Dek-D.com ใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสบการณ์ของ
ผู้ใช้ให้ดียิ่งขึ้น เรียนรู้เพิ่มเติมที่นี่
ยอมรับ

ข้อสอบสังคม ของดาวอง (อ.ปิง)

ตั้งกระทู้ใหม่
ตั้งกระทู้ใหม่
ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย วิชาสังคมศึกษา มีนาคม พ.ศ. 2548

มีทั้งหมด 80 ข้อ

1. ข้อใดเป็นคำอธิบายเกี่ยวกับวัฒนธรรมได้ถูกต้องที่สุด

  1. วัฒนธรรมไทยมีวิวัฒนาการแบบสายเดี่ยว
  2. วัฒนธรรมที่ดีต้องมีความคงที่ตลอดเวลา
  3. วัฒนธรรมสามารถหยิบยืมและเปลี่ยนแปลงได้
  4. วัฒนธรรมมีความหมายเฉพาะในทางวัตถุเท่านั้น
  • วัฒนธรรมไทยมีวิวัฒนาการแบบสายเดี่ยว
  • วัฒนธรรมที่ดีต้องมีความคงที่ตลอดเวลา
  • วัฒนธรรมสามารถหยิบยืมและเปลี่ยนแปลงได้
  • วัฒนธรรมมีความหมายเฉพาะในทางวัตถุเท่านั้น
  • ข้อ 3

    2. สถานการณ์ใดที่เป็นกระบวนการขัดเกลาทางสังคมทางอ้อม

    1. ด.ช. ดำเล่นซ่อนหากับเพื่อนชั้นอนุบาล 3
    2. น.ส. วารีถูกลงโทษเนื่องจากทุจริตในการสอบ
    3. ปู่และย่าสอนให้ ด.ช.แดง เป็นผู้มีสัมมาคารวะ
    4. ตำรวจจราจรออกใบสั่งแก่นายธาราข้อหาฝ่าฝืนกฎจราจร
    5. ข้อ 1

      3. ความสัมพันธ์ในข้อใดเป็นความสัมพันธ์แบบปฐมภูมิ

      1. ลูกพี่ กับ ลูกน้อง
      2. พนักงานขาย กับ ลูกค้า
      3. พี่น้องร่วมบิดามารดา
      4. ผู้อำนวยการ กับ เลขานุการ

  • ด.ช. ดำเล่นซ่อนหากับเพื่อนชั้นอนุบาล 3
  • น.ส. วารีถูกลงโทษเนื่องจากทุจริตในการสอบ
  • ปู่และย่าสอนให้ ด.ช.แดง เป็นผู้มีสัมมาคารวะ
  • ตำรวจจราจรออกใบสั่งแก่นายธาราข้อหาฝ่าฝืนกฎจราจร
  • ข้อ 1

    3. ความสัมพันธ์ในข้อใดเป็นความสัมพันธ์แบบปฐมภูมิ

    1. ลูกพี่ กับ ลูกน้อง
    2. พนักงานขาย กับ ลูกค้า
    3. พี่น้องร่วมบิดามารดา
    4. ผู้อำนวยการ กับ เลขานุการ

    3. ความสัมพันธ์ในข้อใดเป็นความสัมพันธ์แบบปฐมภูมิ
    1. ลูกพี่ กับ ลูกน้อง
    2. พนักงานขาย กับ ลูกค้า
    3. พี่น้องร่วมบิดามารดา
    4. ผู้อำนวยการ กับ เลขานุการ

    ข้อ 3

    4. หน้าที่ใดที่สถาบันทางสังคมอื่นทำแทนสถาบันครอบครัวไม่ได้

    1. เสียภาษีให้รัฐ
    2. ผลิตสมาชิกใหม่
    3. ให้ความอบอุ่นแก่สมาชิก
    4. คุ้มกันภัยให้แก่สมาชิก

    1. เสียภาษีให้รัฐ
    2. ผลิตสมาชิกใหม่
    3. ให้ความอบอุ่นแก่สมาชิก
    4. คุ้มกันภัยให้แก่สมาชิก
  • เสียภาษีให้รัฐ
  • ผลิตสมาชิกใหม่
  • ให้ความอบอุ่นแก่สมาชิก
  • คุ้มกันภัยให้แก่สมาชิก
  • ข้อ 2

    5. ข้อความใดอธิบายเกี่ยวกับสถาบันทางสังคมได้ถูกต้องที่สุด

    1. สถาบันทางสังคมเกิดจากกลุ่มต่าง ๆ ที่สัมพันธ์กัน
    2. สถาบันทางสังคมทุกสถาบันมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
    3. สถาบันทางสังคมต้องมีประวัติยาวนานจึงจะเป็นสถาบันที่สำคัญ
    4. หน้าที่ของสถาบันทางสังคม คือการมุ่งจรรโลงวัฒนธรรมประเพณีอันดีงามของชาติเท่านั้น
  • สถาบันทางสังคมเกิดจากกลุ่มต่าง ๆ ที่สัมพันธ์กัน
  • สถาบันทางสังคมทุกสถาบันมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
  • สถาบันทางสังคมต้องมีประวัติยาวนานจึงจะเป็นสถาบันที่สำคัญ
  • หน้าที่ของสถาบันทางสังคม คือการมุ่งจรรโลงวัฒนธรรมประเพณีอันดีงามของชาติเท่านั้น
  • ข้อ 2

    6. การกระทำของบุคคลในข้อใดที่ไม่เป็นการแสดงบทบาททางสังคม

    1. ด.ช.แดงขี่จักรยานไปสวนสาธารณะ
    2. ร.ต.ต.วีระจับวัยรุ่นขี่จักรยานยนต์ฝ่าสัญญาณไฟแดง
    3. ด.ช.ขยันใช้เวลาว่างหลังเลิกเรียนทำการบ้าน
    4. ครูไหวอบรมนักเรียนก่อนสอนหนังสือ
  • ด.ช.แดงขี่จักรยานไปสวนสาธารณะ
  • ร.ต.ต.วีระจับวัยรุ่นขี่จักรยานยนต์ฝ่าสัญญาณไฟแดง
  • ด.ช.ขยันใช้เวลาว่างหลังเลิกเรียนทำการบ้าน
  • ครูไหวอบรมนักเรียนก่อนสอนหนังสือ
  • ข้อ 1

    7. ข้อใดต่อไปนี้เป็นจารีตในสังคมไทย

    1. การทำพิธีสืบชะตาแม่น้ำ
    2. การที่สตรีนุ่งผ้าซิ่นไปทำบุญที่วัด
    3. การรดน้ำดำหัวผู้ใหญ่ในเทศกาลสงกรานต์
    4. การห้ามสตรีเข้าไปในพื้นที่ชั้นในรอบองค์พระธาตุดอยสุเทพ
  • การทำพิธีสืบชะตาแม่น้ำ
  • การที่สตรีนุ่งผ้าซิ่นไปทำบุญที่วัด
  • การรดน้ำดำหัวผู้ใหญ่ในเทศกาลสงกรานต์
  • การห้ามสตรีเข้าไปในพื้นที่ชั้นในรอบองค์พระธาตุดอยสุเทพ
  • ข้อ 4

    8. ค่านิยมมีความสำคัญต่อสังคมในด้านใดมากที่สุด

    1. เป็นเอกลักษณ์ประจำชาติ
    2. ทำให้สังคมมีระเบียบแบบแผน
    3. เป็นที่มาที่สำคัญของบรรทัดฐานทางสังคม
    4. เป็นตัวกำหนดความเจริญก้าวหน้าของสังคม
  • เป็นเอกลักษณ์ประจำชาติ
  • ทำให้สังคมมีระเบียบแบบแผน
  • เป็นที่มาที่สำคัญของบรรทัดฐานทางสังคม
  • เป็นตัวกำหนดความเจริญก้าวหน้าของสังคม
  • ข้อ 2

