Dek-D.com ใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสบการณ์ของ
ผู้ใช้ให้ดียิ่งขึ้น เรียนรู้เพิ่มเติมที่นี่
ยอมรับ

เฉลยข้อสอบ Ent. คณิตศาสตร์ 2 (48) โดยเด็กเทพศิรินทร์

ตั้งกระทู้ใหม่
ตั้งกระทู้ใหม่

อัตนัยข้อ (1) ข้อ ให้ f : R > R กำหนดโดย f(x) = ax + b เมื่อ a, b R และ f(f(x)) = x + 20 ค่าสูงสุดของ½ab½มีค่าเท่ากับเท่าใด

วิธีทำ

                แนวคิด  จากโจทย์  f (x)  = ax + b

                    จะได้   f (f (x)) = a (f(x)) + b

                                        = a (ax + b) + b

                                        = a2x + (ab + b)

                 จากโจทย์ f (f (x))= x + 20

                  จะได้ a2x + (ab + b) = x + 20

                  จากการเทียบสัมประสิทธิ์

                        a2 = 1    ¾ 

                   ab + b = 20 ¾ ‚

                  จาก  จะได้a = 1 หรือ a = -1 แล้วนำไปแทนใน ‚

                  ถ้า a = 1 จะได้ b = 10

                  ถ้า a = -1 จะได้ 0 = 20 แสดงว่า a = -1  ใช้ไม่ได้

                  ดังนั้นค่าสูงสุดของ ½ab½ = ½1´10½= 10  ตอบ


วงศพัทธ์

แสดงความคิดเห็น

>

15 ความคิดเห็น

โนเนม คร้าบ 4 ก.ค. 49 เวลา 16:56 น. 1

16. ถ้าพหุนาม p(x) หารด้วย x – 2 เหลือเศษ 3 และหารด้วย x - 3 เหลือเศษ 2 จงหาว่า p(x) หารด้วย (x – 2)(x – 3) จะเหลือเศษตรงกับข้อใด

ตอบ&nbsp&nbsp&nbsp 1) 2x + 5&nbsp&nbsp&nbsp 2) -2x+5&nbsp&nbsp&nbsp 3) –x + 5&nbsp&nbsp&nbsp 4) –x – 5



วิธีคิด &nbsp&nbsp&nbsp 

เนื่องจากพหุนาม p(x) หารด้วย x – 2 เหลือเศษ 3 และหารด้วย x – 3 เหลือเศษ 2 จะได้&nbsp &nbsp  p(2) = 3 และ p(3) = 2 โดยทฤษฎีเศษ

ให้ p(x) หารด้วย (x – 2)(x – 3) มีผลลัพธ์เป็น q(x) และเศษอยู่ในรูป Ax + B (เนื่องจากตัวหารเป็นพหุนามดีกรี 2)

ดังนั้น&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp p(x) = q(x)(x – 2)(x – 3) + (Ax + B)

แทน x = 2 จะได้ :&nbsp&nbsp&nbsp p(2) = 3 = 0 + A(2) + (B)

&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp 2A + B = 3

แทน x = 3 จะได้ :&nbsp&nbsp&nbsp p(3) = 2 = 0 + A(3) + B

&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp 3A + B = 2

&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp A = -1&nbsp&nbsp&nbsp 

&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp B = 5

ดังนั้นเศษคือ –x + 5 Ans



นาย จักรภพ&nbsp  เกียรติสถาปัตย์

0
GoDGrAnDFaThER 6 มิ.ย. 49 เวลา 15:53 น. 6

ข้อ 19 ปรนัย กำหนดให้ f เป็นฟังก์ชันพหุนามกำลังสาม ซึ่งมีเส้นสัมผัสในแนวนอนที่จุด (0,1) และ (1,0)  แล้วค่าของ f(2) จะมีค่าเท่าใด

วิธีทำ

แนวคิด  สมมติให้

      f(x) = ax3 + bx2 +cx + d   --

      f¢(x) = 3ax2 + 2bx + c      --‚

กราฟ f มีเส้นสัมผัสแนวนอนที่ (0, 1)

