Dek-D.com ใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสบการณ์ของ
ผู้ใช้ให้ดียิ่งขึ้น เรียนรู้เพิ่มเติมที่นี่
ยอมรับ

ข้อสอบภาษาไทย ของดาวอง (อ.ปิง)

ตั้งกระทู้ใหม่
ตั้งกระทู้ใหม่
ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย วิชาภาษาไทย มีนาคม พ.ศ. 2548

 มีทั้งหมด 100 ข้อ

1. ข้อใดเขียนถูกทุกคำ

  1. ทุภิกขภัย นิมิต สังวร
  2. อภิชาต ฉันท์ญาติ เจียระไน
  3. จำนง ชมดชม้อย นิวรณ์
  4. พัสดี ประณีต กระทัดรัด
  • ทุภิกขภัย นิมิต สังวร
  • อภิชาต ฉันท์ญาติ เจียระไน
  • จำนง ชมดชม้อย นิวรณ์
  • พัสดี ประณีต กระทัดรัด
  • ข้อ 3

    2. ข้อใดมีคำทุกคำมีจำนวนพยางค์เท่ากับ “กลไก”

    1. ทิวทัศน์ ผลกรรม พลีชีพ
    2. กิจกรรม คุณภาพ จักจั่น
    3. เกียรติยศ ฆาตกรรม จัตุรัส
    4. กรมหลวง จิตแพทย์ ซอมซ่อ
  • ทิวทัศน์ ผลกรรม พลีชีพ
  • กิจกรรม คุณภาพ จักจั่น
  • เกียรติยศ ฆาตกรรม จัตุรัส
  • กรมหลวง จิตแพทย์ ซอมซ่อ
  • ข้อ 1

    3. ข้อใดมีคำที่มีเสียงสระต่างกับข้ออื่น

    1. กะทันหัน ซักไซ้ อะไหล่
    2. เยาว์วัย ไผท เผ่าพันธุ์
    3. มักกะสัน บรรเทา ลำไย
    4. บรรลัย ย่อมเยา สำปะหลัง
  • กะทันหัน ซักไซ้ อะไหล่
  • เยาว์วัย ไผท เผ่าพันธุ์
  • มักกะสัน บรรเทา ลำไย
  • บรรลัย ย่อมเยา สำปะหลัง
  • ข้อ 4

    4. ข้อใดมีคำที่ประกอบด้วยเสียงสระเดี่ยวทุกคำ

    1. สิ่งแวดล้อมกำลังเสื่อมลงอย่างมาก
    2. อันเนื่องมาจากการกระทำของมนุษย์เอง
    3. โลกจะสวยงามได้ด้วยสองมือของคน
    4. จงมาพิทักษ์ธรรมชาติ ลำธาร และป่าไม้
  • สิ่งแวดล้อมกำลังเสื่อมลงอย่างมาก
  • อันเนื่องมาจากการกระทำของมนุษย์เอง
  • โลกจะสวยงามได้ด้วยสองมือของคน
  • จงมาพิทักษ์ธรรมชาติ ลำธาร และป่าไม้
  • ข้อ 4

    5. ข้อความต่อไปนี้มีคำที่ประกอบด้วยสระประสมกี่คำ (ไม่นับคำซ้ำ)

    จะพูดจาปราศรัยกับใครนั้น อย่าตะคั้นตะคอกให้เคืองหู
    ไม่ควรพูดอื้ออึงขึ้น X กู คนจะหลู่ล่วงลามไม่ขามใจ
    แม้นจะเรียนวิชาทางค้าขาย อย่าปากร้ายพูดจาอัชฌาสัย
    จะซื้อง่ายขายดีมีกำไร ด้วยเขาไม่เคืองจิตระอิดระอา

    1. 5 คำ
    2. 6 คำ
    3. 7 คำ
    4. 8 คำ

    ข้อ 1

    6. ข้อใดมีเสียงพยัญชนะต้นเสียงเดียวกันมากที่สุด

    1. เรือชัยไวว่องวิ่ง รวดเร็วจริงยิ่งอย่างลม
    2. เรือสิงห์วิ่งเผ่นโผน โจนตามคลื่นฝืนฝ่าฟอง
    3. หวีเกล้าเจ้าสระสาง เส้นเกศสลวยรวยกลิ่นหอม
    4. ชะแวงแฝงฝั่งแนบ ชะวาดแอบแปบปนปลอม
  • เรือชัยไวว่องวิ่ง รวดเร็วจริงยิ่งอย่างลม
  • เรือสิงห์วิ่งเผ่นโผน โจนตามคลื่นฝืนฝ่าฟอง
  • หวีเกล้าเจ้าสระสาง เส้นเกศสลวยรวยกลิ่นหอม
  • ชะแวงแฝงฝั่งแนบ ชะวาดแอบแปบปนปลอม
  • ข้อ 3

    7. ข้อใดมีคำที่มีตัวสะกดมากที่สุด

    1. อันบ่วงกรรมทำไว้ในปางหลัง เป็นพืชยังปางนี้ให้มีผล
    2. หว่านพืชดีผลดีมีแก่ตน หว่านพืชชั่วกลั้วผลที่คับแค้น
    3. อันความจริงข้อนี้มีมาแล้ว ไม่คลาดแคล้วเป็นอื่นทุกข์หมื่นแสน
    4. จะเปลี่ยนชั่วให้ดีมีมาแทน ถึงแม้นแมนแม่นไม่เปลี่ยนได้เอง

    1. อันบ่วงกรรมทำไว้ในปางหลัง เป็นพืชยังปางนี้ให้มีผล
    2. หว่านพืชดีผลดีมีแก่ตน หว่านพืชชั่วกลั้วผลที่คับแค้น
    3. อันความจริงข้อนี้มีมาแล้ว ไม่คลาดแคล้วเป็นอื่นทุกข์หมื่นแสน
    4. จะเปลี่ยนชั่วให้ดีมีมาแทน ถึงแม้นแมนแม่นไม่เปลี่ยนได้เอง
  • อันบ่วงกรรมทำไว้ในปางหลัง เป็นพืชยังปางนี้ให้มีผล
  • หว่านพืชดีผลดีมีแก่ตน หว่านพืชชั่วกลั้วผลที่คับแค้น
  • อันความจริงข้อนี้มีมาแล้ว ไม่คลาดแคล้วเป็นอื่นทุกข์หมื่นแสน
  • จะเปลี่ยนชั่วให้ดีมีมาแทน ถึงแม้นแมนแม่นไม่เปลี่ยนได้เอง
  • ข้อ 1

    8. ข้อใดมีจำนวนพยางค์มากที่สุด

    1. คณะวิทยาศาสตร์
    2. คณะมนุษยศาสตร์
    3. คณะวิจิตรศิลป์
    4. คณะแพทยศาสตร์

    1. คณะวิทยาศาสตร์
    2. คณะมนุษยศาสตร์
    3. คณะวิจิตรศิลป์
    4. คณะแพทยศาสตร์
  • คณะวิทยาศาสตร์
  • คณะมนุษยศาสตร์
  • คณะวิจิตรศิลป์
  • คณะแพทยศาสตร์
  • ข้อ 2

    9. ข้อใดมีจำนวนพยางค์ปิดน้อยที่สุด

    1. ลำพูรายพรายพร้อยหิ่งห้อยจับ
    2. สว่างวับแวววามอร่ามเหลือง
    3. เสมอเม็ดเพชรรัตน์จำรัสเรือง
    4. ค่อยประเทืองทุกข์ทัศนาชม
  • ลำพูรายพรายพร้อยหิ่งห้อยจับ
  • สว่างวับแวววามอร่ามเหลือง
  • เสมอเม็ดเพชรรัตน์จำรัสเรือง
  • ค่อยประเทืองทุกข์ทัศนาชม
  • ข้อ 4

    10. ข้อใดมีคำตายมากที่สุด

    1. น้ำตาเปรียบเหมือนเพื่อน จะตักเตือนอนุสรณ์
    2. เศร้าสุขทุกข์ม้วยมรณ์ รื่นเริงใจใช้น้ำตา
    3. ระบายความในใจจิต จึงเหมือนมิตรเสน่หา
    4. คู่ทุกข์คู่ชีวา เห็นใจฉันนิรันดร์เอย

    1. น้ำตาเปรียบเหมือนเพื่อน จะตักเตือนอนุสรณ์
    2. เศร้าสุขทุกข์ม้วยมรณ์ รื่นเริงใจใช้น้ำตา
    3. ระบายความในใจจิต จึงเหมือนมิตรเสน่หา
    4. คู่ทุกข์คู่ชีวา เห็นใจฉันนิรันดร์เอย
  • น้ำตาเปรียบเหมือนเพื่อน จะตักเตือนอนุสรณ์
  • เศร้าสุขทุกข์ม้วยมรณ์ รื่นเริงใจใช้น้ำตา
  • ระบายความในใจจิต จึงเหมือนมิตรเสน่หา
  • คู่ทุกข์คู่ชีวา เห็นใจฉันนิรันดร์เอย
  • ข้อ 1

    11. ข้อใดมีวรรณยุกต์ครบทุกเสียง

    1. บ้านใดไร้สุข ทุกข์ครอบขังตราบสิ้น
    2. ชีวินไร้สุข ทุกคนคิดหม่นหมอง
    3. บ้านใดมีสุข ทั่วทุกคนใฝ่ปอง
    4. พ่อแม่พี่น้อง มีสุขทุกนาที
  • บ้านใดไร้สุข ทุกข์ครอบขังตราบสิ้น
  • ชีวินไร้สุข ทุกคนคิดหม่นหมอง
  • บ้านใดมีสุข ทั่วทุกคนใฝ่ปอง
  • พ่อแม่พี่น้อง มีสุขทุกนาที
  • ข้อ 1

    12. ข้อใดมีวรรณยุกต์ไม่ครบห้าเสียง

    1. เหม่อจ้องมองฟ้าหาดาวส่อง
    2. จิตหม่นหมองสองมือล้าพาอดสู
    3. สิ่งเคยรักของที่ห่วงมาเป็นศัตรู
    4. ชีวิตที่เหลืออยู่ คืออะไรไม่รู้เลย
  • เหม่อจ้องมองฟ้าหาดาวส่อง
  • จิตหม่นหมองสองมือล้าพาอดสู
  • สิ่งเคยรักของที่ห่วงมาเป็นศัตรู
  • ชีวิตที่เหลืออยู่ คืออะไรไม่รู้เลย
  • ข้อ 2

    13. คำว่า “กัน” ในข้อใดเป็นคำสรรพนาม

    1. พี่ไม่ชอบให้เธอกันคิ้ว
    2. กันดีกว่าแก้
    3. คนบ้านนี้ชอบตีกัน
    4. เด็กของเราถูกกันไม่ให้เข้าไป
  • พี่ไม่ชอบให้เธอกันคิ้ว
  • กันดีกว่าแก้
  • คนบ้านนี้ชอบตีกัน
  • เด็กของเราถูกกันไม่ให้เข้าไป
  • ข้อ 3

    14. คำว่า “ที่” ในข้อใดที่ทำหน้าที่ต่างกับข้ออื่น

    1. ความปรารถนาของเขาก็คือการไปอยู่ในที่ห่างไกลผู้คน
    2. ผมรู้จักชื่อเสียงของเขามานานแล้วตั้งแต่สมัยที่ยังเป็นอาจารย์
    3. ผมเคยสนทนาแบบผิวเผิน 1 ครั้ง ตอนที่เขาเข้ามาทำงานใหม่ ๆ
    4. คนเก่งไม่ใช่คนที่ไม่เคยทำอะไรผิด แต่หมายถึงคนที่ทำผิดพลาดแล้วแก้ไขได้เร็ว
  • ความปรารถนาของเขาก็คือการไปอยู่ในที่ห่างไกลผู้คน
  • ผมรู้จักชื่อเสียงของเขามานานแล้วตั้งแต่สมัยที่ยังเป็นอาจารย์
  • ผมเคยสนทนาแบบผิวเผิน 1 ครั้ง ตอนที่เขาเข้ามาทำงานใหม่ ๆ
  • คนเก่งไม่ใช่คนที่ไม่เคยทำอะไรผิด แต่หมายถึงคนที่ทำผิดพลาดแล้วแก้ไขได้เร็ว
  • ข้อ 1