    9. แผนพัฒนาในข้อใดที่มีผลทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของสังคมไทยมากที่สุด

    1. แผนพัฒนาจังหวัดแบบบูรณาการ
    2. แผนปฏิรูปการศึกษาแห่งชาติ
    3. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
    4. แผนปฏิรูประบบสาธารณสุขแห่งชาติ
  • แผนพัฒนาจังหวัดแบบบูรณาการ
  • แผนปฏิรูปการศึกษาแห่งชาติ
  • แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
  • แผนปฏิรูประบบสาธารณสุขแห่งชาติ
  • ข้อ 3

    10. ข้อใดไม่ใช่พฤติกรรมของวัยรุ่นที่เกิดจากการได้รับอิทธิพลจากสื่อมวลชนโดยตรง

    1. วัยรุ่นนิยมใส่เสื้อสายเดี่ยวเอวลอยตามศิลปินนักร้องนักแสดง
    2. วัยรุ่นแห่กันไปต้อนรับศิลปินนักร้องวัยรุ่นญี่ปุ่นที่มาเปิดการแสดงดนตรี
    3. วัยรุ่นพากันสมัครแข่งขันตามเวทีประกวดต่าง ๆ เพื่อก้าวเข้าสู่วงการบันเทิง
    4. วัยรุ่นเริ่มมีพฤติกรรมเบี่ยงเบนทางเพศมากขึ้นจากการชมภาพยนตร์โฆษณาสินค้า
  • วัยรุ่นนิยมใส่เสื้อสายเดี่ยวเอวลอยตามศิลปินนักร้องนักแสดง
  • วัยรุ่นแห่กันไปต้อนรับศิลปินนักร้องวัยรุ่นญี่ปุ่นที่มาเปิดการแสดงดนตรี
  • วัยรุ่นพากันสมัครแข่งขันตามเวทีประกวดต่าง ๆ เพื่อก้าวเข้าสู่วงการบันเทิง
  • วัยรุ่นเริ่มมีพฤติกรรมเบี่ยงเบนทางเพศมากขึ้นจากการชมภาพยนตร์โฆษณาสินค้า
  • ข้อ 4

    11. ปัญหาข้อใดไม่ใช่ผลที่เกิดจากสถาบันครอบครัวทำหน้าที่บกพร่อง

    1. สามีภรรยาหย่าร้างง่ายขึ้นเมื่อเกิดมี X งกัน
    2. เด็กมีนิสัยก้าวร้าวเอาแต่ใจเนื่องจากถูกพ่อแม่เลี้ยงดูอย่างตามใจ
    3. วัยรุ่นแก้ปัญหาด้วยการฆ่าตัวตายเมื่อเกิดปัญหาขัดแย้งกับพ่อแม่
    4. พ่อแม่เข้ามาหางานทำในเมือง ทำให้ต้องทิ้งลูกไว้กับปู่ ย่า ตา ยาย
  • สามีภรรยาหย่าร้างง่ายขึ้นเมื่อเกิดมี X งกัน
  • เด็กมีนิสัยก้าวร้าวเอาแต่ใจเนื่องจากถูกพ่อแม่เลี้ยงดูอย่างตามใจ
  • วัยรุ่นแก้ปัญหาด้วยการฆ่าตัวตายเมื่อเกิดปัญหาขัดแย้งกับพ่อแม่
  • พ่อแม่เข้ามาหางานทำในเมือง ทำให้ต้องทิ้งลูกไว้กับปู่ ย่า ตา ยาย
  • ข้อ 1

    12. การบริจาคทานที่เรียกว่า “ซะกาต” ในศาสนาอิสลามมีจุดประสงค์หลักเพื่ออะไร

    1. เพื่อให้เราสละความเห็นแก่ตัว
    2. เพื่อให้เรารู้จักช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์
    3. เพื่อให้เรารู้จักทำความดีที่ใคร ๆ ก็สามารถทำได้ถ้าประสงค์จะทำ
    4. เพื่อให้สังคมมีหลักประกันว่าคนที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ในทางเศรษฐกิจจะได้รับการคุ้มครอง
  • เพื่อให้เราสละความเห็นแก่ตัว
  • เพื่อให้เรารู้จักช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์
  • เพื่อให้เรารู้จักทำความดีที่ใคร ๆ ก็สามารถทำได้ถ้าประสงค์จะทำ
  • เพื่อให้สังคมมีหลักประกันว่าคนที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ในทางเศรษฐกิจจะได้รับการคุ้มครอง
  • ข้อ 1

    13. การให้ทานตามคำสอนของพุทธศาสนา มีจุดประสงค์หลักเพื่ออะไร

    1. ชำระความโลภในใจ
    2. สร้างความเท่าเทียมกันในสังคม
    3. ทำความดีเพื่อส่งผลให้เกิดใหม่ในภพภูมิที่ดี
    4. เพื่อให้ตนได้ทำความดีและช่วยเหลือผู้อื่นที่ขาดแคลน
  • ชำระความโลภในใจ
  • สร้างความเท่าเทียมกันในสังคม
  • ทำความดีเพื่อส่งผลให้เกิดใหม่ในภพภูมิที่ดี
  • เพื่อให้ตนได้ทำความดีและช่วยเหลือผู้อื่นที่ขาดแคลน
  • ข้อ 1

    14. ศาสนา พุทธ คริสต์ อิสลาม พราหมณ์ – ฮินดู มีความเชื่อที่สอดคล้องกันในเรื่องใดมากที่สุด

    1. เรื่องวันสิ้นโลก
    2. เรื่องพรหมลิขิต
    3. เรื่องพระเจ้าสร้างโลก
    4. เรื่องการมีอยู่ของเทพเจ้าและเทวดา
  • เรื่องวันสิ้นโลก
  • เรื่องพรหมลิขิต
  • เรื่องพระเจ้าสร้างโลก
  • เรื่องการมีอยู่ของเทพเจ้าและเทวดา
  • ข้อ 4

    15. หลักธรรมข้อใดของศีล 5 ในศาสนาพุทธ ที่ตรงกับหลักธรรมในศาสนาอื่นมากที่สุด

    1. การไม่ลักขโมย
    2. การไม่ล่วงประเวณี
    3. การไม่ฆ่าไม่เบียดเบียน
    4. การไม่เสพสิ่งเสพติดให้โทษ
  • การไม่ลักขโมย
  • การไม่ล่วงประเวณี
  • การไม่ฆ่าไม่เบียดเบียน
  • การไม่เสพสิ่งเสพติดให้โทษ
  • ข้อ 1

    16. ข้อใดคือเงื่อนไขที่สำคัญที่สุดในการพิจารณาว่าการปกครองในประเทศใดเป็นประชาธิปไตย

    1. มีรัฐธรรมนูญที่กำหนดสิทธิและหน้าที่ของประชาชนไว้อย่างชัดเจน
    2. มีการเลือกตั้งที่โปร่งใส ปราศจากการซื้อสิทธิ์ขายเสียง
    3. มีช่องทางให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปกครอง
    4. มีรัฐบาลที่รับผิดชอบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน
  • มีรัฐธรรมนูญที่กำหนดสิทธิและหน้าที่ของประชาชนไว้อย่างชัดเจน
  • มีการเลือกตั้งที่โปร่งใส ปราศจากการซื้อสิทธิ์ขายเสียง
  • มีช่องทางให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปกครอง
  • มีรัฐบาลที่รับผิดชอบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน
  • ข้อ 3

    17. การเข้าชื่อเสนอญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรีจะต้องใช้คะแนนเสียงใน X ส่วนเท่าใดของจำนวน
    สมาชิกทั้งหมดที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร

    1. ไม่น้อยกว่า 1 ใน 5
    2. ไม่น้อยกว่า 2 ใน 5
    3. ไม่น้อยกว่า 3 ใน 5
    4. ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง
  • ไม่น้อยกว่า 1 ใน 5
  • ไม่น้อยกว่า 2 ใน 5
  • ไม่น้อยกว่า 3 ใน 5
  • ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง
  • ข้อ 2

    18. ข้อใดแสดง X ส่วนของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งกับแบบบัญชีรายชื่อตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ
    แห่งราชอาณาจักรไทยได้ถูกต้อง

    1. 250 : 250
    2. 300 : 200
    3. 350 : 150
    4. 400 : 100
  • 250 : 250
  • 300 : 200
  • 350 : 150
  • 400 : 100
  • ข้อ 4

    19. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะสำคัญของการปกครองในสมัยสุโขทัย

    1. การสร้างระบบศักดินาเพื่อกำหนดฐานะของบุคคลในสังคม
    2. การถือเอาราชธานีเป็นศูนย์กลางการปกครอง
    3. การใช้คำนำหน้าพระนามพระมหากษัตริย์ว่าพ่อขุน
    4. การแบ่งระดับความสำคัญของหัวเมือง
  • การสร้างระบบศักดินาเพื่อกำหนดฐานะของบุคคลในสังคม
  • การถือเอาราชธานีเป็นศูนย์กลางการปกครอง
  • การใช้คำนำหน้าพระนามพระมหากษัตริย์ว่าพ่อขุน
  • การแบ่งระดับความสำคัญของหัวเมือง
  • ข้อ 1

    20. ข้อใดคือปัจจัยสำคัญที่ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองในวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516

    1. ความเป็นปึกแผ่นของกองทัพ
    2. ความไร้ประสิทธิภาพของระบบราชการ
    3. ความขัดแย้งในรัฐสภา
    4. การเคลื่อนไหวขององค์การนิสิตนักศึกษา
  • ความเป็นปึกแผ่นของกองทัพ
  • ความไร้ประสิทธิภาพของระบบราชการ
  • ความขัดแย้งในรัฐสภา
  • การเคลื่อนไหวขององค์การนิสิตนักศึกษา
  • ข้อ 4

    21. พฤติกรรมใดที่ไม่ถือว่าเป็นการมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตย

    1. พนักงานการไฟฟ้าฝ่ายผลิตประท้วงนโยบายการแปรรูปรัฐวิสาหกิจของรัฐบาล
    2. คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติทำรัฐประหารรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ
    3. นักวิชาการวิจารณ์นโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาลชุดปัจจุบัน
    4. ทหารเข้าแถวลงคะแนนเสียงเลือกตั้งที่หน่วยเลือกตั้งใกล้เขตทหาร
  • พนักงานการไฟฟ้าฝ่ายผลิตประท้วงนโยบายการแปรรูปรัฐวิสาหกิจของรัฐบาล
  • คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติทำรัฐประหารรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ
  • นักวิชาการวิจารณ์นโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาลชุดปัจจุบัน
  • ทหารเข้าแถวลงคะแนนเสียงเลือกตั้งที่หน่วยเลือกตั้งใกล้เขตทหาร
  • ข้อ 2

    22. ในเนื้อร้องเพลงชาติไทยไม่ได้กล่าวถึงเรื่องใด

    1. ลักษณะนิสัยของประชากรของรัฐ
    2. ระบอบการปกครองของรัฐ
    3. องค์กรที่ใช้อำนาจการปกครองของรัฐ
    4. ความเป็นอิสระในการใช้อำนาจการปกครองของรัฐ
  • ลักษณะนิสัยของประชากรของรัฐ
  • ระบอบการปกครองของรัฐ
  • องค์กรที่ใช้อำนาจการปกครองของรัฐ
  • ความเป็นอิสระในการใช้อำนาจการปกครองของรัฐ
  • ข้อ 3

    23. การปกครองแบบกึ่งประธานาธิบดีกึ่งรัฐสภาถูกนำมาใช้เพื่อแก้ไขปัญหาใด

    1. ความไม่มีเสถียรภาพของรัฐบาล
    2. เผด็จการทางรัฐสภา
    3. การตรวจสอบและถ่วงดุลอำนาจ
    4. การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน
  • ความไม่มีเสถียรภาพของรัฐบาล
  • เผด็จการทางรัฐสภา
  • การตรวจสอบและถ่วงดุลอำนาจ
  • การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน
  • ข้อ 3

    24. การอุดช่องว่างของประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ให้ใช้กฎหมายตามลำดับก่อนหลังในข้อใด

    1. จารีตประเพณี การใช้กฎหมายที่ใกล้เคียง หลักกฎหมายทั่วไป
    2. จารีตประเพณี หลักกฎหมายทั่วไป การใช้กฎหมายที่ใกล้เคียง
    3. หลักกฎหมายทั่วไป จารีตประเพณี การใช้กฎหมายที่ใกล้เคียง
    4. หลักกฎหมายทั่วไป การใช้กฎหมายที่ใกล้เคียง จารีตประเพณี
  • จารีตประเพณี การใช้กฎหมายที่ใกล้เคียง หลักกฎหมายทั่วไป
  • จารีตประเพณี หลักกฎหมายทั่วไป การใช้กฎหมายที่ใกล้เคียง
  • หลักกฎหมายทั่วไป จารีตประเพณี การใช้กฎหมายที่ใกล้เคียง
  • หลักกฎหมายทั่วไป การใช้กฎหมายที่ใกล้เคียง จารีตประเพณี
  • ข้อ 1

    25. ข้อใดแสดงว่ากฎหมายแตกต่างจากศีลธรรมมากที่สุด

    1. กฎหมายเขียนเป็นลายลักษณ์อักษร แต่ศีลธรรมไม่เขียนเป็นลายลักษณ์อักษร
    2. กฎหมายควบคุมมนุษย์ทางกาย แต่ศีลธรรมควบคุมมนุษย์ทั้งทางกายและจิตใจ
    3. กฎหมายมีบทกำหนดโทษผู้ฝ่าฝืน แต่ศีลธรรมไม่มีบทกำหนดโทษผู้ฝ่าฝืน
    4. กฎหมายเป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นจากความจำเป็นทางสังคม แต่ศีลธรรมเป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นจากธรรมชาติ
  • กฎหมายเขียนเป็นลายลักษณ์อักษร แต่ศีลธรรมไม่เขียนเป็นลายลักษณ์อักษร
  • กฎหมายควบคุมมนุษย์ทางกาย แต่ศีลธรรมควบคุมมนุษย์ทั้งทางกายและจิตใจ
  • กฎหมายมีบทกำหนดโทษผู้ฝ่าฝืน แต่ศีลธรรมไม่มีบทกำหนดโทษผู้ฝ่าฝืน
  • กฎหมายเป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นจากความจำเป็นทางสังคม แต่ศีลธรรมเป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นจากธรรมชาติ
  • ข้อ 2

    26. การแบ่งประเภทกฎหมายตามหน้าที่ของกฎหมายคือข้อใด

    1. กฎหมายเอกชน กฎหมายมหาชน
    2. กฎหมายสารบัญญัติ กฎหมายวิธีสบัญญัติ
    3. รัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎีกา
    4. กฎหมายแพ่ง กฎหมายอาญา กฎหมายปกครอง
  • กฎหมายเอกชน กฎหมายมหาชน
  • กฎหมายสารบัญญัติ กฎหมายวิธีสบัญญัติ
  • รัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎีกา
  • กฎหมายแพ่ง กฎหมายอาญา กฎหมายปกครอง
  • ข้อ 2

