก้] สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา
เมื่อ พ.ศ. 2491 เนติบัณฑิตยสภาได้จัดตั้ง สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา (Institute of Legal Education Thai Bar Association ) มีหลักสูตรตามแบบอย่างของ "สภาการศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภาประเทศอังกฤษ" และต้องตามมติของ "เนติบัณฑิตยสภาสากล" ซึ่งได้มีมติในการประชุมใหญ่ครั้งที่ 2 ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ เมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2491 ว่า การจัดการศึกษาวิชากฎหมายนั้นจำเป็นต้องให้มีการศึกษาภาคปฏิบัติอย่างเพียงพอเสียก่อนที่จะอนุญาตเข้าปฏิบัติงานในวิชาชีพกฎหมาย

สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา เริ่มเปิดการสอนและศึกษาขึ้นเป็นครั้งแรก ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2491 ผู้ที่สอบไล่ได้ตามหลักสูตร และเนติบัณฑิตยสภาได้ยอมรับเข้าเป็นสามัญสมาชิกแล้ว ให้เป็นเนติบัณฑิต (Barrister-at-Law) เรียกว่า เนติบัณฑิตไทย ใช้อักษรย่อ น.บ.ท.

[แก้] การสมัครเข้าเป็นนักศึกษา
ผู้เป็นนักศึกษาในสำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภาต้องเป็น

(1) ผู้สอบไล่ได้ปริญญาตรีทางนิติศาสตร์จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์หรือมหาวิทยาลัยรามคำแหงขึ้นไป

(2) ผู้ที่ได้ศึกษาวิชานิติศาสตร์ในสถาบันอื่น ในหรือนอกประเทศไทย และสอบไล่ได้ตามมาตราฐานซึ่งคณะกรรมการอำนวยการอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา เทียบให้ไม่ต่ำกว่าวิทยฐานะดังกล่าว ใน (1) ซึ่งในทางปฏิบัติ คณะกรรมการอำนวยการอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา ได้เทียบระดับปริญญาตรีทางนิติศาสตร์ จากสถาบันการศึกษาที่ทบวงมหาวิทยาลัยได้รับรองมาตราฐานการศึกษาแล้ว

[แก้] สถาบันอุดมศึกษาที่ผ่านการรับรองจากเนติบัณฑิตยสภา
คณะกรรมการอำนวยการอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา อนุมัติสถาบันอุดมศึกษาที่สามารถสอบเนติบัณฑิตได้ ดังนี้[1]

กลุ่มมหาวิทยาลัยรัฐบาล
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยนเรศวร
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
มหาวิทยาลัยทักษิณ
มหาวิทยาลัยพะเยา
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
มหาวิทยาลัยบูรพา
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
กลุ่มมหาวิทยาลัยเอกชน
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
มหาวิทยาลัยศรีปทุม
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
มหาวิทยาลัยสยาม
มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล
มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
มหาวิทยาลัยพายัพ
มหาวิทยาลัยเกริก
มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น
มหาวิทยาลัยภาคกลาง
มหาวิทยาลัยราชธานี
มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์
มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
มหาวิทยาลัยรังสิต
มหาวิทยาลัยณิวัฒนา (รับรองเฉพาะที่มีรายชื่อ)
มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย
มหาวิทยาลัยหาดใหญ่
มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิตวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยปทุมธานี
มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น
มหาวิทยาลัยเจ้าพระยา
มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่
มหาวิทยาลัยโยนก
มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี
กลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฎ
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง
มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี
มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ
มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี
กลุ่มวิทยาลัย
วิทยาลัยศรีอีสาน (คณาสวัสดิ์)
วิทยาลัยศรีโสภณ
วิทยาลัยบัณฑิตพิษณุโลก
วิทยาลัยเทคโนโลยีราชธานีอุดร
วิทยาลัยทองสุข
วิทยาลัยโปลีเทคนิคภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก
วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยนเรศวร
วิทยาลัยตาปี
วิทยาลัยสันตพล อุดรธานี
วิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย
วิทยาลัยบัณฑิตบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยนครราชสีมา
วิทยาลัยเฉลิมกาญจนา
กลุ่มมหาวิทยาลัยต่างประเทศ
มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด
มหาวิทยาลัยเค้นท์แห่งแคนเทอเบอรี่
มหาวิทยาลัยเมลเบิร์น