    15. ข้อใดมีคำซึ่งเติมลงในช่องว่างได้ถูกต้อง

    สิ่งสำคัญอยู่ที่การปลูกจิตสำนึก………..คนกลุ่มนี้ให้มีความรับผิดชอบ………….
    สังคม ซึ่งก็คงจะไม่ยากจนเกินไป………ส่วนใหญ่มีความตั้งใจดีอยู่แล้ว………….ขาดคน
    ชี้นำทางที่ถูกที่ควรให้เท่านั้น

    1. จาก กับ ทั้งนี้ แม้
    2. ของ ต่อ เพราะ เพียงแต่
    3. ของ แก่ เนื่องจาก หาก
    4. แก่ ใน นอกจากนี้ เว้นแต่

    1. จาก กับ ทั้งนี้ แม้
    2. ของ ต่อ เพราะ เพียงแต่
    3. ของ แก่ เนื่องจาก หาก
    4. แก่ ใน นอกจากนี้ เว้นแต่

    ข้อ 2

    16. ข้อใดมีคำซึ่งเติมลงในช่องว่างได้ถูกต้อง

    การประกันภัยอุบัติเหตุ………….จะเป็นการประกันภัยที่เอื้อประโยชน์……………
    ประชาชนให้ได้รับความคุ้มครองกรณีเสียชีวิต…..………ทุพพลภาพถาวร.………...อุบัติเหตุ
    แต่ก็ไม่ได้รับความนิยม

    1. แม้ กับ และ จาก
    2. ถึงแม้ กับ หรือ ด้วย
    3. แม้ แก่ หรือ จาก
    4. ถึงแม้ แก่ และ ด้วย

    1. แม้ กับ และ จาก
    2. ถึงแม้ กับ หรือ ด้วย
    3. แม้ แก่ หรือ จาก
    4. ถึงแม้ แก่ และ ด้วย

    ข้อ 3

    17. ข้อใดอ่านแบบคำสมาสทุกคน

    1. อธิกมาส อธิกวาร อธิกสุรทิน
    2. สุขลักษณะ สุขภาพ สุขศาลา
    3. มูลฐาน มูลโค มูลนิธิ
    4. รสชาติ รสนิยม รสวรรณคดี
  • อธิกมาส อธิกวาร อธิกสุรทิน
  • สุขลักษณะ สุขภาพ สุขศาลา
  • มูลฐาน มูลโค มูลนิธิ
  • รสชาติ รสนิยม รสวรรณคดี
  • ข้อ 1

    18. ข้อใดมีคำสมาส

    1. คุณค่า ราชวัง ผลไม้ ปรกติ
    2. กาลเวลา ดาษดื่น รอมร่อ ผลผลิต
    3. ภูมิลำเนา มูลค่า พลความ วิตถาร
    4. นามสมญา ศิลปกรรม โลภาภิวัตน์ สัปดาห์
  • คุณค่า ราชวัง ผลไม้ ปรกติ
  • กาลเวลา ดาษดื่น รอมร่อ ผลผลิต
  • ภูมิลำเนา มูลค่า พลความ วิตถาร
  • นามสมญา ศิลปกรรม โลภาภิวัตน์ สัปดาห์
  • ข้อ 4

    19. ข้อใดเป็นคำสมาสที่มีสนธิทุกคำ

    1. สุขาภิบาล ชิโนรส มกราคม
    2. มัคคุเทศก์ มรรคผล วิทยาลัย
    3. ประชาภิบาล ทูตานุทูต มหาศาล
    4. กันยายน ชานุมณฑล ประชาธิปไตย
  • สุขาภิบาล ชิโนรส มกราคม
  • มัคคุเทศก์ มรรคผล วิทยาลัย
  • ประชาภิบาล ทูตานุทูต มหาศาล
  • กันยายน ชานุมณฑล ประชาธิปไตย
  • ข้อ 1

    20. คำซ้ำในข้อใดต่างกับข้ออื่น

    1. ผู้หญิงกับของสวย ๆ งาม ๆ เป็นของคู่กัน
    2. งานนี้เป็นการรวมตัวของพี่ ๆ น้อง ๆ ในวงการหนัง
    3. การจัดโต๊ะอาหาร ผู้จัดเลือกเอาเมนูเด่น ๆ ดัง ๆ มาเสนอ
    4. หากมีความรู้งู ๆ ปลา ๆ ก็ไม่สามารถเข้าทำงานที่นี่ได้
  • ผู้หญิงกับของสวย ๆ งาม ๆ เป็นของคู่กัน
  • งานนี้เป็นการรวมตัวของพี่ ๆ น้อง ๆ ในวงการหนัง
  • การจัดโต๊ะอาหาร ผู้จัดเลือกเอาเมนูเด่น ๆ ดัง ๆ มาเสนอ
  • หากมีความรู้งู ๆ ปลา ๆ ก็ไม่สามารถเข้าทำงานที่นี่ได้
  • ข้อ 2

    21. คำซ้อนในข้อใดมีความหมายต่างกับข้ออื่น

    1. เมื่อเราสึกอ่อนเพลียก็ต้องพัก
    2. เขาบากบั่นมาชั่วชีวิตจึงพ้นจากความยากจน
    3. คนที่ร่างการอ้วนพีใช่ว่าจะมีสุขภาพดี
    4. ถ้าต้องการชีวิตที่สงบก็ต้องหลีกเลี่ยงความขัดแย้งทั้งหลาย
  • เมื่อเราสึกอ่อนเพลียก็ต้องพัก
  • เขาบากบั่นมาชั่วชีวิตจึงพ้นจากความยากจน
  • คนที่ร่างการอ้วนพีใช่ว่าจะมีสุขภาพดี
  • ถ้าต้องการชีวิตที่สงบก็ต้องหลีกเลี่ยงความขัดแย้งทั้งหลาย
  • ข้อ 2

    22. คำซ้อนในข้อใดมีความหมายนัยตรงและนัยประหวัด

    1. ลูกทำตัวเหลวไหลอย่างนี้ทำให้พ่อแม่ร้อนอกร้อนใจตลอด
    2. พายุไต้ฝุ่นลูกนี้ทำให้ฝนตกไม่ลืมหูลืมตามาสามวันสามคืนแล้ว
    3. ผู้หลักผู้ใหญ่เตือนอะไรก็ควรฟัง ไม่ควรดื้อดึงตามใจตัว
    4. เขาเป็นคนน่าเชื่อถือเพราะมีพฤติกรรมคงเส้นคงวา
  • ลูกทำตัวเหลวไหลอย่างนี้ทำให้พ่อแม่ร้อนอกร้อนใจตลอด
  • พายุไต้ฝุ่นลูกนี้ทำให้ฝนตกไม่ลืมหูลืมตามาสามวันสามคืนแล้ว
  • ผู้หลักผู้ใหญ่เตือนอะไรก็ควรฟัง ไม่ควรดื้อดึงตามใจตัว
  • เขาเป็นคนน่าเชื่อถือเพราะมีพฤติกรรมคงเส้นคงวา
  • ข้อ 4

    23. คำในข้อใดมีความหมายนัยตรงและนัยประหวัดทุกคำ

    1. มือขวา มือแข็ง มือสะอาด
    2. มืออ่อน มือตำลึง มือสกปรก
    3. มือเบา มือร้อน มือใหม่
    4. มือผี มือเก่า มือจับ
  • มือขวา มือแข็ง มือสะอาด
  • มืออ่อน มือตำลึง มือสกปรก
  • มือเบา มือร้อน มือใหม่
  • มือผี มือเก่า มือจับ
  • ข้อ 1

    24. ข้อใดมีความหมายทำนองเดียวกันทุกคำ

    1. ตาโต ตาลุก ตาพอง
    2. ตาแหลม ตาสว่าง ตาคม
    3. ตาลาย ตาฝาด ตาพร่า
    4. ตาถั่ว ตาบอด ตาหวาน
  • ตาโต ตาลุก ตาพอง
  • ตาแหลม ตาสว่าง ตาคม
  • ตาลาย ตาฝาด ตาพร่า
  • ตาถั่ว ตาบอด ตาหวาน
  • ข้อ 1

    25. คำว่า “ขวัญ” ในข้อใดมีความหมายต่างกับข้ออื่น

    1. ขวัญอ่อน รับขวัญ
    2. เรียกขวัญ หมอขวัญ
    3. ขวัญข้าว สู่ขวัญ
    4. ของขวัญ ขวัญใจ
  • ขวัญอ่อน รับขวัญ
  • เรียกขวัญ หมอขวัญ
  • ขวัญข้าว สู่ขวัญ
  • ของขวัญ ขวัญใจ
  • ข้อ 4

    26. ความหมายของคำว่า “กิน” ในข้อใดมีลักษณะต่างกับข้ออื่น

    1. เขานั่งกินที่
    2. แมวกินปลา
    3. เธอพูดกินใจ
    4. เจ้ามือกินเรียบ
  • เขานั่งกินที่
  • แมวกินปลา
  • เธอพูดกินใจ
  • เจ้ามือกินเรียบ
  • ข้อ 2

    27. ข้อใดไม่ต้องการคำตอบ

    1. ใครบ้างที่ไม่อยากทำงานนี้
    2. ทำไมมากันตั้งมากมายอย่างนี้นะ
    3. ทุกคนเตรียมพร้อมกันแล้วใช่ไหม
    4. เขาไม่อยากเรียนวิชานี้จริงนะ
  • ใครบ้างที่ไม่อยากทำงานนี้
  • ทำไมมากันตั้งมากมายอย่างนี้นะ
  • ทุกคนเตรียมพร้อมกันแล้วใช่ไหม
  • เขาไม่อยากเรียนวิชานี้จริงนะ
  • ข้อ 2

    28. ข้อใดมีโครงสร้างของประโยคต่างกับข้ออื่น

    1. สถานที่นี้เป็นเสมือนศูนย์รวมใจของชาวไทย
    2. องค์พระธาตุเป็นรูปสี่เหลี่ยมสีขาวตบแต่งด้วยลวดลายวิจิตรทั้งองค์
    3. ตำนานอุรังคธาตุกล่าวไว้ว่าพระธาตุพนมถูกสร้างขึ้นหลังจากพระพุทธเจ้าปรินิพพานไม่นานนัก
    4. พระธาตุพนมเป็นพระธาตุประจำปีเกิด หนึ่งในจำนวนสิบสองแห่งตามความเชื่อของชาวล้านนา
  • สถานที่นี้เป็นเสมือนศูนย์รวมใจของชาวไทย
  • องค์พระธาตุเป็นรูปสี่เหลี่ยมสีขาวตบแต่งด้วยลวดลายวิจิตรทั้งองค์
  • ตำนานอุรังคธาตุกล่าวไว้ว่าพระธาตุพนมถูกสร้างขึ้นหลังจากพระพุทธเจ้าปรินิพพานไม่นานนัก
  • พระธาตุพนมเป็นพระธาตุประจำปีเกิด หนึ่งในจำนวนสิบสองแห่งตามความเชื่อของชาวล้านนา
  • ข้อ 3

    29. ข้อใดเป็นประโยคความรวม

    1. การทำงานกับคนนั้นเหมือนง่าย แต่ไม่ง่าย
    2. นักวิจัยต้องเข้าไปอยู่ร่วมกับกลุ่มคนที่เขาจะศึกษา
    3. น้องชายของผมนั่งเล่นของเล่นอย่างเพลิดเพลิน
    4. ผู้บริโภคจะเปรียบเทียบระหว่างคุณภาพสินค้ากับเงินที่ต้องจ่ายไป
  • การทำงานกับคนนั้นเหมือนง่าย แต่ไม่ง่าย
  • นักวิจัยต้องเข้าไปอยู่ร่วมกับกลุ่มคนที่เขาจะศึกษา
  • น้องชายของผมนั่งเล่นของเล่นอย่างเพลิดเพลิน
  • ผู้บริโภคจะเปรียบเทียบระหว่างคุณภาพสินค้ากับเงินที่ต้องจ่ายไป
  • ข้อ 1 และ 3