    27. ความผิดอันยอมความได้หมายถึงข้อใด

    1. ความผิดลหุโทษ
    2. ความผิดที่มีโทษปรับแต่เพียงอย่างเดียว
    3. ความผิดที่มีความรับผิดทางแพ่งอยู่ด้วย
    4. ความผิดที่พนักงานสอบสวนจะสอบสวนคดีไม่ได้จนกว่าผู้เสียหายจะร้องทุกข์
  • ความผิดลหุโทษ
  • ความผิดที่มีโทษปรับแต่เพียงอย่างเดียว
  • ความผิดที่มีความรับผิดทางแพ่งอยู่ด้วย
  • ความผิดที่พนักงานสอบสวนจะสอบสวนคดีไม่ได้จนกว่าผู้เสียหายจะร้องทุกข์
  • ข้อ 4

    28. เมื่อศาลพิพากษาให้ลูกหนี้แพ้คดี ใครมีอำนาจยึดทรัพย์สินของลูกหนี้มาชำระหนี้

    1. เจ้าหน้าที่ตำรวจ
    2. พนักงานอัยการ
    3. เจ้าพนักงานบังคับคดี
    4. เจ้าหนี้ตามคำพิพากษา
  • เจ้าหน้าที่ตำรวจ
  • พนักงานอัยการ
  • เจ้าพนักงานบังคับคดี
  • เจ้าหนี้ตามคำพิพากษา
  • ข้อ 3

    29. ปัจจัยที่ทำให้แม่น้ำเจ้าพระยา แม่น้ำมูล แม่น้ำชี แม่น้ำบางปะกง และแม่น้ำแม่กลองตอนปลายคดไปโค้งมา คือข้อใด

    1. ปริมาณน้ำในลำน้ำมีมากเกินไป
    2. น้ำที่ไหลในลำน้ำมีตะกอนมากเกินไป
    3. ความลาดเอียงของลำน้ำมีน้อยเกินไป
    4. ลำน้ำมีความยาวมากเกินไป
  • ปริมาณน้ำในลำน้ำมีมากเกินไป
  • น้ำที่ไหลในลำน้ำมีตะกอนมากเกินไป
  • ความลาดเอียงของลำน้ำมีน้อยเกินไป
  • ลำน้ำมีความยาวมากเกินไป
  • ข้อ 2

    30. เพราะเหตุใดภาคตะวันออกเฉียงเหนือจึงมีปริมาณน้ำฝนมากกว่าภาคกลางตอนบน

    1. เพราะมีโอกาสได้รับฝนจากพายุดีเปรสชัน
    2. เพราะได้รับฝนทั้งมรสุมฤดูร้อนและมรสุมฤดูหนาว
    3. เพราะได้รับฝนจากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งพัดมาจากทะเลจีนใต้
    4. เพราะปัจจุบันภาคตะวันออกเฉียงเหนือปลูกป่าและสวนยางพารามากขึ้น จึงทำให้มีปริมาณฝนสูงกว่าภาคกลางตอนบน
  • เพราะมีโอกาสได้รับฝนจากพายุดีเปรสชัน
  • เพราะได้รับฝนทั้งมรสุมฤดูร้อนและมรสุมฤดูหนาว
  • เพราะได้รับฝนจากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งพัดมาจากทะเลจีนใต้
  • เพราะปัจจุบันภาคตะวันออกเฉียงเหนือปลูกป่าและสวนยางพารามากขึ้น จึงทำให้มีปริมาณฝนสูงกว่าภาคกลางตอนบน
  • ข้อ 1

    31. การเกิดแผ่นดินไหวในภาคเหนือและภาคตะวันตกของประเทศไทยมีผลมาจากข้อใด

    1. พื้นที่เป็นเขตภูเขาไฟมาก่อน
    2. พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นเขตหินเก่าและหินกลางเก่ากลางใหม่
    3. เป็นเขตที่เปลือกโลกถูกแรงกดทับจากภูเขามากที่สุด
    4. พื้นที่อยู่ใกล้เขตภูเขาหินใหม่ซึ่งทอดตัวผ่านทางตะวันตกของพม่า
  • พื้นที่เป็นเขตภูเขาไฟมาก่อน
  • พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นเขตหินเก่าและหินกลางเก่ากลางใหม่
  • เป็นเขตที่เปลือกโลกถูกแรงกดทับจากภูเขามากที่สุด
  • พื้นที่อยู่ใกล้เขตภูเขาหินใหม่ซึ่งทอดตัวผ่านทางตะวันตกของพม่า
  • ข้อ 4

    32. ข้อใดเป็นลักษณะที่คล้ายคลึงกันระหว่างภาคตะวันออกและภาคใต้ของไทย

    1. ทิศทางการไหลของแม่น้ำไปทางเดียวกัน
    2. จำนวนเกาะนอกชายฝั่งใกล้เคียงกัน
    3. ทางตอนบนของภาคเป็นที่ราบลุ่มแม่น้ำเหมือนกัน
    4. มีแม่น้ำสายสั้น ๆ และหินมีอายุเก่าแก่ใกล้เคียงกัน
  • ทิศทางการไหลของแม่น้ำไปทางเดียวกัน
  • จำนวนเกาะนอกชายฝั่งใกล้เคียงกัน
  • ทางตอนบนของภาคเป็นที่ราบลุ่มแม่น้ำเหมือนกัน
  • มีแม่น้ำสายสั้น ๆ และหินมีอายุเก่าแก่ใกล้เคียงกัน
  • ข้อ 4

    33. สาเหตุที่ทำให้ความสมดุลของระบบนิเวศวิทยาของภาคใต้ในปัจจุบันเปลี่ยนแปลงไปมากที่สุดคืออะไร

    1. การทำเหมืองแร่ดีบุก
    2. การทำลายแนวปะการังชายฝั่ง
    3. การสร้างโรงงานอุตสาหกรรม
    4. การทำลายป่าชายเลนเพื่อทำนากุ้ง
  • การทำเหมืองแร่ดีบุก
  • การทำลายแนวปะการังชายฝั่ง
  • การสร้างโรงงานอุตสาหกรรม
  • การทำลายป่าชายเลนเพื่อทำนากุ้ง
  • ข้อ 4

    34. ป่าไม้ใดมิได้จัดอยู่ในประเภทป่าผลัดใบ

    1. ป่าดิบแล้ง
    2. ป่าเบญจพรรณ
    3. ป่าหญ้าหรือป่าละเมาะ
    4. ป่าเต็งรัง ป่าแดง ป่าโคก หรือป่าแพะ
  • ป่าดิบแล้ง
  • ป่าเบญจพรรณ
  • ป่าหญ้าหรือป่าละเมาะ
  • ป่าเต็งรัง ป่าแดง ป่าโคก หรือป่าแพะ
  • ข้อ 1

    35. เหตุใดดินส่วนใหญ่ของประเทศไทยที่ตั้งอยู่ในเขตร้อนชื้นจึงมีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ

    1. เกิดพายุฝนฟ้าคะนองบ่อย ทำให้การชะล้างพังทลายของดินมีมาก
    2. มีการชะล้างของแร่ธาตุในดินลงไปสะสมไว้ในดินชั้นล่างมาก
    3. มีอากาศร้อนจัด ทำให้จุลินทรีย์ในดินย่อยสลายอนินทรีย์วัตถุมาก
    4. มีภูมิประเทศลาดชันสูงและอากาศร้อนจัด ชั้นดินจึงตื้นมาก
  • เกิดพายุฝนฟ้าคะนองบ่อย ทำให้การชะล้างพังทลายของดินมีมาก
  • มีการชะล้างของแร่ธาตุในดินลงไปสะสมไว้ในดินชั้นล่างมาก
  • มีอากาศร้อนจัด ทำให้จุลินทรีย์ในดินย่อยสลายอนินทรีย์วัตถุมาก
  • มีภูมิประเทศลาดชันสูงและอากาศร้อนจัด ชั้นดินจึงตื้นมาก
  • ข้อ 2

    36. วิธีที่ดีที่สุดในการพัฒนาทรัพยากรน้ำเพื่อการเกษตรสำหรับเกษตรกรในประเทศไทย คือข้อใด