[แก้] หลักสูตรการเรียนการสอน
ภาคเรียนที่หนึ่ง
กลุ่มวิชากฎหมายแพ่ง ได้แก่ วิชาทรัพย์-ที่ดิน l นิติกรรม-สัญญา l หนี้ l ละเมิด l ซื้อขาย-เช่าทรัพย์-เช่าซื้อ l ยืม-ค้ำประกัน-จำนอง-จำนำ l ตัวแทน-ประกันภัย-ตั๋วเงิน-บัญชีเดินสะพัด l หุ้นส่วน-บริษัท l ครอบครัว l มรดก l กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา l กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ

การเรียนการสอนในกลุ่มวิชากฎหมายแพ่งนั้น จะใช้บทบัญญัติตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ทั้งหมด แต่ในส่วนของวิชาละเมิด ได้มีการนำหลักความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ ตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 มาประกอบการเรียนการสอนด้วย

กลุ่มวิชากฎหมายอาญา ได้แก่ วิชากฎหมายอาญา l กฎหมายแรงงานและวิธีพิจารณาคดีในศาลแรงงาน l รัฐธรรมนูญ l กฎหมายปกครอง l กฎหมายภาษีอากร

ในส่วนของกฎหมายอาญานั้น จะมีการแบ่งออกไปเป็น 3 วิชา ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 59-106 1 วิชา 1-58,107-208 1 วิชา และ มาตรา 288-366 อีก 1วิชา

ภาคเรียนที่สอง
กลุ่มวิชากฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ได้แก่ กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง l กฎหมายล้มละลายและการฟื้นฟูกิจการ l ระบบศาลและพระธรรมนูญศาลยุติธรรม l

กลุ่มวิชากฎหมายวิธิพิจารณาอาญา ได้แก่ กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา l สิทธิมนุษยชนในกระบวนการยุติธรรม l กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน l วิชาว่าความและการถามพยาน l การจัดทำเอกสารทางกฎหมาย

[แก้] การจบหลักสูตร
ผู้ที่จะถือว่าจบหลักสูตรเป็นเนติบัณฑิตได้นั้น จะต้องสอบผ่านการสอบข้อเขียนทั้งสองภาค โดยในการสอบแต่ละภาคจะต้องได้คะแนนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 50 ขึ้นไป และผ่านการสอบปากเปล่า ผู้ที่สามารถสอบผ่านภาคหนึ่งภาคใดได้ ไม่ต้องสอบข้อเขียนของภาคนั้นอีก แม้ว่าจะสอบข้อเขียนอีกภาคหนึ่งตก เมื่อสอบได้ทั้งสองภาคจึงมีสิทธิสอบปากเปล่า

การสอบปากเปล่า กรรมการผู้สอบจะวินิจฉัยเพียงว่า "สอบได้" หรือ "สอบตก" เท่านั้น ถ้าผู้สอบปากเปล่าผู้ใดสอบตก ผู้นั้นมีสิทธิเข้าสอบปากเปล่ากับคณะกรรมการซึ่งตั้งขึ้นเพื่อการนั้นในวันเดียวกันอีกครั้งหนึ่ง ถ้าผู้สอบปากเปล่าตกในการเรียนสมัยใด (หรือปีใด) ผู้นั้นมีสิทธิสอบแก้ตัวอีกสามครั้ง หากยังสอบไม่ผ่านอีกเป็นครั้งที่สาม ให้ถือว่าการสอบข้อเขียนทั้งสองภาคที่ได้ไว้แล้วนั้นเป็นอันยกเลิก