    30. ประโยคในข้อใดต่างกับข้ออื่น

    1. นิทานเรื่องนี้ให้คติว่าผู้ฉลาดไม่ควรดูถูกผู้ที่ด้อยกว่า
    2. ผู้ที่จะเรียนปริญญาโทด้านการตลาดควรจะมีประสบการณ์ในการทำงานมาก่อน
    3. การศึกษาประวัติศาสตร์มีความสำคัญต่อการเรียนรู้เหตุการณ์ต่าง ๆ ในโลก
    4. ประสบการณ์ที่ล้ำค่าที่สุดในมหาวิทยาลัยคือประสบการณ์จากการทำกิจกรรม
  • นิทานเรื่องนี้ให้คติว่าผู้ฉลาดไม่ควรดูถูกผู้ที่ด้อยกว่า
  • ผู้ที่จะเรียนปริญญาโทด้านการตลาดควรจะมีประสบการณ์ในการทำงานมาก่อน
  • การศึกษาประวัติศาสตร์มีความสำคัญต่อการเรียนรู้เหตุการณ์ต่าง ๆ ในโลก
  • ประสบการณ์ที่ล้ำค่าที่สุดในมหาวิทยาลัยคือประสบการณ์จากการทำกิจกรรม
  • ข้อ 3

    31. ข้อใดไม่เป็นประโยค

    1. เราต้องตีราคาคุณค่าของเวลาให้สูงไว้
    2. การสูญเสียที่เราไม่สามารถจะโทษผู้อื่นได้นอกจากตัวเราเอง
    3. สิ่งสำคัญที่สุดของมนุษย์คือไม่ปล่อยเวลาให้เปล่าประโยชน์
    4. การเสียเวลาก็เท่ากับเสียทรัพย์ เสียหนทางแห่งความก้าวหน้า
  • เราต้องตีราคาคุณค่าของเวลาให้สูงไว้
  • การสูญเสียที่เราไม่สามารถจะโทษผู้อื่นได้นอกจากตัวเราเอง
  • สิ่งสำคัญที่สุดของมนุษย์คือไม่ปล่อยเวลาให้เปล่าประโยชน์
  • การเสียเวลาก็เท่ากับเสียทรัพย์ เสียหนทางแห่งความก้าวหน้า
  • ข้อ 2

    32. ข้อใดใช้คำถูกต้อง

    1. ชาตรีเป็นผู้หนึ่งที่เจนจัดในวิชาวิทยาศาสตร์
    2. ควรสอดแทรกความรู้รอบตัวให้แก่นักเรียน
    3. พาณีจ้างช่างมาแต่งเติมบ้านใหม่ที่ถนนสาทร
    4. ได้มีการเก็บนมผงที่ปนเปื้อนสารกัมมันตภาพรังสี
  • ชาตรีเป็นผู้หนึ่งที่เจนจัดในวิชาวิทยาศาสตร์
  • ควรสอดแทรกความรู้รอบตัวให้แก่นักเรียน
  • พาณีจ้างช่างมาแต่งเติมบ้านใหม่ที่ถนนสาทร
  • ได้มีการเก็บนมผงที่ปนเปื้อนสารกัมมันตภาพรังสี
  • ข้อ 4

    33. ข้อใดใช้คำไม่ถูกต้อง

    1. สมบัติตาแข็งเพราะดื่มกาแฟหลายถ้วย
    2. สมชายตาขวางเมื่อเห็นลูกสาวนั่งคุยกับคนรัก
    3. สมศรีตาคมจึงเลือกของได้สวยและถูก
    4. สมศักดิ์ตาฟางเพราะอายุมาก
  • สมบัติตาแข็งเพราะดื่มกาแฟหลายถ้วย
  • สมชายตาขวางเมื่อเห็นลูกสาวนั่งคุยกับคนรัก
  • สมศรีตาคมจึงเลือกของได้สวยและถูก
  • สมศักดิ์ตาฟางเพราะอายุมาก
  • ข้อ 3

    34. ข้อใดใช้ภาษาได้ถูกต้อง

    1. รสชาติอาหารที่นี่ถูกคอพวกเรา
    2. ชาวบ้านช่วยกันปรับปรุงดินเพื่อสร้างศาลาวัด
    3. ในที่สุดทุกคนออมชอมกันได้
    4. เขาเป็นคนที่คำนึงถึงผลประโยชน์ของตนเป็นที่ตั้ง
  • รสชาติอาหารที่นี่ถูกคอพวกเรา
  • ชาวบ้านช่วยกันปรับปรุงดินเพื่อสร้างศาลาวัด
  • ในที่สุดทุกคนออมชอมกันได้
  • เขาเป็นคนที่คำนึงถึงผลประโยชน์ของตนเป็นที่ตั้ง
  • ข้อ 4

    35. ประโยคในข้อใดไม่บกพร่องในเรื่องการใช้คำ

    1. ตามปกติเดือนนี้เป็นเดือนที่มีอุทกภัยและวาตภัยชุกชุม
    2. การประกาศผลการสอบถูกร่นจากเดือนเมษายนเป็นเดือนมีนาคม
    3. ลูกสมเสร็จที่เกิดใหม่ในสวนสัตว์เขาเขียวเรียกร้องความสนใจจากผู้ชมได้อย่างมาก
    4. กรมอุตุนิยมวิทยาประกาศว่าจะเกิดพายุพัดกรรโชกในระยะสองสามวันนี้
  • ตามปกติเดือนนี้เป็นเดือนที่มีอุทกภัยและวาตภัยชุกชุม
  • การประกาศผลการสอบถูกร่นจากเดือนเมษายนเป็นเดือนมีนาคม
  • ลูกสมเสร็จที่เกิดใหม่ในสวนสัตว์เขาเขียวเรียกร้องความสนใจจากผู้ชมได้อย่างมาก
  • กรมอุตุนิยมวิทยาประกาศว่าจะเกิดพายุพัดกรรโชกในระยะสองสามวันนี้
  • ข้อ 2

    36. ข้อใดใช้คำไม่ตรงความหมาย

    1. การแต่งกายของคนเรานั้นเป็นการแสดงอัตลักษณ์
    2. เราควรศึกษากรมธรรม์ให้รอบคอบก่อนทำประกันชีวิต
    3. อาจารย์คำรณเป็นวิทยากรวงดนตรีของมหาวิทยาลัย
    4. ถ้าพวกเรายังแก่งแย่งอย่างนี้ งานคงไม่สำเร็จ
  • การแต่งกายของคนเรานั้นเป็นการแสดงอัตลักษณ์
  • เราควรศึกษากรมธรรม์ให้รอบคอบก่อนทำประกันชีวิต
  • อาจารย์คำรณเป็นวิทยากรวงดนตรีของมหาวิทยาลัย
  • ถ้าพวกเรายังแก่งแย่งอย่างนี้ งานคงไม่สำเร็จ
  • ข้อ 3

    37. ข้อใดใช้ราชาศัพท์ถูกต้อง

    1. พระยาเศวตพาหะ ช้างสำคัญสิ้นแล้ว
    2. หมายกำหนดการซ้อมรับปริญญาบัตร
    3. สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีสิ้นพระชนม์
    4. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯแต่งตั้งองคมนตรี
  • พระยาเศวตพาหะ ช้างสำคัญสิ้นแล้ว
  • หมายกำหนดการซ้อมรับปริญญาบัตร
  • สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีสิ้นพระชนม์
  • พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯแต่งตั้งองคมนตรี
  • ข้อ 4

    38. ข้อใดใช้ราชาศัพท์ผิด

    1. หม่อมเจ้าเกษมโสภาสิ้นชีพิตักษัย
    2. สมเด็จพระวันรัตมอบเสื้อผ้า สมุดแก่นักเรียน
    3. สมเด็จฯกรมพระยาดำรงราชานุภาพเป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
    4. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงโปรดสุนัขที่ชื่อคุณทองแดง
  • หม่อมเจ้าเกษมโสภาสิ้นชีพิตักษัย
  • สมเด็จพระวันรัตมอบเสื้อผ้า สมุดแก่นักเรียน
  • สมเด็จฯกรมพระยาดำรงราชานุภาพเป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
  • พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงโปรดสุนัขที่ชื่อคุณทองแดง
  • ข้อ 4

    39. ข้อใดแปลความหมายผิด

    1. ถุงพระบาท หมายถึง ถุงเท้า
    2. ฉลองพระเนตร หมายถึง แว่นตา
    3. ฉลองพระหัตถ์ หมายถึง ถุงมือ
    4. ซับพระองค์ หมายถึง ผ้าเช็ดตัว

    1. ถุงพระบาท หมายถึง ถุงเท้า
    2. ฉลองพระเนตร หมายถึง แว่นตา
    3. ฉลองพระหัตถ์ หมายถึง ถุงมือ
    4. ซับพระองค์ หมายถึง ผ้าเช็ดตัว
  • ถุงพระบาท หมายถึง ถุงเท้า
  • ฉลองพระเนตร หมายถึง แว่นตา
  • ฉลองพระหัตถ์ หมายถึง ถุงมือ
  • ซับพระองค์ หมายถึง ผ้าเช็ดตัว
  • ข้อ 3

    40. ข้อใดใช้สำนวนพังเพยได้ถูกต้อง

    1. พอลืมตาอ้าปากได้ ทุกคนก็รู้สึกหิวข้าวทันที
    2. คนสมัยนี้ชอบกินข้าวแดงแกงร้อนเพราะเป็นอาหารสุขภาพ
    3. หลังเลิกเรียนแม่จะเตรียมข้าวใหม่ปลามันไว้ให้ลูกกิน
    4. การลงทุนต้องดูจังหวะ เมื่อโอกาสดีน้ำขึ้นให้รีบตักจะได้กำไรงาม
  • พอลืมตาอ้าปากได้ ทุกคนก็รู้สึกหิวข้าวทันที
  • คนสมัยนี้ชอบกินข้าวแดงแกงร้อนเพราะเป็นอาหารสุขภาพ
  • หลังเลิกเรียนแม่จะเตรียมข้าวใหม่ปลามันไว้ให้ลูกกิน
  • การลงทุนต้องดูจังหวะ เมื่อโอกาสดีน้ำขึ้นให้รีบตักจะได้กำไรงาม
  • ข้อ 4

    41. ข้อใดใช้สำนวนผิด

    1. วารุณีไม่ชอบทำงานเพราะเธอเป็นคนประเภทสนิมสร้อย
    2. ผู้ใหญ่จะสอนเสมอว่าเวรกรรมนั้นจะส่งผลต่อผู้ทำเหมือนกงเกวียนกำเกวียน
    3. เขาเอาใจออกห่างโดยไปเข้ากับศัตรูของเรา
    4. ความรู้ที่เธอสอนเขานั้นยากเกินที่เขาจะรับได้เหมือนกับสีซอให้ควายฟัง

    1. วารุณีไม่ชอบทำงานเพราะเธอเป็นคนประเภทสนิมสร้อย
    2. ผู้ใหญ่จะสอนเสมอว่าเวรกรรมนั้นจะส่งผลต่อผู้ทำเหมือนกงเกวียนกำเกวียน
    3. เขาเอาใจออกห่างโดยไปเข้ากับศัตรูของเรา
    4. ความรู้ที่เธอสอนเขานั้นยากเกินที่เขาจะรับได้เหมือนกับสีซอให้ควายฟัง
  • วารุณีไม่ชอบทำงานเพราะเธอเป็นคนประเภทสนิมสร้อย
  • ผู้ใหญ่จะสอนเสมอว่าเวรกรรมนั้นจะส่งผลต่อผู้ทำเหมือนกงเกวียนกำเกวียน
  • เขาเอาใจออกห่างโดยไปเข้ากับศัตรูของเรา
  • ความรู้ที่เธอสอนเขานั้นยากเกินที่เขาจะรับได้เหมือนกับสีซอให้ควายฟัง
  • ข้อ 4