    1. การขุดบ่อน้ำขนาดเล็กตามไร่นาเพิ่มมากขึ้น
    2. การสร้างเขื่อนเก็บน้ำเพื่อการเกษตรเพิ่มมากขึ้น
    3. การรักษาป่าต้นน้ำลำธารและปลูกป่าเศรษฐกิจเพิ่มมากขึ้น
    4. การนำน้ำทิ้งจากกิจกรรมอื่นมาใช้เพื่อการเกษตรเพิ่มมากขึ้น
  • การขุดบ่อน้ำขนาดเล็กตามไร่นาเพิ่มมากขึ้น
  • การสร้างเขื่อนเก็บน้ำเพื่อการเกษตรเพิ่มมากขึ้น
  • การรักษาป่าต้นน้ำลำธารและปลูกป่าเศรษฐกิจเพิ่มมากขึ้น
  • การนำน้ำทิ้งจากกิจกรรมอื่นมาใช้เพื่อการเกษตรเพิ่มมากขึ้น
  • ข้อ 3

    37. ปัญหามลพิษทางอากาศอันเนื่องมาจากการจราจรติดขัดในกรุงเทพมหานคร ได้รับการแก้ไขให้ดีขึ้นจากการพัฒนาด้านใด

    1. การสร้างสวนสาธารณะเพิ่มขึ้น
    2. การกระจายแหล่งงานออกไปทุกมุมเมือง
    3. การติดตั้งระบบฟอกอากาศในยานพาหนะเดินทางทุกชนิด
    4. การมีระบบขนส่งมวลชนประเภทรถไฟลอยฟ้าและรถไฟใต้ดิน
  • การสร้างสวนสาธารณะเพิ่มขึ้น
  • การกระจายแหล่งงานออกไปทุกมุมเมือง
  • การติดตั้งระบบฟอกอากาศในยานพาหนะเดินทางทุกชนิด
  • การมีระบบขนส่งมวลชนประเภทรถไฟลอยฟ้าและรถไฟใต้ดิน
  • ข้อ 1

    38. ข้อใดมิใช่ผลกระทบต่อโลกและการดำรงชีวิตของมนุษย์จากปรากฏการณ์เอลนิโญ

    1. ทำให้ธารน้ำแข็งขั้วโลกละลาย
    2. ทำให้เกิดภาวะฝนตกหนักและน้ำท่วม
    3. ทำให้ฝนไม่ตกตามฤดูกาล
    4. ทำให้อุณหภูมิของน้ำทะเลสูงขึ้น
  • ทำให้ธารน้ำแข็งขั้วโลกละลาย
  • ทำให้เกิดภาวะฝนตกหนักและน้ำท่วม
  • ทำให้ฝนไม่ตกตามฤดูกาล
  • ทำให้อุณหภูมิของน้ำทะเลสูงขึ้น
  • ข้อ 1

    39. การประชุมเอดส์โลก ครั้งที่ 15 ในประเทศไทย เมื่อวันที่ 11 – 16 กรกฎาคม 2547 มีจุดประสงค์สำคัญในเรื่องใด

    1. การไม่เลือกปฏิบัติต่อผู้ติดเชื้อเอดส์
    2. การสร้างภูมิคุ้มกันไม่ให้เด็กแรกเกิดติดเชื้อเอดส์
    3. การใช้เทคโนโลยีระดับท้องถิ่นเพื่อป้องกันโรคเอดส์
    4. ออกกฎหมายคุ้มครองแรงงานเด็กและสตรีที่ติดเชื้อเอดส์
  • การไม่เลือกปฏิบัติต่อผู้ติดเชื้อเอดส์
  • การสร้างภูมิคุ้มกันไม่ให้เด็กแรกเกิดติดเชื้อเอดส์
  • การใช้เทคโนโลยีระดับท้องถิ่นเพื่อป้องกันโรคเอดส์
  • ออกกฎหมายคุ้มครองแรงงานเด็กและสตรีที่ติดเชื้อเอดส์
  • ข้อ 2

    40. ปรากฏการณ์ใดที่เกิดขึ้นและสะท้อนภาวะสิ่งแวดล้อมโลกในปัจจุบัน

    1. ชิลีเป็นประเทศเดียวที่ประสบกับการเกิดปรากฏการณ์เอลนิโญ
    2. ฝนกรดมักเกิดขึ้นในเมืองใหญ่ ๆ และไม่มีผลกระทบต่อป่าไม้โดยตรง
    3. โรงงานอุตสาหกรรมใช้น้ำจืดใน X ส่วนที่มากที่สุดในโลก
    4. ความยั่งยืนของป่าฝนเขตร้อนของโลกจะช่วยลดอัตราเร่งในการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก
  • ชิลีเป็นประเทศเดียวที่ประสบกับการเกิดปรากฏการณ์เอลนิโญ
  • ฝนกรดมักเกิดขึ้นในเมืองใหญ่ ๆ และไม่มีผลกระทบต่อป่าไม้โดยตรง
  • โรงงานอุตสาหกรรมใช้น้ำจืดใน X ส่วนที่มากที่สุดในโลก
  • ความยั่งยืนของป่าฝนเขตร้อนของโลกจะช่วยลดอัตราเร่งในการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก
  • ข้อ 4

    41. การศึกษาในข้อใดไม่สามารถใช้เทคโนโลยีภาพถ่ายดาวเทียม

    1. การใช้ที่ดิน
    2. พื้นที่น้ำท่วม
    3. แหล่งโบราณสถาน
    4. แหล่งแร่ทองคำในถ้ำ
  • การใช้ที่ดิน
  • พื้นที่น้ำท่วม
  • แหล่งโบราณสถาน
  • แหล่งแร่ทองคำในถ้ำ
  • ข้อ 3

    42. เหตุใดวิชาเศรษฐศาสตร์จึงมีความสำคัญต่อการดำเนินชีวิตประจำวันของมนุษย์

    1. มนุษย์มีความต้องการสินค้าและบริการเพิ่มขึ้นตลอดเวลา
    2. มนุษย์มีรายได้จำกัด แต่มีความต้องการสินค้าและบริการไม่จำกัด
    3. ทรัพยากรมีอยู่อย่างจำกัด มนุษย์จึงต้องจัดสรรการใช้ทรัพยากรเหล่านั้นให้เกิดประโยชน์สูงสุด
    4. ปัจจุบันเป็นยุคโลกไร้พรมแดน มีการค้าขายแบบเสรี มนุษย์จึงควรมีความรู้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
  • มนุษย์มีความต้องการสินค้าและบริการเพิ่มขึ้นตลอดเวลา
  • มนุษย์มีรายได้จำกัด แต่มีความต้องการสินค้าและบริการไม่จำกัด
  • ทรัพยากรมีอยู่อย่างจำกัด มนุษย์จึงต้องจัดสรรการใช้ทรัพยากรเหล่านั้นให้เกิดประโยชน์สูงสุด
  • ปัจจุบันเป็นยุคโลกไร้พรมแดน มีการค้าขายแบบเสรี มนุษย์จึงควรมีความรู้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
  • ข้อ 3

    43. ข้อใดคือปัจจัยสำคัญที่จะกำหนดว่าในขณะใดขณะหนึ่งสังคมควรจะผลิตสินค้าต่าง ๆ จำนวนเท่าใดในระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม

    1. กลไกราคา
    2. กำไรของผู้ผลิต
    3. ความพอใจของผู้บริโภค
    4. นโยบายของภาครัฐและเอกชน
  • กลไกราคา
  • กำไรของผู้ผลิต
  • ความพอใจของผู้บริโภค
  • นโยบายของภาครัฐและเอกชน
  • ข้อ 1

    44. การที่หน่วยธุรกิจหน่วยใดหน่วยหนึ่งก่อให้เกิดมลพิษ ทำให้ผู้อื่นได้รับความเดือดร้อน ความเสียหายดังกล่าวนี้คือต้นทุนประเภทใด