[แก้] แหล่งข้อมูลอื่น
เว็บไซต์ เนติบัณฑิตยสภา ในพระบรมราชูปถัมภ์
เว็บไซต์ สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา
เว็บไซต์ เนติบัณฑิตยสภาสากล
[แก้] อ้างอิง
^ รายชื่อสถาบันการศึกษาที่เนติบัณฑิตยสภารับรองในปัจจุบัน
บทความเกี่ยวกับหน่วยงาน หรือองค์กรนี้ยังไม่สมบูรณ์ คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้ด้วยการเพิ่มเติมข้อมูล
ดึงข้อมูลจาก "http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%93%E0%B8%91%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%A2%E0%B8%AA%E0%B8%A0%E0%B8%B2".
หมวดหมู่: องค์กรวิชาชีพ | นิติศาสตร์ | บทความเกี่ยวกับ หน่วยงาน ที่ยังไม่สมบูรณ์
หมวดหมู่ที่ซ่อนอยู่: บทความที่ขาดแหล่งอ้างอิง
เครื่องมือส่วนตัว
ล็อกอิน / สร้างบัญชีผู้ใช้ เนมสเปซ
บทความ อภิปราย สิ่งที่แตกต่างดู
เนื้อหา แก้ไข ประวัติ การกระทำสืบค้น

ป้ายบอกทาง
หน้าหลัก
เหตุการณ์ปัจจุบัน
ถามคำถาม
บทความคัดสรร
บทความคุณภาพ
สุ่มบทความ
มีส่วนร่วม
ศาลาประชาคม
ปรับปรุงล่าสุด
เรียนรู้การใช้งาน
ติดต่อวิกิพีเดีย
บริจาคให้วิกิพีเดีย
วิธีใช้
พิมพ์/ส่งออก
สร้างหนังสือ
ดาวน์โหลดในชื่อ PDF
หน้าสำหรับพิมพ์
เครื่องมือ
หน้าที่ลิงก์มา
ปรับปรุงที่เกี่ยวโยง
อัปโหลด
หน้าพิเศษ
ลิงก์ถาวร
อ้างอิงบทความนี้
หน้านี้แก้ไขล่าสุดเมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2554 เวลา 14:19 น.
อนุญาตให้เผยแพร่ภายใต้สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ แบบแสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน; เงื่อนไขอื่นอาจใช้ประกอบด้วย โปรดศึกษาเงื่อนไขการใช้งาน
Wikipedia® เป็นเครื่องหมายการค้าจดทะเบียนของมูลนิธิวิกิมีเดีย

0
สมาชิก 15 ก.พ. 54 เวลา 18:35 น. 14

ผู้ที่สำเร็จการศึกษาใน&nbsp คณะนิติศาสตร์
&nbsp สามารถประกอบอาชีพได้ทุกอาชีพ&nbsp  และยังสามารถเข้ารับราชการได้ในทุกกระทรวง&nbsp ทบวง&nbsp  กรม เช่น&nbsp  ผู้พิพากษา&nbsp &nbsp พนักงานอัยการ&nbsp &nbsp พนักงานสอบสวน&nbsp  ตำรวจ&nbsp &nbsp นายทหารพระธรรมนูญ&nbsp  นิติกร ปลัดอำเภอ หรือประกอบอาชีพอิสระ&nbsp  เช่น&nbsp ทนายความ&nbsp  ที่ปรึกษากฎหมาย&nbsp &nbsp ตั้งสำนักงานทนายความ และสามารถศึกษาต่อในสำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา เพื่อสอบเป็นเนติบัณฑิตไทย (น.บ.ท.) ในระดับสูงขึ้นต่อไปได้&nbsp &nbsp &nbsp ประกอบอาชีพได้ทั้งในภาครัฐ&nbsp  ภาคเอกชน รัฐวิสาหกิจ&nbsp &nbsp และหน่วยงานระหว่างประเทศในตำแหน่งเจ้าพนักงานปกครอง&nbsp  เจ้าหน้าที่ตำรวจ&nbsp  นักวิชาการศึกษา&nbsp &nbsp นักวิเคราะห์นโยบายและแผน&nbsp &nbsp เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป&nbsp &nbsp  เจ้าหน้าที่การทูต พนักงานบริษัทห้างร้าน&nbsp  เจ้าหน้าที่บุคคล&nbsp  เจ้าหน้าที่การตลาด&nbsp &nbsp เจ้าหน้าที่วิเทศสัมพันธ์ประจำบริษัทหรือธนาคารพาณิชย์&nbsp  เลขานุการ&nbsp  นักหนังสือพิมพ์&nbsp  พนักงานรัฐวิสาหกิจ&nbsp &nbsp เจ้าหน้าที่ขององค์การระหว่างประเทศ&nbsp &nbsp มูลนิธิ&nbsp &nbsp หรือสมาคมระหว่างประเทศต่างๆ&nbsp  นอกจากนั้น&nbsp  ยังสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในอาชีพที่เกี่ยวข้องกับการเมือง&nbsp  ทั้งในระดับท้องถิ่น&nbsp  ระดับภูมิภาค&nbsp และระดับประเทศ เช่น การเป็นสมาชิกสภาเทศบาล&nbsp  สมาชิกสภาจังหวัด&nbsp  สมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบล&nbsp &nbsp สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร&nbsp &nbsp สมาชิกวุฒิสภา&nbsp &nbsp &nbsp อื่นๆอีกมากมาย&nbsp &nbsp &nbsp  และสามารถศึกษาต่อในระดับสูงขึ้นทั้งในและต่างประเทศ&nbsp &nbsp &nbsp 