จะได้ f(0) = 1 และ  f¢(0) = 0

จาก  ; f(0) = 0 + 0 + 0 + d

               1  = d

จาก ‚ ; f¢(0) = 0 + 0 + c

0         = c

กราฟ f มีเส้นสัมผัสแนวนอนที่จุด (1,0)

จะได้ f (1) = 0 และ f¢(1) = 0

จาก  ;  f(1) = a + b + 0 + 1

                0  = a + b + 1      --ƒ

จาก ‚ ; f¢(1) = 3a + 2b + 0

                 0 = 3a + 2b        -- „

ƒ ´ 2 ;     0 = 2a + 2b + 2   -- …

„ - … ;    0 = a – 2

                 a = 2

แทน a = 2 ใน ƒ ;

                0 = 2 + b + 1

                b = -3

แทนค่า a = 2, b = -3, c = 0 และ d =1 ใน  จะได้

      f(x) = 2x3 – 3x2 + 1

            f(2) = 2(2)3 – 3(2)2 + 1      = 5 ตอบ

นัทพล

0
GoDGrAnDFaThER 6 มิ.ย. 49 เวลา 15:56 น. 7

ผมจะทยอยเอาลงให้นะครับอาจจะช้าหน่อยพราะว่ามานแก้โจทย์ได้ยากมากเลย
นะคับขอให้ทุกคนในเย้นด้วยนะครับ

0
Denzel 6 มิ.ย. 49 เวลา 16:05 น. 9

ในเย้นที่ว่านี่ หมายถึง ใจเย็นชิมิฮับนั่น - - ขอบคุณที่มาช่วยลงให้นาฮับ

0
KiI3a 8 มิ.ย. 49 เวลา 00:33 น. 10

ส่งๆ ไม่สมัครสมาชิกนะ



กำหนดพหุนาม

P(x) = 2x4 + 5x3 – 8x2 – 7x – 9&nbsp ถ้าหาร

P(x) ด้วย x-c พบว่าเหลือเศษ –35 แล้ว

ถ้าหาร P(x) ด้วย x+c จะเหลือเศษเท่ากับ

ข้อใดต่อไปนี้

1)&nbsp  35&nbsp&nbsp&nbsp 2)&nbsp  27

3)&nbsp  17&nbsp&nbsp&nbsp 4)&nbsp  15

ตอบ&nbsp &nbsp 3

แนวคิด&nbsp  จาก P (x)&nbsp = 2x4 + 5x3 – 8x2 – 7x – 9

จากทฤษฎีเศษเหลือ ถ้าหาร P(x)&nbsp ด้วย x-c จะเหลือเศษ&nbsp P (c)

จะได้ P (c) = -35

จากการลองแทนค่า

P(-2) = 2(-2)4+5(-2)3-8(-2)2-7(-2)-9&nbsp =&nbsp -35

นั่นคือ&nbsp C = -2

ถ้าหาร P(x) ด้วย x+c

นั่นคือหาร P(x) ด้วย x-2 นั่นเองจะเหลือเศษเท่ากับ

P(2) = 2(2)4+5(2)3-8(2)2-7(2)-9&nbsp =&nbsp 17&nbsp&nbsp&nbsp ตอบ



นายภานนท์ เกตุจันทร์ โรงเรียนเทพศิรินทร์

0
ตี๋ คนไทย 18 มิ.ย. 49 เวลา 11:17 น. 12
 

1.     กำหนดให้ F(x) เป็นฟังก์ชันพหุนาม และ  f¢(x) = f(x) ถ้า F(0) = 1 และ F(x) - f¢(x) = x3 + x2 –5x –1 แล้ว f(1) มีค่าเท่ากับเท่าใด

ตอบ  6

      แนวคิด  เนื่องจาก f(x) เป็นฟังก์ชันพหุนาม            ถ้าดีกรีของฟังก์ชัน f(x) เท่ากับ n