    42. ข้อใดใช้สำนวนพังเพยไม่ถูกต้อง

    1. อย่าทำงานอย่างแก้ผ้าเอาหน้ารอด
    2. เขาทำตัวเหมือนงูเห่าที่เนรคุณคนที่เคยช่วยเหลือ
    3. พวกหมาเห่าใบตองแห้งพอเจอของจริงก็หนีหมด
    4. นักเรียนมีหนังสือดีแต่ไม่ยอมอ่าน ก็เหมือนไก่ได้พลอย
  • อย่าทำงานอย่างแก้ผ้าเอาหน้ารอด
  • เขาทำตัวเหมือนงูเห่าที่เนรคุณคนที่เคยช่วยเหลือ
  • พวกหมาเห่าใบตองแห้งพอเจอของจริงก็หนีหมด
  • นักเรียนมีหนังสือดีแต่ไม่ยอมอ่าน ก็เหมือนไก่ได้พลอย
  • ข้อ 1

    43. สำนวน “จับตัววางตาม” มีความหมายตรงกับข้อใด

    1. จับให้ได้แม้ต้องจับตาย
    2. หาบุคคลที่สามารถตายแทนได้
    3. หยั่งรู้วันเวลาที่จะจากโลกนี้ไป
    4. กำหนดตัวบุคคลให้ประจำหน้าที่โดยเฉพาะ
  • จับให้ได้แม้ต้องจับตาย
  • หาบุคคลที่สามารถตายแทนได้
  • หยั่งรู้วันเวลาที่จะจากโลกนี้ไป
  • กำหนดตัวบุคคลให้ประจำหน้าที่โดยเฉพาะ
  • ข้อ 4

    44. ข้อใดไม่ใช้สำนวนภาษาต่างประเทศ

    1. การจัดสัมมนาครั้งนี้ต้องเสียค่าใช้จ่ายเป็นจำนวนมาก
    2. การท่องเที่ยวของไทยในปัจจุบันได้ปรับเปลี่ยนไปสู่การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
    3. ในอนาคตโทรศัพท์ที่จะพัฒนาให้มีความสามารถในการใช้ที่ทันสมัยขึ้น
    4. การบรรลุความตกลงระหว่างสองชาติในภูมิภาคนี้น่าจะเกิดขึ้นได้ในเร็ววันนี้
  • การจัดสัมมนาครั้งนี้ต้องเสียค่าใช้จ่ายเป็นจำนวนมาก
  • การท่องเที่ยวของไทยในปัจจุบันได้ปรับเปลี่ยนไปสู่การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
  • ในอนาคตโทรศัพท์ที่จะพัฒนาให้มีความสามารถในการใช้ที่ทันสมัยขึ้น
  • การบรรลุความตกลงระหว่างสองชาติในภูมิภาคนี้น่าจะเกิดขึ้นได้ในเร็ววันนี้
  • ข้อ 1

    45. ข้อใดใช้ภาษาระดับเดียวกัน

    1. ข้าพเจ้าปรารถนาที่จะเป็นหมอความ แต่ไม่รู้ว่าบิดามารดาเห็นด้วยหรือไม่
    2. ผู้ที่เคยสร้างสมคุณความดีไว้แล้ว ก็ไม่ยากที่จะหยิบยื่นความดีนั้นให้ผู้อื่น
    3. การขาดความพร้อมเพรียงในการปฏิบัติหน้าที่ ทำให้ปรปักษ์ทำงานได้โดยง่าย
    4. นิ้วมือของเรายามที่กางออก นิ้วแต่ละนิ้วไม่มีพละกำลังมากนัก ต่อเมื่อกำนิ้วมือทั้งห้าก็จะเป็นศัสตราวุธ
  • ข้าพเจ้าปรารถนาที่จะเป็นหมอความ แต่ไม่รู้ว่าบิดามารดาเห็นด้วยหรือไม่
  • ผู้ที่เคยสร้างสมคุณความดีไว้แล้ว ก็ไม่ยากที่จะหยิบยื่นความดีนั้นให้ผู้อื่น
  • การขาดความพร้อมเพรียงในการปฏิบัติหน้าที่ ทำให้ปรปักษ์ทำงานได้โดยง่าย
  • นิ้วมือของเรายามที่กางออก นิ้วแต่ละนิ้วไม่มีพละกำลังมากนัก ต่อเมื่อกำนิ้วมือทั้งห้าก็จะเป็นศัสตราวุธ
  • ข้อ 3

    46. ข้อใดใช้ภาษาต่างระดับกับข้ออื่น

    1. ในระบอบประชาธิปไตย ประชาชนเป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย
    2. ศิลปินแห่งชาติเป็นบุคคลผู้สร้างสรรค์ผลงานศิลปะอันทรงคุณค่า
    3. ผู้ที่ได้รับเลือกเป็นสมาชิกแห่งราชบัณฑิตยสถานย่อมถือว่าได้รับความยกย่องอย่างสูงสุด
    4. พฤติกรรมความเชื่อเรื่องฤกษ์ยาม เจ้าที่เจ้าทาง และเครื่องตกแต่งบ้านในเมืองไทยดูจะเป็นพิธีการเพื่อตัวเอง
  • ในระบอบประชาธิปไตย ประชาชนเป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย
  • ศิลปินแห่งชาติเป็นบุคคลผู้สร้างสรรค์ผลงานศิลปะอันทรงคุณค่า
  • ผู้ที่ได้รับเลือกเป็นสมาชิกแห่งราชบัณฑิตยสถานย่อมถือว่าได้รับความยกย่องอย่างสูงสุด
  • พฤติกรรมความเชื่อเรื่องฤกษ์ยาม เจ้าที่เจ้าทาง และเครื่องตกแต่งบ้านในเมืองไทยดูจะเป็นพิธีการเพื่อตัวเอง
  • ข้อ 4

    47. ข้อใดใช้ภาษาต่างระดับกับข้ออื่น

    1. มนุษย์แต่ละคนอาจมีความเชื่อแตกต่างกันได้ ทั้งในเรื่องที่เป็นหลักสำคัญและในเรื่องที่เป็นรายละเอียด
    2. อย่างไรก็ตาม ความรู้นั้นสามารถพัฒนาได้ทั้งจากการเรียนรู้ในระบบและจากประสบการณ์ตรง ซึ่งแน่ละแต่ละคนย่อมมีไม่เหมือนกัน
    3. ค่านิยม หมายถึงความรู้สึกที่มีอยู่ในจิตใจของแต่ละคนหรือแต่ละกลุ่มว่าสิ่งใดหรือการกระทำอย่างใดมีคุณค่า หรือความสำคัญ
    4. บุคคลที่มีความรู้มากกับบุคคลที่มีความรู้น้อย เมื่อแสดงทรรศนะในเรื่องเดียวกัน ผู้มีความรู้มากย่อมแสดงทรรศนะได้ลึกซึ้งกว่า
  • มนุษย์แต่ละคนอาจมีความเชื่อแตกต่างกันได้ ทั้งในเรื่องที่เป็นหลักสำคัญและในเรื่องที่เป็นรายละเอียด
  • อย่างไรก็ตาม ความรู้นั้นสามารถพัฒนาได้ทั้งจากการเรียนรู้ในระบบและจากประสบการณ์ตรง ซึ่งแน่ละแต่ละคนย่อมมีไม่เหมือนกัน
  • ค่านิยม หมายถึงความรู้สึกที่มีอยู่ในจิตใจของแต่ละคนหรือแต่ละกลุ่มว่าสิ่งใดหรือการกระทำอย่างใดมีคุณค่า หรือความสำคัญ
  • บุคคลที่มีความรู้มากกับบุคคลที่มีความรู้น้อย เมื่อแสดงทรรศนะในเรื่องเดียวกัน ผู้มีความรู้มากย่อมแสดงทรรศนะได้ลึกซึ้งกว่า
  • ข้อ 2

    48. ข้อความต่อไปนี้ใช้ภาษาระดับใด

    “คำพูด” เสียงที่เปล่งออกมาง่าย ๆ อาจมีผลกระทบต่อชีวิตทั้งชีวิต สุขหรือทุกข์

    สำเร็จหรือล้มเหลว กำหนดได้ด้วยคำพูดที่กลั่นออกจากจิตใจโดยเริ่มต้นด้วยท่าที
    ที่ถูกต้อง ดีงาม เพื่อคำพูดที่เปล่งออกมาจะเป็นวาทะที่สร้างสรรค์และสร้างเสริม

    1. ระดับพิธีการ
    2. ระดับทางการ
    3. ระดับกึ่งทางการ
    4. ระดับไม่เป็นทางการ

    ข้อ 2

    49. ข้อความในข้อใดบกพร่องในด้านการสื่อความคิด

    1. ปรีชาจะชวนเพื่อนไปดูภาพยนต์จึงเขียนข้อความทิ้งไว้ที่โต๊ะเพื่อนว่า “อยากไปดูหนังจัง ว่างวันไหนนัดมา”
    2. ก้องภพไม่ต้องการให้ใครรบกวนจึงเขียนข้อความไว้หน้าห้องพักว่า “ไม่อยู่”
    3. สุวิทย์ประทับใจเพื่อนใหม่จึงเขียนข้อความส่งไปว่า “ดีใจมากที่ได้รู้จักกัน”
    4. ธราดลต้องการง้อคนรักจึงเขียนจดหมายไปบอกว่า “เหตุการณ์วันนั้นรู้ตัวไหมว่าทำอะไรลงไปเราไม่ควรโกรธกันเลย”
  • ปรีชาจะชวนเพื่อนไปดูภาพยนต์จึงเขียนข้อความทิ้งไว้ที่โต๊ะเพื่อนว่า “อยากไปดูหนังจัง ว่างวันไหนนัดมา”
  • ก้องภพไม่ต้องการให้ใครรบกวนจึงเขียนข้อความไว้หน้าห้องพักว่า “ไม่อยู่”
  • สุวิทย์ประทับใจเพื่อนใหม่จึงเขียนข้อความส่งไปว่า “ดีใจมากที่ได้รู้จักกัน”
  • ธราดลต้องการง้อคนรักจึงเขียนจดหมายไปบอกว่า “เหตุการณ์วันนั้นรู้ตัวไหมว่าทำอะไรลงไปเราไม่ควรโกรธกันเลย”
  • ข้อ 4

    50. ข้อใดเป็นการแสดงทรรศนะ

    1. การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอมีประโยชน์ต่อร่างกาย
    2. ทางโรงเรียนทราบว่านักเรียนมีปัญหาในการเดินทาง จึงจะจัดรถโดยสารบริการในบางเส้นทาง
    3. คะแนนเสียงของผู้ชนะการเลือกตั้งมิใช่เป็นเครื่องบ่งบอกว่าเขาได้รับความนิยมจากประชาชนเสมอไป
    4. รัฐบาลกำลังแก้ไขสถานการณ์สามจังหวัดภาคใต้อย่างเร่งด่วน เพื่อความปลอดภัยของประชาชน
  • การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอมีประโยชน์ต่อร่างกาย
  • ทางโรงเรียนทราบว่านักเรียนมีปัญหาในการเดินทาง จึงจะจัดรถโดยสารบริการในบางเส้นทาง
  • คะแนนเสียงของผู้ชนะการเลือกตั้งมิใช่เป็นเครื่องบ่งบอกว่าเขาได้รับความนิยมจากประชาชนเสมอไป
  • รัฐบาลกำลังแก้ไขสถานการณ์สามจังหวัดภาคใต้อย่างเร่งด่วน เพื่อความปลอดภัยของประชาชน
  • ข้อ 3