&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp  &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp  &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp 

0
สาม 15 ก.พ. 54 เวลา 18:38 น. 15

นักคึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ศึกษาต่อที่ประเทศณี่ปุ่น&nbsp หรือ ขอทุนการศึกษา จาก ญี่ปุ่น
ไปศึกษาต่อในระดับปริญญาโท (หลักสูตรภาษาอังกฤษ) ที่สถาบันและมหาวิทยาลัยในญี่ปุ่น&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp 
คณะนิติศาสตร์

ทุนนักศึกษาประเภท Young Leaders Program (YLP)
สถานเอกอัครราชทูตญี่ปุ่นประจำประเทศไทย คัดเลือกข้าราชการสามัญ หรือผู้ทำงานในสังกัดหรือองค์กรที่เกี่ยวข้องในสาขาวิชานั้น และเป็นผู้ซึ่งจะมีบทบาทในการเป็นผู้นำในการพัฒนาประเทศไทย ไปศึกษาต่อในระดับปริญญาโท (หลักสูตรภาษาอังกฤษ) ที่สถาบันและมหาวิทยาลัยในญี่ปุ่น ระยะเวลารับทุนการศึกษา 1 ปี ทุนแบ่งออกเป็น 5 สาขาวิชาคือ 1. สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ 2. สาขาวิชาบริหารธุรกิจ 3. สาขาวิชานิติศาสตร์ 4. สาขาวิชาการบริหารทางแพทยศาสตร์ 5. สาขาวิชาการปกครองส่วนท้องถิ่น
ผู้สมัครต้องมีสัญชาติไทย อายุไม่เกิน 40 ปี (ไม่เกิน 35 ปีสำหรับสาขาวิชาบริหารธุรกิจ) จบการศึกษาระดับปริญญาตรี มีประสบการณ์การทำงานในองค์กร หรือหน่วยงานของรัฐบาลมามากกว่า 3-5 ปี (คุณสมบัติแตกต่างไปตามสาขาที่สมัคร) ทั้งนี้ผู้สมัครต้องได้รับการเสนอชื่อจากหน่วยงานรัฐ หรือองค์กรที่สังกัดเท่านั้น ทุนเริ่มรับสมัครประมาณเดือนกันยายนของทุกปี และเริ่มรับทุนตั้งแต่เดือนตุลาคมของปีถัดไป&nbsp 

http://www.studyjapan.go.jp/th/index.html

http://www.g-studyinjapan.jasso.go.jp/ja/

http://www.jeic-bangkok.org/_ทุนการศึกษาที่ขอรับได้ก่อนเข้าประเทศญี่ปุ่น,25

http://www.jeic-bangkok.org/_ทุนการศึกษาที่ขอรับได้หลังเข้าประเทศญี่ปุ่นแล้ว,26

http://www.jasso.go.jp/study_j/scholarships_e.html


http://www.jasso.go.jp/study_j/scholarships_sfisij_e.html






&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp  &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp 