      จะได้ดีกรีของ F(x) เท่ากับ n+1  และดีกรีของ

f¢(x) เท่ากับ n-1

      นั่นคือดีกรีของ F(x) มากกว่าดีกรีของ f¢(x) อยู่ 2

      จาก F(x) - f¢(x) = x3 + x2 – 5x –1  ¾ 

            จะได้ว่าดีกรีของ F(x) เท่ากับ 3

      ดังนั้น F(x) = ax3 + bx2 + cx +d

      จาก F(0)   = 1  นั่นคือ  d = 1

            f¢(x)   = F¢(x)  = 3ax2 + 2bx + c

            f¢(x)   = 6ax + 2b

\ F(x) - f¢(x) = ax3 + bx2 +(c-6a)x +1-2b¾‚

จาก  และ ‚ โดยการเทียบสัมประสิทธิ์จะได้ว่า

                     a = 1 , b = 1

              c – 6a  =  -5

            c – 6(1)  =  -5

                    c   =  1

         ดังนั้น f (x)  =  3 x2 + 2x + 1

         นั่นคือ f (1)  =  3 (1)2 + 2(1) + 1

                         =  3 + 2 + 1

                         =  6                              ตอบ


วิษณุ  โรงเรียนเทพศิรินทร์

ตอบ  6

      แนวคิด  เนื่องจาก f(x) เป็นฟังก์ชันพหุนาม            ถ้าดีกรีของฟังก์ชัน f(x) เท่ากับ n

      จะได้ดีกรีของ F(x) เท่ากับ n+1  และดีกรีของ

f¢(x) เท่ากับ n-1

      นั่นคือดีกรีของ F(x) มากกว่าดีกรีของ f¢(x) อยู่ 2

      จาก F(x) - f¢(x) = x3 + x2 – 5x –1  ¾ 

            จะได้ว่าดีกรีของ F(x) เท่ากับ 3

      ดังนั้น F(x) = ax3 + bx2 + cx +d

      จาก F(0)   = 1  นั่นคือ  d = 1

            f¢(x)   = F¢(x)  = 3ax2 + 2bx + c

            f¢(x)   = 6ax + 2b

\ F(x) - f¢(x) = ax3 + bx2 +(c-6a)x +1-2b¾‚

จาก  และ ‚ โดยการเทียบสัมประสิทธิ์จะได้ว่า

                     a = 1 , b = 1

              c – 6a  =  -5

            c – 6(1)  =  -5

                    c   =  1

         ดังนั้น f (x)  =  3 x2 + 2x + 1

         นั่นคือ f (1)  =  3 (1)2 + 2(1) + 1

                         =  3 + 2 + 1

                         =  6                              ตอบ


วิษณุ  โรงเรียนเทพศิรินทร์

0
P ๐_๐ l\/l__K \_/ l\l G 23 มิ.ย. 49 เวลา 23:48 น. 13

ความน่าจะเป็น



&nbsp จงเขียนแซมสเปซของการทดลองสุ่มในแต่ละข้อต่อไป



&nbsp  1. โยนเหรียญหนึ่งอันหาครั้ง และสนใจจำนวนครั้งที่ขึ้นก้อย



&nbsp  2. ทีมบาสเกตบอล ก. ลงแข่งขันกับทีมบาสเกตบอล ข. และสนใจผลการแข่งขันของทีม ก



&nbsp  3. หยิบลูกปิงปองหนึ่งลูกออกมาจากกล่อง ซึ่งมีลูกปิงปองสีขาว สีเขียว สีแดง และสนใจว่าได้ลูกปิงปองสีใด



&nbsp  4. การสังเกตอุบัติเหตุบนถนนสายหนึ่ง ในเวลา 5.00 น. ถึง 24.00 น. และสนใจจำนวนอุบัติเหตึที่เกิดขึ้น



&nbsp 

&nbsp &nbsp วิธีทำ&nbsp S1 , S2 , S3 , และ S4 เป็นแซมเปิลสเปซของการทดลองสุ่มที่ต้องการตามลำดับ จะได้



&nbsp  S1 = { 0 , 1 , 2 , 3 , 4 , 5 }



&nbsp  S2 = { ชนะ , เสมอ , แพ้ }



&nbsp  S3 = { สีขาว , สีเขียว , สีแดง }



&nbsp  S4 = { 0 , 1 , 2 , 3 , ... }

&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp  นาย ภูมิ&nbsp  สุภนิรันดร์ โรงเรียนเทพศิรินทร์

0