    51. วิธีการเขียนสรุปความในข้อใดต่างกับข้ออื่น

    1. คนไทยนั้นมีส่วนดีอย่างนี้เสมอ ทุกครั้งที่ประเทศชาติตกอยู่ในภาวะลำบาก ทุกคนจะร่วมแรงร่วมใจกันเพื่อให้ชาติของเราอยู่รอดปลอดภัย
    2. ทุกคนควรตรวจสุขภาพประจำปี การมีอายุยืนนั้นทำได้ไม่ยาก สำคัญอยู่ที่ว่าคุณเริ่มทำแล้วหรือยัง
    3. การทำงานไม่ว่าจะอยู่ในวัยใดก็ตามล้วนมีคุณค่า แต่ประเด็นสำคัญอยู่ที่ว่าการทำงานนั้นจะต้องได้ X ส่วนกับเวลาและความสามารถของบุคคล
    4. กุญแจสำคัญของการป้องกันความเครียดก็คือ ต้องรู้จักว่าคุณคือใคร มีชีวิตและมีที่มาอย่างไร และไม่คาดหวังสิ่งใดผู้อื่นมากนัก ไม่มีใครให้ทุกสิ่งแก่คุณได้
  • คนไทยนั้นมีส่วนดีอย่างนี้เสมอ ทุกครั้งที่ประเทศชาติตกอยู่ในภาวะลำบาก ทุกคนจะร่วมแรงร่วมใจกันเพื่อให้ชาติของเราอยู่รอดปลอดภัย
  • ทุกคนควรตรวจสุขภาพประจำปี การมีอายุยืนนั้นทำได้ไม่ยาก สำคัญอยู่ที่ว่าคุณเริ่มทำแล้วหรือยัง
  • การทำงานไม่ว่าจะอยู่ในวัยใดก็ตามล้วนมีคุณค่า แต่ประเด็นสำคัญอยู่ที่ว่าการทำงานนั้นจะต้องได้ X ส่วนกับเวลาและความสามารถของบุคคล
  • กุญแจสำคัญของการป้องกันความเครียดก็คือ ต้องรู้จักว่าคุณคือใคร มีชีวิตและมีที่มาอย่างไร และไม่คาดหวังสิ่งใดผู้อื่นมากนัก ไม่มีใครให้ทุกสิ่งแก่คุณได้
  • ข้อ 1

    52. ข้อใดกล่าวถูกต้อง

    1. การเรียนรู้กลวิธีโน้มน้าวใจบางครั้งทำให้รู้ไม่เท่าทันเขา
    2. การโน้มน้าวใจจะเป็นการกระทำที่ดีหรือไม่แล้วแต่เจตนา
    3. การได้เรียนรู้กลวิธีของการโน้มน้าวใจจะทำให้เกิดคุณธรรม
    4. การโน้มน้าวใจเพื่อก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงบางครั้งต้องใช้วิธีขู่เข็ญ
  • การเรียนรู้กลวิธีโน้มน้าวใจบางครั้งทำให้รู้ไม่เท่าทันเขา
  • การโน้มน้าวใจจะเป็นการกระทำที่ดีหรือไม่แล้วแต่เจตนา
  • การได้เรียนรู้กลวิธีของการโน้มน้าวใจจะทำให้เกิดคุณธรรม
  • การโน้มน้าวใจเพื่อก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงบางครั้งต้องใช้วิธีขู่เข็ญ
  • ข้อ 2

    53. ข้อใดเป็นการโน้มน้าวใจ

    1. สื่อมวลชนต้องเร่งเร้าให้คนดำรงชีวิตอยู่อย่างประหยัด ไม่ฟุ่มเฟือย
    2. ประชาชนต้องดำรงชีวิตอย่างประหยัด ไม่ว่าเศรษฐกิจจะเป็นอย่างไร
    3. ข้าราชการจะต้องทำงานด้วยความซื่อสัตย์ ประหยัดเงินทุกบาททุกสตางค์ของรัฐ
    4. หากทุกฝ่ายร่วมมืออย่างเต็มความสามารถ ประเทศของเราก็คงพ้นวิกฤตการณ์
  • สื่อมวลชนต้องเร่งเร้าให้คนดำรงชีวิตอยู่อย่างประหยัด ไม่ฟุ่มเฟือย
  • ประชาชนต้องดำรงชีวิตอย่างประหยัด ไม่ว่าเศรษฐกิจจะเป็นอย่างไร
  • ข้าราชการจะต้องทำงานด้วยความซื่อสัตย์ ประหยัดเงินทุกบาททุกสตางค์ของรัฐ
  • หากทุกฝ่ายร่วมมืออย่างเต็มความสามารถ ประเทศของเราก็คงพ้นวิกฤตการณ์
  • ข้อ 4

    54. ข้อใดเป็นสารของข้อความนี้

    ในชีวิตประจำวันใครอยากจะเปรียบกับใครก็เปรียบได้ แต่มนุษย์นั้น
    ควรพอใจในการกระทำดีที่สุดของตนกับสภาพแวดล้อมที่ดีรอบตน เท่านี้ก็มี
    ความสุขพอเพียงแล้ว ไม่ต้องเกรงปมด้อยใด ๆ

    1. ความสุขอยู่ที่การกระทำ
    2. การทำงานไม่ควรมีการเปรียบเทียบกัน
    3. ความสุขเกิดจากความพอใจของมนุษย์
    4. การเปรียบเทียบทำให้เกิดปมด้อย

    1. ความสุขอยู่ที่การกระทำ
    2. การทำงานไม่ควรมีการเปรียบเทียบกัน
    3. ความสุขเกิดจากความพอใจของมนุษย์
    4. การเปรียบเทียบทำให้เกิดปมด้อย

    ข้อ 3

    55. ข้อความข้างต้นผู้เขียนมีเจตนาอย่างไร

    1. เตือนใจ
    2. เสนอแนะ
    3. ให้ข้อคิด
    4. ให้กำลังใจ
  • เตือนใจ
  • เสนอแนะ
  • ให้ข้อคิด
  • ให้กำลังใจ
  • ข้อ 3

    56. ข้อใดให้เหตุผลน่าเชื่อถือที่สุด

    1. การออกกำลังกายทำให้ชีวิตมีสุข
    2. การดื่มนมทำให้ร่างกายแข็งแรง
    3. การลดน้ำหนักทำให้ปราศจากโรคภัย
    4. การพักผ่อนนอนหลับทำให้สุขภาพจิตดี
  • การออกกำลังกายทำให้ชีวิตมีสุข
  • การดื่มนมทำให้ร่างกายแข็งแรง
  • การลดน้ำหนักทำให้ปราศจากโรคภัย
  • การพักผ่อนนอนหลับทำให้สุขภาพจิตดี
  • ข้อ 2

    จงอ่านข้อความต่อไปนี้ แล้วตอบคำถามข้อ 57 - 58

    ดอกไม้ไทยเป็นดอกไม้ที่สวยงาม คงทน และมีกลิ่นหอมละมุนรื่นจมูก ช่วยให้
    อารมณ์ผ่อนคลายได้อย่างดีเยี่ยม ด้วยเหตุนี้ช่างสตรีไทยจึงได้ใช้ดอกไม้สดมา
    ประดิดประดอยเป็นงานดอกไม้รูปแบบต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นมาลัยดอกไม้สด จัดแจกัน จัดพาน เป็นต้น

    57. ข้อใดคือใจความสำคัญของข้อความข้างต้น

    1. ดอกไม้สามารถนำมาจัดได้หลายรูปแบบ
    2. ดอกไม้ไทยสวย ทน และหอม เหมาะสำหรับช่างสตรีไทย
    3. ความงาม อยู่ได้นาน กลิ่นหอมคือคุณสมบัติของดอกไม้ไทย
    4. ดอกไม้ไทยมีคุณสมบัติเหมาะสำหรับการนำมาจัดให้เป็นรูปสวยงาม

    57. ข้อใดคือใจความสำคัญของข้อความข้างต้น

    1. ดอกไม้สามารถนำมาจัดได้หลายรูปแบบ
    2. ดอกไม้ไทยสวย ทน และหอม เหมาะสำหรับช่างสตรีไทย
    3. ความงาม อยู่ได้นาน กลิ่นหอมคือคุณสมบัติของดอกไม้ไทย
    4. ดอกไม้ไทยมีคุณสมบัติเหมาะสำหรับการนำมาจัดให้เป็นรูปสวยงาม

    ข้อ 2

    58. ข้อใดคือความหมายของ “ประดิดประดอย”

    1. ประดิษฐ์อย่างช้า ๆ
    2. สร้างขึ้นใหม่ให้สวยงาม
    3. ทำงานฝีมืออย่างละเอียดลออ
    4. ทำงานอย่างตั้งใจ ช้า แต่งาม
  • ประดิษฐ์อย่างช้า ๆ
  • สร้างขึ้นใหม่ให้สวยงาม
  • ทำงานฝีมืออย่างละเอียดลออ
  • ทำงานอย่างตั้งใจ ช้า แต่งาม
  • ข้อ 3

    จงอ่านข้อความต่อไปนี้ แล้วตอบคำถามข้อ 59 - 60

    พ่อแม่ครูบาอาจารย์สอนกันหนักหนาเรื่องมารยาทในการกิน อันมีเหตุผล
    ด้านอนามัยเป็นพื้นฐาน ของอะไรที่กินร่วมกับคนอื่นต้องใช้ช้อนกลาง ไม่ใช่มีมารยาท
    เพราะนึกถึงตัวคนเดียว แต่เกิดจากนึกถึงผู้อื่นเป็นส่วนรวม โฆษณาขายนมทำเป็นภาพ
    เด็กใช้มือปามเข้าไปในกระป๋องนม แล้วยกมือขึ้นมาดูด แสดงว่านมอร่อยเด็กในโฆษณา
    ยังทำได้ ผู้ได้รับการแพร่ภาพเป็นคนดัง น่าเอาอย่าง

    59. กลวิธีในการเขียนในข้อใดไม่ปรากฏตามข้อความข้างต้น

    1. ใช้เหตุผล
    2. ใช้การอธิบาย
    3. ใช้ตัวอย่าง
    4. ใช้การอนุมาน
  • ใช้เหตุผล
  • ใช้การอธิบาย
  • ใช้ตัวอย่าง
  • ใช้การอนุมาน
  • ข้อ 3

    60. สารของข้อความนี้คือข้อใด

    1. อิทธิพลของโฆษณา
    2. อิทธิพลของสื่อมวลชน
    3. ลักษณะวัฒนธรรมไทย
    4. มารยาทในการรับประทานอาหาร
  • อิทธิพลของโฆษณา
  • อิทธิพลของสื่อมวลชน
  • ลักษณะวัฒนธรรมไทย
  • มารยาทในการรับประทานอาหาร
  • ข้อ 1

    61. เหตุในข้อความต่อไปนี้น่าจะทำให้เกิดปัญหาใดมากที่สุด

    งานก่อสร้างของประเทศไทยก้าวหน้าเร็วเกินควร ในขณะที่พัฒนาการทางด้าน
    กฎหมายคุ้มครองความปลอดภัยยังก้าวไปช้ามาก อีกทั้งคนงานก่อสร้างก็มิได้มี
    ประสบการณ์ เพราะส่วนมากมักเป็นชาวนาชาวไร่ที่หันมาทำงานก่อสร้างในฤดูว่าง
    จากงานเกษตรกรรม

    1. การใช้แรงงานไร้ฝีมือ
    2. การอพยพแรงงานจากชนบท
    3. อุบัติเหตุในงานก่อสร้าง
    4. การจ้างแรงงานที่ไม่ยุติธรรม

    ข้อ 3

    62. เหตุพื้นฐานของปัญหาในความต่อไปนี้คือข้อใด

    สมัยที่เริ่มนำกล้องถ่ายรูปเข้ามาในเมืองไทย เมื่อรู้ว่ามันทำอะไรได้คนไทยทั่วไป
    ก็เหมือนฝรั่งคือไม่ยอมรับ เพราะคิดวิตกไปต่าง ๆ นานา โดยเกรงว่านั่นจะเป็นการแยก
    ถ่ายรูปถ่ายร่างตัวเอง เหมือนกับเป็นอะไรที่ไม่ได้อยู่กับเนื้อกับตัวจริง