    1. ต้นทุนดำเนินการ
    2. ต้นทุนทางสังคม
    3. ต้นทุนสารสนเทศ
    4. ต้นทุนค่าเสียโอกาส
  • ต้นทุนดำเนินการ
  • ต้นทุนทางสังคม
  • ต้นทุนสารสนเทศ
  • ต้นทุนค่าเสียโอกาส
  • ข้อ 2

    45. ในทางทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ ถ้าเสื้อเชิ้ตเป็นสินค้าปกติ การที่ นาย ก. ซื้อเสื้อเชิ้ตเพิ่มมากขึ้นกว่าที่เคยซื้อในรอบ 1 ปี อาจเกิดจากสาเหตุใด

    1. ราคาเสื้อเชิ้ตเพิ่มสูงขึ้น
    2. รายได้ของนาย ก. ลดต่ำลง
    3. รสนิยมของนาย ก. เปลี่ยนไปใช้เสื้อเชิ้ตมากขึ้น
    4. ราคาเสื้อเชิ้ตและรายได้ของนาย ก. เพิ่มสูงขึ้น
  • ราคาเสื้อเชิ้ตเพิ่มสูงขึ้น
  • รายได้ของนาย ก. ลดต่ำลง
  • รสนิยมของนาย ก. เปลี่ยนไปใช้เสื้อเชิ้ตมากขึ้น
  • ราคาเสื้อเชิ้ตและรายได้ของนาย ก. เพิ่มสูงขึ้น
  • ข้อ 3

    46. ปัจจัยใดไม่มีผลกระทบโดยตรงต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP)

    1. การบริโภคของครัวเรือน
    2. การชำระหนี้ต่างประเทศ
    3. การลงทุนของหน่วยธุรกิจ
    4. การใช้จ่ายในการซื้อสินค้าและบริการของรัฐบาล
  • การบริโภคของครัวเรือน
  • การชำระหนี้ต่างประเทศ
  • การลงทุนของหน่วยธุรกิจ
  • การใช้จ่ายในการซื้อสินค้าและบริการของรัฐบาล
  • ข้อ 2

    47. อัตราเงินเฟ้อและอัตราการว่างงานมักจะมีความสัมพันธ์กันในลักษณะใด

    1. เปลี่ยนแปลงใน X ส่วนคงที่
    2. เปลี่ยนแปลงใน X ส่วนต่างกัน
    3. เปลี่ยนแปลงในทิศทางเดียวกัน
    4. เปลี่ยนแปลงในทิศทางตรงกันข้ามกัน
  • เปลี่ยนแปลงใน X ส่วนคงที่
  • เปลี่ยนแปลงใน X ส่วนต่างกัน
  • เปลี่ยนแปลงในทิศทางเดียวกัน
  • เปลี่ยนแปลงในทิศทางตรงกันข้ามกัน
  • ข้อ 4

    48. ถ้าอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศเปลี่ยนแปลงจาก 40 บาท ต่อ 1 ดอลล่าร์สหรัฐ เป็น 38 บาท ต่อ 1 ดอลล่าร์สหรัฐ

    ประเทศไทยมีแนวโน้มที่จะเผชิญกับสถานการณ์ในข้อใด

    1. มูลค่าจากสินค้าส่งออกเพิ่มมากขึ้น
    2. ระดับราคาสินค้าในประเทศเพิ่มขึ้น
    3. การลงทุนจากสหรัฐอเมริกาเพิ่มขึ้น
    4. นักท่องเที่ยวอเมริกันมาท่องเที่ยวในประเทศไทยลดลง
  • มูลค่าจากสินค้าส่งออกเพิ่มมากขึ้น
  • ระดับราคาสินค้าในประเทศเพิ่มขึ้น
  • การลงทุนจากสหรัฐอเมริกาเพิ่มขึ้น
  • นักท่องเที่ยวอเมริกันมาท่องเที่ยวในประเทศไทยลดลง
  • ข้อ 4

    49. ข้อใดคือผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในลำดับแรกจากการนำนโยบายกองทุนหมู่บ้านมาใช้ในประเทศไทย

    1. มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศเพิ่มขึ้น
    2. มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในภูมิภาคเพิ่มขึ้น
    3. มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในจังหวัดเพิ่มขึ้น
    4. มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในตำบลเพิ่มขึ้น
  • มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศเพิ่มขึ้น
  • มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในภูมิภาคเพิ่มขึ้น
  • มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในจังหวัดเพิ่มขึ้น
  • มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในตำบลเพิ่มขึ้น
  • ข้อ 3

    50. อุตสาหกรรมประเภทใดที่ไม่มีข้อจำกัดมากนัก และสามารถส่งเสริมให้ดำเนินการได้ในทุกภูมิภาคของประเทศไทย

    1. สิ่งทอ
    2. อัญมณี
    3. การท่องเที่ยว
    4. เครื่องปั้นดินเผา
  • สิ่งทอ
  • อัญมณี
  • การท่องเที่ยว
  • เครื่องปั้นดินเผา
  • ข้อ 3

    51. การดำเนินการอะไรในข้อต่อไปนี้ที่แสดงถึงจุดอ่อนในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทยในระยะเวลาที่ผ่านมา

    1. การมุ่งเน้นการกระจายรายได้
    2. การมุ่งเน้นเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
    3. การมุ่งเน้นความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
    4. การมุ่งเน้นความเสมอภาคทางเศรษฐกิจ
  • การมุ่งเน้นการกระจายรายได้
  • การมุ่งเน้นเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
  • การมุ่งเน้นความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
  • การมุ่งเน้นความเสมอภาคทางเศรษฐกิจ
  • ข้อ 3

    52. เพราะเหตุใดการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจโลกจึงส่งผลกระบทบต่อเศรษฐกิจของประเทศไทย

    1. ประเทศไทยมีหนี้ต่างประเทศสูง
    2. ประเทศไทยมีระบบเศรษฐกิจแบบเปิด
    3. ประเทศไทยมีการสนับสนุนการลงทุนในต่างประเทศ
    4. ประเทศไทยมีการอนุญาตให้ชาวต่างประเทศเข้ามาลงทุนในประเทศ

    ข้อ 2

    53. การดำเนินการของรัฐบาลข้อใดที่สามารถก่อให้เกิดการกระจายรายได้อย่างเป็นธรรมได้ดีที่สุด

    1. การประกันราคาพืชผลทางการเกษตร
    2. การทำให้รายได้ต่อหัวของประชากรสูงขึ้น
    3. การจัดเก็บภาษีอากรและการใช้จ่ายอย่างเหมาะสม
    4. การเปิดเสรีทางการค้าและการรักษาระดับราคาสินค้า
  • การประกันราคาพืชผลทางการเกษตร
  • การทำให้รายได้ต่อหัวของประชากรสูงขึ้น
  • การจัดเก็บภาษีอากรและการใช้จ่ายอย่างเหมาะสม
  • การเปิดเสรีทางการค้าและการรักษาระดับราคาสินค้า
  • ข้อ 3

    54. ปัญหาที่สำคัญที่สุดของเกษตรกรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยคือข้อใด

    1. ระดับรายได้ต่ำ
    2. การขาดที่ดินทำกิน
    3. การขาดแคลนน้ำในการเพาะปลูก
    4. การขาดเทคโนโลยีการผลิตใหม่ ๆ
  • ระดับรายได้ต่ำ
  • การขาดที่ดินทำกิน
  • การขาดแคลนน้ำในการเพาะปลูก
  • การขาดเทคโนโลยีการผลิตใหม่ ๆ
  • ข้อ 3