0
เนติบัณฑิตยสภา 15 ก.พ. 54 เวลา 18:40 น. 16

นักคึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ประกาศสมัครสอบผู้ช่วยผู้พิพากษาประจำปี พ.ศ.2554
ขอรับใบสมัครได้ตั้งแต่วันที่ ๓๑ ม.ค.๕๔ ถึงวันที่ ๒๕ มี.ค.๕๔
ยื่นใบสมัครได้ตั้งแต่วันที่ ๗ ก.พ.๕๔ ถึงวันที่ ๒๕ มี.ค.๕๔


http://www.ojc.coj.go.th/

เอกสารประกาศรับสมัคร

http://www.ojc.coj.go.th/system/ojc5...y/test2554.pdf&nbsp 








&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp 

0
หนึ่ง 18 มี.ค. 54 เวลา 12:43 น. 17

เนติบัณฑิตยสภา

สถาบันอุดมศึกษาที่ผ่านการรับรองจากเนติบัณฑิตยสภาคณะกรรมการอำนวยการอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา อนุมัติสถาบันอุดมศึกษาที่สามารถสอบเนติบัณฑิตได้ ดังนี้[1

กลุ่มมหาวิทยาลัยรัฐบาล
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยนเรศวร
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
มหาวิทยาลัยทักษิณ
มหาวิทยาลัยพะเยา
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
มหาวิทยาลัยบูรพา
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
กลุ่มมหาวิทยาลัยเอกชน
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
มหาวิทยาลัยศรีปทุม
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
มหาวิทยาลัยสยาม
มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล
มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
มหาวิทยาลัยพายัพ
มหาวิทยาลัยเกริก
มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น
มหาวิทยาลัยภาคกลาง
มหาวิทยาลัยราชธานี
มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์
มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
มหาวิทยาลัยรังสิต
มหาวิทยาลัยณิวัฒนา (รับรองเฉพาะที่มีรายชื่อ)
มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย
มหาวิทยาลัยหาดใหญ่
มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิตวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยปทุมธานี
มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น
มหาวิทยาลัยเจ้าพระยา
มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่
มหาวิทยาลัยโยนก
มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี


กลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฎ
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง
มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี
มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ
มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี
กลุ่มวิทยาลัย
วิทยาลัยศรีอีสาน (คณาสวัสดิ์)
วิทยาลัยศรีโสภณ
วิทยาลัยบัณฑิตพิษณุโลก
วิทยาลัยเทคโนโลยีราชธานีอุดร
วิทยาลัยทองสุข
วิทยาลัยโปลีเทคนิคภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก
วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยนเรศวร
วิทยาลัยตาปี
วิทยาลัยสันตพล อุดรธานี
วิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย
วิทยาลัยบัณฑิตบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยนครราชสีมา
วิทยาลัยเฉลิมกาญจนา
กลุ่มมหาวิทยาลัยต่างประเทศ
มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด
มหาวิทยาลัยเค้นท์แห่งแคนเทอเบอรี่
มหาวิทยาลัยเมลเบิร์น





&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp 

0
Somchok2541 21 มี.ค. 60 เวลา 00:56 น. 18

ราชภัฎสุราชธานี ดีไหมครับคณะ มีทั้งครูทั้งรุ่นพี่ บอกให้ไปเรียนรามดีกว่า ถ้าไม่ได้ที่ไหนแล้ว ช่วยบอกผมได้ไหมครับว่าทำมาจะมีงานทำไหม

0
สวสส 22 ม.ค. 63 เวลา 00:21 น. 20

ถ้าจะให้บอกว่าเรียนที่ไหนดี ผมนึกออกอยู่3สถาบัน

ราม จุฬา มธ แค่นี้ ม.อื่นนึกไม่ออกจริงๆ

0