    1. ความเชื่อดั้งเดิม
    2. การต่อต้านเทคโนโลยี
    3. ความวิตกกังวลและเกรงกลัว
    4. ความเชื่อตามชาติตะวันตก

    ข้อ 3

    จงอ่านข้อความต่อไปนี้ แล้วตอบคำถามข้อ 63 - 64

    การสะกดคำได้ถูกต้องเป็นเครื่องหมายสำคัญอย่างหนึ่งของผู้ได้รับการศึกษา
    อย่างดีแล้ว ผู้ที่เรียนจบชั้นมัธยมศึกษาแล้วไม่ควรเขียนสะกดคำผิด เพราะหากไม่ทราบ
    หรือไม่แน่ใจคำใดก็สามารถเปิดพจนานุกรมดูได้ คนที่เขียนผิดน่าจะเป็นคนที่มีการศึกษา
    น้อย หรือคนที่มักง่ายเท่านั้น

    การสะกดคำได้ถูกต้องเป็นเครื่องหมายสำคัญอย่างหนึ่งของผู้ได้รับการศึกษา
    อย่างดีแล้ว ผู้ที่เรียนจบชั้นมัธยมศึกษาแล้วไม่ควรเขียนสะกดคำผิด เพราะหากไม่ทราบ
    หรือไม่แน่ใจคำใดก็สามารถเปิดพจนานุกรมดูได้ คนที่เขียนผิดน่าจะเป็นคนที่มีการศึกษา
    น้อย หรือคนที่มักง่ายเท่านั้น

    63. ข้อใดมีความหมายสอดคล้องกับข้อความข้างต้น

    1. ลูกผู้ชายลายมือนั้นคือยศ
    2. สำเนียงส่อภาษา กิริยาส่อสกุล
    3. เมื่อเล็กใฝ่ศึกษา เมื่อหน้าเติบใหญ่จะมีผล
    4. คนไทย คำไทย เขียนให้ได้ ใช้ให้ถูก
  • ลูกผู้ชายลายมือนั้นคือยศ
  • สำเนียงส่อภาษา กิริยาส่อสกุล
  • เมื่อเล็กใฝ่ศึกษา เมื่อหน้าเติบใหญ่จะมีผล
  • คนไทย คำไทย เขียนให้ได้ ใช้ให้ถูก
  • ข้อ 4

    64. ข้อใดไม่ใช่ทรรศนะของผู้เขียน

    1. คนที่เรียนมาน้อย เขียนภาษาไทยไม่ค่อยถูก
    2. คนที่เขียนภาษาไทยถูกต้อง เป็นผู้มีการศึกษาสูง
    3. คนที่ใส่ใจมักเขียนภาษาไทยถูกต้องเสมอ
    4. คนมักง่ายทำอะไรก็มักทำผิดอยู่เสมอ
  • คนที่เรียนมาน้อย เขียนภาษาไทยไม่ค่อยถูก
  • คนที่เขียนภาษาไทยถูกต้อง เป็นผู้มีการศึกษาสูง
  • คนที่ใส่ใจมักเขียนภาษาไทยถูกต้องเสมอ
  • คนมักง่ายทำอะไรก็มักทำผิดอยู่เสมอ
  • ข้อ 4

    65. ปัญหาที่คงอยู่ถาวรมาเป็นเวลานานปัญหาหนึ่งของสังคม นอกจากปัญหาจราจร การตัดไม้ทำลายป่า ยาเสพติด
    พืชผลทางเกษตรตกต่ำแล้ว ก็คือปัญหาการใช้ภาษาไทย ดูเหมือนว่าปัญหาเหล่านี้จะมีความหนักเบาพอ ๆ กัน
    และดูทีท่าว่าจะแก้ยากพอกันด้วย
    ข้อใดไม่ใช่ทรรศนะของผู้เขียน

    1. ปัญหาเรื่องภาษาไทยเกิดขึ้นมานาน และแก้ไขได้ยาก
    2. ปัญหาเรื่องภาษาไทยเกิดขึ้นมานาน และจะคงอยู่ตลอดไป
    3. ปัญหาการใช้ภาษาไทยมีความสำคัญเช่นเดียวกับปัญหาสังคมอื่น ๆ
    4. การแก้ไขปัญหาการใช้ภาษาไทยยากเหมือนการแก้ปัญหาสังคม
  • ปัญหาเรื่องภาษาไทยเกิดขึ้นมานาน และแก้ไขได้ยาก
  • ปัญหาเรื่องภาษาไทยเกิดขึ้นมานาน และจะคงอยู่ตลอดไป
  • ปัญหาการใช้ภาษาไทยมีความสำคัญเช่นเดียวกับปัญหาสังคมอื่น ๆ
  • การแก้ไขปัญหาการใช้ภาษาไทยยากเหมือนการแก้ปัญหาสังคม
  • ข้อ 2

    66. “หวังได้ทรัพย์จากการพนัน คือความเพ้อฝันของคนสิ้นคิด” คติพจน์นี้ให้แนวคิดอย่างไร

    1. การพนันเป็นสิ่งไม่ดี
    2. ไม่มีผู้ใดร่ำรวยจากการพนัน
    3. การพนันเป็นสิ่งที่คาดหวังยังไม่ได้
    4. ควรเลิกเล่นการพนัน หันมาทำงานเลี้ยงชีพ
  • การพนันเป็นสิ่งไม่ดี
  • ไม่มีผู้ใดร่ำรวยจากการพนัน
  • การพนันเป็นสิ่งที่คาดหวังยังไม่ได้
  • ควรเลิกเล่นการพนัน หันมาทำงานเลี้ยงชีพ
  • ข้อ 4

    67. ข้อใดมีโครงสร้างการใช้ภาษาแสดงเหตุผลแบบเหตุไปสู่ผล

    1. ต้นร้ายปลายดี
    2. ยิ้มด้วยปาก ถากด้วยตา
    3. รักดีหามจั่ว รักชั่วหามเสา
    4. เอาหูไปนา เอาตาไปไร่
  • ต้นร้ายปลายดี
  • ยิ้มด้วยปาก ถากด้วยตา
  • รักดีหามจั่ว รักชั่วหามเสา
  • เอาหูไปนา เอาตาไปไร่
  • ข้อ 3

    68. ข้อใดไม่แสดงเหตุผล

    1. หมูไปไก่มา
    2. วัวหายล้อมคอก
    3. หนามยอกเอาหนามบ่ง
    4. มือถือสากปากถือศีล
  • หมูไปไก่มา
  • วัวหายล้อมคอก
  • หนามยอกเอาหนามบ่ง
  • มือถือสากปากถือศีล
  • ข้อ 4

    69. การพูดในข้อใดถูกต้องตามหลักการพูดในที่ประชุม

    1. “ท่านประธานที่เคารพ และท่านผู้ทรงเกียรติทั้งหลาย ผมขอประณามท่านสมาชิกที่กำลังพูดอยู่ว่าไม่มีมารยาท”
    2. “คุณจะมาว่าผมอย่างนั้นไม่ได้ ผมขอให้คุณถอนคำพูด”
    3. “ผมไม่ถอน ผมพูดกับท่านประธาน ผมไม่ได้พูดกับคุณ”
    4. “ท่านประธานที่เคารพ ผมขอให้ท่านประธานใช้สิทธิ์สั่งให้ผู้ประท้วงหยุดก้าวร้าวผม”
  • “ท่านประธานที่เคารพ และท่านผู้ทรงเกียรติทั้งหลาย ผมขอประณามท่านสมาชิกที่กำลังพูดอยู่ว่าไม่มีมารยาท”
  • “คุณจะมาว่าผมอย่างนั้นไม่ได้ ผมขอให้คุณถอนคำพูด”
  • “ผมไม่ถอน ผมพูดกับท่านประธาน ผมไม่ได้พูดกับคุณ”
  • “ท่านประธานที่เคารพ ผมขอให้ท่านประธานใช้สิทธิ์สั่งให้ผู้ประท้วงหยุดก้าวร้าวผม”
  • ข้อ 4

    70. ข้อใดใช้ภาษาในการประชุมได้เหมาะสมที่สุด

    1. ผมขอแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับการยินยอมให้ราคาน้ำมันเป็นไปตามกลไกการตลาด
    2. ผมอยากแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับการยินยอมให้ราคาน้ำมันเป็นไปตามกลไกการตลาด
    3. ผมประสงค์จะแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับการยินยอมให้ราคาน้ำมันลอยตัว
    4. ผมต้องการจะแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับการยินยอมให้ราคาน้ำมันลอยตัว

    1. ผมขอแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับการยินยอมให้ราคาน้ำมันเป็นไปตามกลไกการตลาด
    2. ผมอยากแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับการยินยอมให้ราคาน้ำมันเป็นไปตามกลไกการตลาด
    3. ผมประสงค์จะแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับการยินยอมให้ราคาน้ำมันลอยตัว
    4. ผมต้องการจะแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับการยินยอมให้ราคาน้ำมันลอยตัว
  • ผมขอแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับการยินยอมให้ราคาน้ำมันเป็นไปตามกลไกการตลาด
  • ผมอยากแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับการยินยอมให้ราคาน้ำมันเป็นไปตามกลไกการตลาด
  • ผมประสงค์จะแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับการยินยอมให้ราคาน้ำมันลอยตัว
  • ผมต้องการจะแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับการยินยอมให้ราคาน้ำมันลอยตัว
  • ข้อ 1

    71. ข้อความต่อไปนี้ข้อใดเหมาะจะเป็นประโยคแรกและประโยคสุดท้ายของการพูด

    ก. ขอขอบใจและแสดงความยินดีอย่างยิ่งกับทุกคนที่ได้มาวันนี้
    ข. การทำประโยชน์แก่ประเทศชาติและทำความดีนี้เป็นสิ่งที่ไม่ใช่ง่าย
    ค. ที่ว่าทำดีนี้เป็นสิ่งที่ยากก็เพราะว่าการทำดีนี้ต้องมีแผน ต้องคิดมาก
    ง. ขอทุกคนจงรับความสุขและความดีโดยพลังของการกุศลที่ได้ทำ ขอจงประสบความสำเร็จทุกประการ

    1. ข้อ ข และ ข้อ ง
    2. ข้อ ก และ ข้อ ค
    3. ข้อ ข และ ข้อ ค
    4. ข้อ ก และ ข้อ ง

    ข้อ 4

    72. แม้คนเราต้องทำมาหากิน แต่เศรษฐกิจก็มิใช่ทั้งหมดของชีวิตเรา มีกิจกรรมอีก
    มากมายที่ต้องทำหรือเกี่ยวข้อง เช่น อ่านหนังสือ ไปเที่ยว ช่วยงานส่วนรวม
    กิจกรรมทางสังคมเหล่านี้อาจไม่ช่วยให้เรามีเงินมากขึ้น แต่ก็เป็นสิ่งที่ชีวิตเรา ขาดไม่ได้
    ผู้เขียนแสดงทรรศนะเรื่องใด

    1. กิจกรรมสร้างสรรค์
    2. กิจกรรมของชีวิต
    3. กิจกรรมพัฒนาสังคม
    4. กิจกรรมทางเศรษฐกิจ
  • กิจกรรมสร้างสรรค์
  • กิจกรรมของชีวิต
  • กิจกรรมพัฒนาสังคม
  • กิจกรรมทางเศรษฐกิจ
  • ข้อ 2

    จงอ่านข้อความต่อไปนี้ แล้วตอบคำถามข้อ 73 - 74

    ถ้าชาติของเราจะดำริการทำสิ่งใดลงไปไม่ได้นอกจากต้องอาศัยความคิดเดินตามรอย
    ตีนของชาติอื่น ความเป็นไทยหรือความเป็นอิสรภาพส่วนตัวบุคคลจะมีประโยชน์อันใด?
    ข้อแก้ตัวของพวกชอบเอาอย่างที่มักกล่าวนั้นมีอยู่ว่า ฝรั่งเป็นอาจารย์ของเราในทางความ
    เจริญและความรุ่งเรืองต่าง ๆ แต่คุณความดีที่ความรุ่งเรืองต่าง ๆ นี้ได้กระทำให้แก่เขา
    ทั้งหลายนั้นก็ไม่สามารถที่จะปัดป้องให้บรรดามหาประเทศหลีกพ้นจากความพินาศฉิบหาย
    ซึ่งเกิดจากสงครามอันแพร่หลายใหญ่โตที่สุดในโลกนี้ได้เคยเห็น