    55. ทาสในข้อใดที่ไม่อาจไถ่ถอนตนเองให้เป็นอิสระได้

    1. นางสีถูกพ่อนำมาขายใช้หนี้พนันแก่นายอากรเส็ง
    2. นายหม่องถูกจับเป็นเชลยศึกคราวสงครามเก้าทัพ
    3. นายยิ้มขายตนเองแก่ขุนช้างตอนนาล่ม
    4. หลวงวิเศษมอบนางขำให้แก่ธิดาของตนเมื่อออกเรือน
  • นางสีถูกพ่อนำมาขายใช้หนี้พนันแก่นายอากรเส็ง
  • นายหม่องถูกจับเป็นเชลยศึกคราวสงครามเก้าทัพ
  • นายยิ้มขายตนเองแก่ขุนช้างตอนนาล่ม
  • หลวงวิเศษมอบนางขำให้แก่ธิดาของตนเมื่อออกเรือน
  • ข้อ 2

    56. ข้อใดไม่ตรงกับพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวตามพระราชดำรัสที่ว่า
    “เราไม่ได้มาเรียนเป็นฝรั่ง เราเรียนเพื่อจะได้เป็นคนไทยที่มีความรู้เสมอด้วยฝรั่ง”

    1. ต้องการพัฒนาประเทศให้สามารถต่อต้านจักรวรรดินิยม
    2. ต้องการพัฒนาประชาชนให้ไปศึกษาต่อในต่างประเทศ
    3. ต้องการพัฒนาประชาชนให้มีความรู้เท่าเทียมกับชาวตะวันตก
    4. ต้องการพัฒนาประชาชนให้สามารถนำความรู้มาพัฒนาประเทศ
  • ต้องการพัฒนาประเทศให้สามารถต่อต้านจักรวรรดินิยม
  • ต้องการพัฒนาประชาชนให้ไปศึกษาต่อในต่างประเทศ
  • ต้องการพัฒนาประชาชนให้มีความรู้เท่าเทียมกับชาวตะวันตก
  • ต้องการพัฒนาประชาชนให้สามารถนำความรู้มาพัฒนาประเทศ
  • ข้อ 2

    57. ข้อใดเป็นวิธีการเก็บภาษีในระบบเจ้าภาษีนายอากรในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว

    1. การจัดเก็บภาษีโดยการชักส่วนสินค้า
    2. การเก็บภาษีเป็นสิ่งของแทนเงิน
    3. การให้เอกชนมีสิทธิในการเก็บภาษีแทนรัฐ
    4. การตั้งหน่วยงานกลางเพื่อเก็บภาษีอย่างเป็นระบบ
  • การจัดเก็บภาษีโดยการชักส่วนสินค้า
  • การเก็บภาษีเป็นสิ่งของแทนเงิน
  • การให้เอกชนมีสิทธิในการเก็บภาษีแทนรัฐ
  • การตั้งหน่วยงานกลางเพื่อเก็บภาษีอย่างเป็นระบบ
  • ข้อ 3

    58. ข้อใดเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดวิกฤตเศรษฐกิจในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
    จนนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงการปกครองใน พ.ศ. 2475

    1. การลงทุนจำนวนมากในการพัฒนาเส้นทางคมนาคม
    2. ผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลก
    3. ภัยธรรมชาติคุกคามผลผลิตทางด้านการเกษตร
    4. รายจ่ายในราชสำนักเพิ่มสูงตั้งแต่รัชกาลก่อน

    1. การลงทุนจำนวนมากในการพัฒนาเส้นทางคมนาคม
    2. ผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลก
    3. ภัยธรรมชาติคุกคามผลผลิตทางด้านการเกษตร
    4. รายจ่ายในราชสำนักเพิ่มสูงตั้งแต่รัชกาลก่อน

    ข้อ 2

    59. องค์กรใดที่รัฐธรรมนูญกำหนดให้ทำหน้าที่ถวายคำปรึกษาและความเห็นต่อพระมหากษัตริย์

    1. คณะอภิรัฐมนตรีสภา
    2. คณะรัฐมนตรีสภา
    3. คณะองคมนตรี
    4. สภากรรมการองคมนตรี
  • คณะอภิรัฐมนตรีสภา
  • คณะรัฐมนตรีสภา
  • คณะองคมนตรี
  • สภากรรมการองคมนตรี
  • ข้อ 3

    60. เหตุการณ์ข้อใดที่ไม่เกี่ยวข้องกับความคิดที่นำไปสู่การปกครองระบอบประชาธิปไตยของไทย

    1. การปรับปรุงประเทศให้ทันสมัยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
    2. คำกราบบังคมทูลของเจ้านายและขุนนาง ที่ขอให้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเปลี่ยนแปลงการปกครอง
    3. การตั้งดุสิตธานีในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
    4. การส่งสามัญชนไปศึกษาต่อยังต่างประเทศ
  • การปรับปรุงประเทศให้ทันสมัยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
  • คำกราบบังคมทูลของเจ้านายและขุนนาง ที่ขอให้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเปลี่ยนแปลงการปกครอง
  • การตั้งดุสิตธานีในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
  • การส่งสามัญชนไปศึกษาต่อยังต่างประเทศ
  • ข้อ1

    61. ข้อใดเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้การปกครองระบอบโชกุนของญี่ปุ่นสิ้นสุดลง

    1. การใช้นโยบายเปิดประเทศ
    2. การขยายตัวของการค้าระหว่างประเทศ
    3. การใช้นโยบายรวมอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลาง
    4. ความแตกต่างและความขัดแย้งของชนชั้นต่าง ๆ ในสังคม
  • การใช้นโยบายเปิดประเทศ
  • การขยายตัวของการค้าระหว่างประเทศ
  • การใช้นโยบายรวมอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลาง
  • ความแตกต่างและความขัดแย้งของชนชั้นต่าง ๆ ในสังคม
  • ข้อ 1

    62. อารยธรรมอินเดียมีอิทธิพลต่ออารยธรรมของอาณาจักรโบราณในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มากที่สุดในข้อใด

    1. การปกครองและศาสนา
    2. การปกครองและเศรษฐกิจ
    3. ศาสนาและการแบ่งชั้นวรรณะ
    4. อักษรศาสตร์และการแบ่งชั้นวรรณะ
  • การปกครองและศาสนา
  • การปกครองและเศรษฐกิจ
  • ศาสนาและการแบ่งชั้นวรรณะ
  • อักษรศาสตร์และการแบ่งชั้นวรรณะ
  • ข้อ 1

    63. การปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะที่สองต่างจากระยะแรกในประเด็นใด

    1. มีการใช้ถ่านหินและพลังงานลม
    2. มีการใช้พลังงานไอน้ำแทนพลังงานน้ำ
    3. มีพัฒนาการทางเทคโนโลยีและวิทยาการต่าง ๆ
    4. มีการใช้เครื่องจักรกลที่ทันสมัยแทนเครื่องมือแบบเก่า
  • มีการใช้ถ่านหินและพลังงานลม
  • มีการใช้พลังงานไอน้ำแทนพลังงานน้ำ
  • มีพัฒนาการทางเทคโนโลยีและวิทยาการต่าง ๆ
  • มีการใช้เครื่องจักรกลที่ทันสมัยแทนเครื่องมือแบบเก่า
  • ข้อ 3

    64. ข้อใดเป็นสภาวะการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเมื่อ เจมส์ วัตต์ ประดิษฐ์เครื่องจักรไอน้ำ

    1. ประชาชนทุกคนมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น
    2. โรงงานทอผ้าไม่จำเป็นต้องตั้งอยู่ริมแม่น้ำ
    3. เมืองต่าง ๆ ขยายตัวพร้อม ๆ กับจำนวนเครื่องจักรไอน้ำ
    4. เกษตรกรใช้เครื่องจักรไอน้ำในการผลิตแทนวิธีการแบบดั้งเดิม
  • ประชาชนทุกคนมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น
  • โรงงานทอผ้าไม่จำเป็นต้องตั้งอยู่ริมแม่น้ำ
  • เมืองต่าง ๆ ขยายตัวพร้อม ๆ กับจำนวนเครื่องจักรไอน้ำ
  • เกษตรกรใช้เครื่องจักรไอน้ำในการผลิตแทนวิธีการแบบดั้งเดิม
  • ข้อ 3