    73. ข้อใดเป็นวัตถุประสงค์ของผู้เขียน

    1. แก้ตัว
    2. อธิบาย
    3. โต้แย้ง
    4. คัดค้าน

    ถ้าชาติของเราจะดำริการทำสิ่งใดลงไปไม่ได้นอกจากต้องอาศัยความคิดเดินตามรอย
    ตีนของชาติอื่น ความเป็นไทยหรือความเป็นอิสรภาพส่วนตัวบุคคลจะมีประโยชน์อันใด?
    ข้อแก้ตัวของพวกชอบเอาอย่างที่มักกล่าวนั้นมีอยู่ว่า ฝรั่งเป็นอาจารย์ของเราในทางความ
    เจริญและความรุ่งเรืองต่าง ๆ แต่คุณความดีที่ความรุ่งเรืองต่าง ๆ นี้ได้กระทำให้แก่เขา
    ทั้งหลายนั้นก็ไม่สามารถที่จะปัดป้องให้บรรดามหาประเทศหลีกพ้นจากความพินาศฉิบหาย
    ซึ่งเกิดจากสงครามอันแพร่หลายใหญ่โตที่สุดในโลกนี้ได้เคยเห็น

    73. ข้อใดเป็นวัตถุประสงค์ของผู้เขียน

    1. แก้ตัว
    2. อธิบาย
    3. โต้แย้ง
    4. คัดค้าน

    73. ข้อใดเป็นวัตถุประสงค์ของผู้เขียน

    1. แก้ตัว
    2. อธิบาย
    3. โต้แย้ง
    4. คัดค้าน

    ข้อ 3

    74. ผู้เขียนใช้วิธีการใดสนับสนุนทรรศนะของตน

    1. ให้เหตุผล
    2. สมมุติเรื่อง
    3. ยกตัวอย่าง
    4. ชี้ข้อบกพร่อง
  • ให้เหตุผล
  • สมมุติเรื่อง
  • ยกตัวอย่าง
  • ชี้ข้อบกพร่อง
  • ข้อ 4

    75. ข้อใดไม่ควรปรากฏในการโต้แย้ง

    1. เหตุผลที่คุณนำมาสนับสนุนนั้น มีบางข้อที่ควรนำมาทบทวนใหม่
    2. ผมมีข้อเสนอใหม่ที่แตกต่างกับของคุณ ต้องการให้คุณได้นำไปพิจารณาดูก่อน
    3. ข้อเสนอของคุณนั้นพอยอมรับได้ แต่ผมมีข้อเสนออีกแนวทางหนึ่งให้คุณพิจารณา
    4. ผมไม่เห็นด้วยกับแนวคิดของคุณ ถ้าคุณจะทบทวนใหม่อีกครั้งก็จะเป็นการดี
  • เหตุผลที่คุณนำมาสนับสนุนนั้น มีบางข้อที่ควรนำมาทบทวนใหม่
  • ผมมีข้อเสนอใหม่ที่แตกต่างกับของคุณ ต้องการให้คุณได้นำไปพิจารณาดูก่อน
  • ข้อเสนอของคุณนั้นพอยอมรับได้ แต่ผมมีข้อเสนออีกแนวทางหนึ่งให้คุณพิจารณา
  • ผมไม่เห็นด้วยกับแนวคิดของคุณ ถ้าคุณจะทบทวนใหม่อีกครั้งก็จะเป็นการดี
  • ข้อ 4

    76. “อมพระมาพูดก็ไม่เชื่อ หน้าเนื้อใจเสืออย่างเธอ ใครเตือนไม่ฟังว่าอย่าเผลอมีใจให้” บทเพลงท่อนที่คัดมานี้มีลักษณะเด่นตรงกับข้อใด

    1. เล่นเสียงสัมผัสแพรวพราว
    2. ให้ความหมายและแสดงสัจธรรม
    3. สะท้อนค่านิยมด้านวัฒนธรรมทางภาษา
    4. โยงเนื้อหาให้สอดคล้องกับสภาพสังคมปัจจุบัน
  • เล่นเสียงสัมผัสแพรวพราว
  • ให้ความหมายและแสดงสัจธรรม
  • สะท้อนค่านิยมด้านวัฒนธรรมทางภาษา
  • โยงเนื้อหาให้สอดคล้องกับสภาพสังคมปัจจุบัน
  • ข้อ 3

    จงอ่านข้อความต่อไปนี้ แล้วตอบคำถามข้อ 77 - 78

    เพชรน้ำค้างค้างหล่นบนพรมหญ้า เย็นหยาดฟ้ามาฝันหลงวันใหม่
    เคล้าเคลียหยอกดอกหญ้าอย่างอาลัย เมื่อแฉกดาวใบไผ่ไหวตะวัน

    77. คำประพันธ์ข้างต้นนี้มีลีลาการแต่งประเภทใด

    1. เสาวรจนีย์
    2. นารีปราโมทย์
    3. พิโรธวาทัง
    4. สัลลาปังคพิสัย

    77. คำประพันธ์ข้างต้นนี้มีลีลาการแต่งประเภทใด

    1. เสาวรจนีย์
    2. นารีปราโมทย์
    3. พิโรธวาทัง
    4. สัลลาปังคพิสัย

    ข้อ 1

    78. คำประพันธ์ข้างต้นนี้ใช้วิธีใดในการสร้างภาพพจน์

    1. อุปมา อุปลักษณ์
    2. อุปลักษณ์ บุคคลวัต
    3. บุคคลวัต นามนัย
    4. นามนัย อุปมา
  • อุปมา อุปลักษณ์
  • อุปลักษณ์ บุคคลวัต
  • บุคคลวัต นามนัย
  • นามนัย อุปมา
  • ข้อ 2

    79. คำประพันธ์ต่อไปนี้มีลักษณะเด่นตรงกับข้อใด

    อร่ามรุ่งบรรเทืองอัมพรเพริศ อัมพรพรายธงชายเฉิดเฉลิมงอน
    เฉลิมงามสงครามสยอนไม่ต่อติด ไม่ต่อต้านทานฤทธิ์เข้ารุกราน
    เข้ารุกรับยับแตกฉานพังประลาต พ่ายประลัยลงดื่นดาษพสุธาธาร

    1. กลบท
    2. สัมผัสสระ
    3. สัมผัสพยัญชนะ
    4. สัมผัสใน

    ข้อ 1

    80. ข้อใดใช้ภาพพจน์ประเภท “นามนัย”

    1. น้องฝันว่าได้เอื้อมถึงอากาศ ประหลาดเด็ดสุริยาลงมาล่าง
    2. หม่อมไม่มีฉันนี้ก็จะงด ยังไม่หมดดอกเจ้าเฝ้าเสียดาย
    3. นุ่งตาเล็ดงาห่มผ้าผวย ไม่ชุ่มชวยด้วยระคายเป็นม่ายผัว
    4. เอ็งไปป่าพาไปแต่วันทอง ที่นั่งรองนั้นได้มาแต่ไหน
  • น้องฝันว่าได้เอื้อมถึงอากาศ ประหลาดเด็ดสุริยาลงมาล่าง
  • หม่อมไม่มีฉันนี้ก็จะงด ยังไม่หมดดอกเจ้าเฝ้าเสียดาย
  • นุ่งตาเล็ดงาห่มผ้าผวย ไม่ชุ่มชวยด้วยระคายเป็นม่ายผัว
  • เอ็งไปป่าพาไปแต่วันทอง ที่นั่งรองนั้นได้มาแต่ไหน
  • ข้อ 4

    81. ความในข้อใดไม่ได้แสดงลักษณะทางวัฒนธรรมไทย

    1. เมื่อชั่วพ่อกู กูบำเรอแก่พ่อกู กูบำเรอแก่แม่กู
    2. นางมีตาเหมือนนิโลบลซึ่งบานเต็มที่ มีแขนเหมือนก้านบัว
    3. เห็นขนเม่นพี่ยังหมายเสียดายนาง เจ้าเคยสางสอยเส้นกระเด็นราย
    4. ปู่ของฉัน ย่าของฉัน พ่อของฉัน และแม่ของฉัน เกิดและตายบนที่นาทั้งนั้น
  • เมื่อชั่วพ่อกู กูบำเรอแก่พ่อกู กูบำเรอแก่แม่กู
  • นางมีตาเหมือนนิโลบลซึ่งบานเต็มที่ มีแขนเหมือนก้านบัว
  • เห็นขนเม่นพี่ยังหมายเสียดายนาง เจ้าเคยสางสอยเส้นกระเด็นราย
  • ปู่ของฉัน ย่าของฉัน พ่อของฉัน และแม่ของฉัน เกิดและตายบนที่นาทั้งนั้น
  • ข้อ 2

    ใช้ตัวเลือกต่อไปนี้ตอบคำถามข้อ 82 - 83


    ก. เหมือนอุบะนวลละออง เจ้าแขวนไว้ให้เรียมชม
    ข. หอมอยู่ไม่รู้วาย คล้ายกลิ่นผ้าเจ้าตาตรู
    ค. นึกถวิลกลิ่นบุหงา- รำไปเจ้าเศร้าถึงนาง
    ง. นึกน้องกรองมาลัย วางให้พี่ข้างที่นอน

    82. ความในข้อใดแสดงให้เห็นถึงการถ่ายทอดวัฒนธรรมระหว่างชาติ

  • ข้อ 3

    83. ความในข้อใดแสดงถึงความสัมพันธ์อย่างลึกซึ้งของตัวละคร

  • ข้อ 4

    84. ข้อใดกล่าวถึงประเพณีที่ต่างกับข้ออื่น

    1. ครั้นแล้วลงมาศาลาใหญ่ พระสงฆ์ลงไปอยู่พร้อมหน้า
      พลายแก้วอุ้มไตรไปวันทา ขรัวบุญให้บรรพชาเป็นเณรพลัน
    2. ข้อจะให้ลูกข้าสิบห้าชั่ง ขันหมากมั่งน้อยมากไม่จู้จี้
      ผ้าไหว้สำรับหนึ่งก็พอดี หอมีห้าห้องฝากระดาน
    3. จึงจอดเรือเข้าหน้าสะพานใหญ่ ตาผลวิ่งไปเอาไม้กั้น
      เสียเงินทองให้ขึ้นไปพลัน ขนขันหมากขึ้นบนบันได
    4. จุดประทีปแสงประเทืองเรืองรอง มโหรีแซ่ซ้องประสานซอ
      ขับกล่อมซ้อมเสียงสำเนียงนวล โหยหวนโอดลั่นสนั่นหอ

    ข้อ 1

    85. คำประพันธ์ในข้อใดแสดงนาฏการชัดเจนที่สุด

    1. เจ้าลืมนอนซ่อนพุ่มกระทุ่มต่ำ เด็ดใบบอนช้อนน้ำที่ไร่ฝ้าย
    2. เงยหน้าขึ้นเถิดเจ้าพิมเพื่อน แก้มเปื้อนมาจะเช็ดน้ำตาให้
    3. สุวรรณหงส์ทรงพู่ห้อย งามชดช้อยลอยหลังสินธุ์
    4. ดอกไม้ร้องป้องปีบสนั่นป่า ในแหล่งหล้าใครไม่มีเสมอเหมือน
  • เจ้าลืมนอนซ่อนพุ่มกระทุ่มต่ำ เด็ดใบบอนช้อนน้ำที่ไร่ฝ้าย
  • เงยหน้าขึ้นเถิดเจ้าพิมเพื่อน แก้มเปื้อนมาจะเช็ดน้ำตาให้
  • สุวรรณหงส์ทรงพู่ห้อย งามชดช้อยลอยหลังสินธุ์
  • ดอกไม้ร้องป้องปีบสนั่นป่า ในแหล่งหล้าใครไม่มีเสมอเหมือน
  • ข้อ 3

    86. ข้อใดมีการละเล่นมากที่สุด

    1. โมงครุ่ม ปรบไก่ ศาลาราย
    2. โขนอุโมงค์ กำแพงแก้ว ไต่ลวด
    3. รำแพน โตล่อแก้ว หกคะเมน
    4. ลอดบ่วง การเปรียญ โอ้เอ้วิหารราย

    1. โมงครุ่ม ปรบไก่ ศาลาราย
    2. โขนอุโมงค์ กำแพงแก้ว ไต่ลวด
    3. รำแพน โตล่อแก้ว หกคะเมน
    4. ลอดบ่วง การเปรียญ โอ้เอ้วิหารราย
  • โมงครุ่ม ปรบไก่ ศาลาราย
  • โขนอุโมงค์ กำแพงแก้ว ไต่ลวด
  • รำแพน โตล่อแก้ว หกคะเมน
  • ลอดบ่วง การเปรียญ โอ้เอ้วิหารราย
  • ข้อ 3

    87. สิ่งที่กวีกล่าวถึงในข้อใดต่างกับข้ออื่น

    1. นาคาหน้าดังเป็น ดูเขม้นเห็นขบขัน
    2. มังกรถอนพายพัน ทันแข่งหน้าวาสุกรี
    3. เลียงผาง่าเท้าโผน เพียงโจนไปในวารี
    4. หางไก่ว่ายแหวกว่าย หางไก่คล้ายไม่มีหงอน
  • นาคาหน้าดังเป็น ดูเขม้นเห็นขบขัน
  • มังกรถอนพายพัน ทันแข่งหน้าวาสุกรี
  • เลียงผาง่าเท้าโผน เพียงโจนไปในวารี
  • หางไก่ว่ายแหวกว่าย หางไก่คล้ายไม่มีหงอน
  • ข้อ 4

    88. หลับเถิดนะคนดีตรงนี้หนอ ใจแม่พ่อเพื่อนวางไว้ต่างหมอน
    คุณความดีมีมาเป็นอาภรณ์ นอนเถิดนอนนิ่งสนิทนิจนิรันดร์
    ข้อใดไม่ปรากฏในบทกลอนนี้

    1. ความดี
    2. ความรัก
    3. ความตาย
    4. ความห่วงใย
  • ความดี
  • ความรัก
  • ความตาย
  • ความห่วงใย
  • ข้อ 4

    จงอ่านข้อความต่อไปนี้ แล้วตอบคำถามข้อ 89 - 90

    สตรีใดในพิภพจบแดน ไม่มีใครได้แค้นเหมือนอกข้า
    ด้วยใฝ่รักให้เกินพักตรา จะมีแต่เวทนาเป็นเนืองนิตย์

    89. ตัวละครในคำประพันธ์นี้มีอารมณ์ความรู้สึกตรงกับข้อใด

    1. โกรธ – เคียดแค้น
    2. ช้ำใจ – น้อยใจ
    3. น้อยใจ – สงสารตนเอง
    4. แค้นเคือง – ทุกข์ใจ

    89. ตัวละครในคำประพันธ์นี้มีอารมณ์ความรู้สึกตรงกับข้อใด

    1. โกรธ – เคียดแค้น
    2. ช้ำใจ – น้อยใจ
    3. น้อยใจ – สงสารตนเอง
    4. แค้นเคือง – ทุกข์ใจ
  • โกรธ – เคียดแค้น
  • ช้ำใจ – น้อยใจ
  • น้อยใจ – สงสารตนเอง
  • แค้นเคือง – ทุกข์ใจ
  • ข้อ 2

    90. คำประพันธ์ข้างต้นกล่าวถึงความรู้สึกของตัวละครใด

    1. มาหยารัศมี
    2. สการะวาตี
    3. จินตะหรา
    4. บุษบา
  • มาหยารัศมี
  • สการะวาตี
  • จินตะหรา
  • บุษบา
  • ข้อ 3

    91. คำประพันธ์ต่อไปนี้มีความหมายตรงกับข้อใด

    คำยอยกย่องเที้ยร ทุกประการ
    พักตร์จิตผิดกันประมาณ ยากรู้

    1. หน้าซื่อใจคด
    2. ยกยอปอปั้น
    3. รู้หน้าไม่รู้ใจ
    4. ปากปราศรัยน้ำใจเชือดคอ

    1. หน้าซื่อใจคด
    2. ยกยอปอปั้น
    3. รู้หน้าไม่รู้ใจ
    4. ปากปราศรัยน้ำใจเชือดคอ

    ข้อ 4

    92. เหตุผลของสมเด็จพระวันรัตวัดป่าแก้วข้อใดที่ทำให้สมเด็จพระนเรศวรทรงงดโทษประหารชีวิตแก่เหล่าทหาร

    1. ไว้เพื่อผดุงเดชเจ้า จอมปราณ
    2. ก่อเกิดราชรำบาญ ใหม่แม้
    3. พูดเพิ่มพระสมภาร เพ็ญภพ พระนา
    4. วายบ่หวังตนแก้ ชอบได้ไป่มี
  • ไว้เพื่อผดุงเดชเจ้า จอมปราณ
  • ก่อเกิดราชรำบาญ ใหม่แม้
  • พูดเพิ่มพระสมภาร เพ็ญภพ พระนา
  • วายบ่หวังตนแก้ ชอบได้ไป่มี
  • ข้อ 4

    93. มงคลสูตรคำฉันท์มีที่มาจากพระสุตตันตปิฎกหมวดใด

    1. ทีฆนิกาย
    2. มัชฌิมนิกาย
    3. อังคุตตรนิกาย
    4. ขุททกนิกาย
  • ทีฆนิกาย
  • มัชฌิมนิกาย
  • อังคุตตรนิกาย
  • ขุททกนิกาย
  • ข้อ 4

    94. ข้อความนี้มีความหมายตรงกับข้อใด

    “โดยจะพิจารณาว่าความเก่า รูปความงามข้างเจ้าอยู่เหลือหลาย”

    1. คดีความของขุนแผนมีพยานมาก
    2. คดีความของขุนแผนได้เปรียบกว่า
    3. คดีความของขุนแผนมีหลายคดี
    4. คดีความของขุนแผนได้เปรียบเพราะขุนแผนรูปงามกว่า

    1. คดีความของขุนแผนมีพยานมาก
    2. คดีความของขุนแผนได้เปรียบกว่า
    3. คดีความของขุนแผนมีหลายคดี
    4. คดีความของขุนแผนได้เปรียบเพราะขุนแผนรูปงามกว่า

    ข้อ 2

    95. ใครเป็นผู้กล่าวข้อความต่อไปนี้

    “ภิกฺขเว ดูกรสงฆ์ผู้ทรงศีลสังวรวินัย”
    ปางเมื่อสมเด็จกรุงสญชัยอัยกาธิราช ท้าวเธอไถ่พระภาคิไนยนาถแล้วมิช้า”

    1. พระอานนท์
    2. พระเวสสันดร
    3. พระพุทธเจ้า
    4. พระสารีบุตร

    1. พระอานนท์
    2. พระเวสสันดร
    3. พระพุทธเจ้า
    4. พระสารีบุตร

    ข้อ 3

    96. ข้อความต่อไปนี้เกี่ยวข้องกับวรรณคดีเรื่องใด

    องค์พระเพชรปราณีท้าวตรีเนตร เสียพระเวทผูกทวารกรุงพานถนอม”
    สุจิตราลาตายไม่วายตรอม ล้วนเจิมจอมธรณีทั้งสี่องค์

    1. สังข์ทอง
    2. อุณรุท
    3. สุวรรณหงส์
    4. ท้าวแสนปม

    1. สังข์ทอง
    2. อุณรุท
    3. สุวรรณหงส์
    4. ท้าวแสนปม

    ข้อ 2

    97. ในนิทานเวตาล พระวิกรมาทิตย์ตัดสินว่าพราหมณ์คนที่ 2 ซึ่งเก็บเถ้ากระดูกของนางมธุมาลตีไว้นั้น ควรได้เป็นสามีของนางด้วยเงื่อนไขใด

    1. การพิเคราะห์อุปนิสัยของพราหมณ์คนใดว่าสอดคล้องกับนางมากที่สุด
    2. การพิจารณาความรับผิดชอบว่าพราหมณ์ผู้ใดสามารถเลี้ยงดูเธอต่อไปได้
    3. การเปรียบเทียบบทบาทของพราหมณ์แต่ละคนกับเงื่อนไขทางสังคมในขณะนั้น
    4. การวัดความรู้ความสามารถของพราหมณ์ทั้ง 3 คน ประกอบกับบทบาทในการชุบชีวิตนาง
  • การพิเคราะห์อุปนิสัยของพราหมณ์คนใดว่าสอดคล้องกับนางมากที่สุด
  • การพิจารณาความรับผิดชอบว่าพราหมณ์ผู้ใดสามารถเลี้ยงดูเธอต่อไปได้
  • การเปรียบเทียบบทบาทของพราหมณ์แต่ละคนกับเงื่อนไขทางสังคมในขณะนั้น
  • การวัดความรู้ความสามารถของพราหมณ์ทั้ง 3 คน ประกอบกับบทบาทในการชุบชีวิตนาง
  • ข้อ 3

    98. พระพุทธรูปซึ่งเป็นพระประธานในพระอุโบสถวัดพระเชตุพนคือองค์ใด

    1. พระนาคปรก
    2. พระพุทธไสยาสน์
    3. พระพุทธเทวปฏิมากร
    4. พระโลกนาถศาสดาจารย์
  • พระนาคปรก
  • พระพุทธไสยาสน์
  • พระพุทธเทวปฏิมากร
  • พระโลกนาถศาสดาจารย์
  • ข้อ 3

    99. คำว่า “ X นเพศ” ในข้อความต่อไปนี้ “เหตุฉะนี้กระหม่อมฉันผู้ชื่อว่าชาลีจึงเฝ้า อยู่แต่ห่าง ๆ อย่าง X นเพศพอพักตร์ตน” มีความหมายตรงกับข้อใด

    1. เพศที่ยากไร้
    2. เพศที่อ่อนแอ
    3. เพศที่เข้มแข็ง
    4. เพศที่ต่ำช้า
  • เพศที่ยากไร้
  • เพศที่อ่อนแอ
  • เพศที่เข้มแข็ง
  • เพศที่ต่ำช้า
  • ข้อ 4

    100. ข้อใดแสดงความคล้ายคลึงกันทางวัฒนธรรมระหว่างไทยกับอังกฤษ

    1. อันอาภรณ์เครื่องประดับสำหรับทรง ทั้งพระองค์แต่ล้วนเพชรเม็ดไม่เบา
    2. จึงแย้มเยื้อนเอื้อนโอษฐ์ด้วยโปรดปราน แล้วประทานหัตถ์ให้จับรับทุกนาย
    3. ราชบุตรสุดสวาดิจึ่งนาดกราย มาทักทายพูดจาแล้วลาไป
    4. โปรดให้นั่งบนเก้าอี้มีน้ำชา อีกทั้งกาแฟใส่ถ้วยลายทอง
  • อันอาภรณ์เครื่องประดับสำหรับทรง ทั้งพระองค์แต่ล้วนเพชรเม็ดไม่เบา
  • จึงแย้มเยื้อนเอื้อนโอษฐ์ด้วยโปรดปราน แล้วประทานหัตถ์ให้จับรับทุกนาย
  • ราชบุตรสุดสวาดิจึ่งนาดกราย มาทักทายพูดจาแล้วลาไป
  • โปรดให้นั่งบนเก้าอี้มีน้ำชา อีกทั้งกาแฟใส่ถ้วยลายทอง
  • ข้อ 1

     

    PS.  วันเวลาเปลี่ยนคนเปลี่ยน ใจม๊าย...........เปลี่ยน

    แสดงความคิดเห็น

    >

    1 ความคิดเห็น