    65. การปฏิวัติอันรุ่งโรจน์ (Glorious Revolution) ของอังกฤษเกิดขึ้นเพราะเหตุใด

    1. ได้รับอิทธิพลจากการปฏิวัติของชาวอเมริกัน
    2. เพื่อลดอิทธิพลทางการเมืองการปกครองของพวกขุนนาง
    3. เพื่อฟื้นฟูการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
    4. เพื่อให้อังกฤษมีการปกครองที่เป็นประชาธิปไตยมากขึ้น
  • ได้รับอิทธิพลจากการปฏิวัติของชาวอเมริกัน
  • เพื่อลดอิทธิพลทางการเมืองการปกครองของพวกขุนนาง
  • เพื่อฟื้นฟูการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
  • เพื่อให้อังกฤษมีการปกครองที่เป็นประชาธิปไตยมากขึ้น
  • ข้อ 4

    66. ข้อใดแสดงถึงอุดมการณ์การปกครองแบบประชาธิปไตยของโลกตะวันตก

    1. รัฐบาลเป็นตัวแทนกลุ่มผู้มีอำนาจทางเศรษฐกิจ
    2. รัฐบาลเป็นเจ้าของอำนาจการปกครองและประชาชนต้องปฏิบัติตาม
    3. ประชาชนต้องยอมสละซึ่งชีวิตและทรัพย์สินเพื่อค้ำจุนอำนาจของรัฐบาล
    4. ประชาชนเป็นเจ้าของอำนาจการปกครอง แต่มอบให้รัฐบาลดำเนินการแทนแบบมีเงื่อนไข
  • รัฐบาลเป็นตัวแทนกลุ่มผู้มีอำนาจทางเศรษฐกิจ
  • รัฐบาลเป็นเจ้าของอำนาจการปกครองและประชาชนต้องปฏิบัติตาม
  • ประชาชนต้องยอมสละซึ่งชีวิตและทรัพย์สินเพื่อค้ำจุนอำนาจของรัฐบาล
  • ประชาชนเป็นเจ้าของอำนาจการปกครอง แต่มอบให้รัฐบาลดำเนินการแทนแบบมีเงื่อนไข
  • ข้อ 4

    67. ข้อใดคือจุดเริ่มต้นของสงครามเย็น

    1. การต่อต้านการขยายตัวของลัทธิทุนนิยม
    2. การแข่งขันเพื่อสร้างอาวุธนิวเคลียร์ของชาติมหาอำนาจ
    3. การแก่งแย่งผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจของชาติมหาอำนาจ
    4. การต่อสู้ด้านอุดมการณ์ระหว่างกลุ่มประเทศเสรีประชาธิปไตยและคอมมิวนิสต์
  • การต่อต้านการขยายตัวของลัทธิทุนนิยม
  • การแข่งขันเพื่อสร้างอาวุธนิวเคลียร์ของชาติมหาอำนาจ
  • การแก่งแย่งผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจของชาติมหาอำนาจ
  • การต่อสู้ด้านอุดมการณ์ระหว่างกลุ่มประเทศเสรีประชาธิปไตยและคอมมิวนิสต์
  • ข้อ 4

    68. เหตุการณ์ใดไม่ใช่ความขัดแย้งระหว่างประเทศอันเกิดจากความแตกต่างทางด้านสังคมวัฒนธรรม

    1. สงครามอ่าวเปอร์เซีย
    2. สงครามระหว่างยิว - ปาเลสไตน์
    3. วิกฤติการณ์ในแคว้นแคชเมียร์
    4. การก่อการร้ายของพวกทมิฬในศรีลังกา
  • สงครามอ่าวเปอร์เซีย
  • สงครามระหว่างยิว - ปาเลสไตน์
  • วิกฤติการณ์ในแคว้นแคชเมียร์
  • การก่อการร้ายของพวกทมิฬในศรีลังกา
  • ข้อ 1

    69. ข้อใดเป็นพัฒนาการทางเทคโนโลยีที่มีรากฐานมาจากผลงานประดิษฐ์ของเกรแฮม เบลล์

    1. เครื่องถ่ายเอกสาร
    2. เครื่องรับโทรศัพท์
    3. เครื่องคิดเลข
    4. เครื่องคอมพิวเตอร์
  • เครื่องถ่ายเอกสาร
  • เครื่องรับโทรศัพท์
  • เครื่องคิดเลข
  • เครื่องคอมพิวเตอร์
  • ข้อ 2

    70. ข้อใดไม่ใช่วัตถุประสงค์หลักของการจัดทำเขตการค้าเสรี

    1. กีดกันการค้ากับประเทศนอกกลุ่ม
    2. 2) ดึงดูดการลงทุนจากประเทศภายนอกกลุ่ม
    3. ลดอุปสรรคทางการค้าระหว่างประเทศคู่สัญญา
    4. 4) พัฒนาความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจในประเทศ
  • กีดกันการค้ากับประเทศนอกกลุ่ม
  • 2) ดึงดูดการลงทุนจากประเทศภายนอกกลุ่ม
  • ลดอุปสรรคทางการค้าระหว่างประเทศคู่สัญญา
  • 4) พัฒนาความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจในประเทศ
  • ข้อ 1

    71. เทคโนโลยีทางการเกษตรที่ส่งผลกระทบต่อการเกิดปัญหามลพิษในดินมากที่สุดคือข้อใด

    1. เกษตรอินทรีย์
    2. เกษตรอนินทรีย์
    3. เกษตรทฤษฎีใหม่
    4. เกษตรผสมผสาน
  • เกษตรอินทรีย์
  • เกษตรอนินทรีย์
  • เกษตรทฤษฎีใหม่
  • เกษตรผสมผสาน
  • ข้อ 2

    72. ข้อใดไม่ใช่แหล่งพลังงานทดแทนที่รัฐบาลไทยส่งเสริมให้ใช้ในการแก้ไขปัญหาวิกฤติน้ำมัน

    1. ถ่านหิน
    2. ก๊าซชีวภาพ
    3. ก๊าซโซฮอลล์
    4. พลังงานแสงอาทิตย์
  • ถ่านหิน
  • ก๊าซชีวภาพ
  • ก๊าซโซฮอลล์
  • พลังงานแสงอาทิตย์
  • ข้อ 1

    73. ข้อใดคือสาเหตุสำคัญที่สุดที่ทำให้การพัฒนาเทคโนโลยีของประเทศไทยประสบปัญหา

    1. เปิดโอกาสให้เทคโนโลยีของต่างชาติเข้ามาอย่างเสรี
    2. ขาดการถ่ายทอดองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    3. ขาดวัฒนธรรมวิทยาศาสตร์ที่ใช้การสังเกต ศึกษา และ ทดลอง
    4. มีการนำเทคโนโลยีของต่างชาติจำนวนมากมาใช้ในภาคอุตสาหกรรม
  • เปิดโอกาสให้เทคโนโลยีของต่างชาติเข้ามาอย่างเสรี
  • ขาดการถ่ายทอดองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
  • ขาดวัฒนธรรมวิทยาศาสตร์ที่ใช้การสังเกต ศึกษา และ ทดลอง
  • มีการนำเทคโนโลยีของต่างชาติจำนวนมากมาใช้ในภาคอุตสาหกรรม
  • ข้อ 3

    74. มาตรการแก้ไขความขัดแย้งระหว่างประเทศข้อใดที่มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เกิดผลทางด้านจิตวิทยาแก่คู่กรณี

    1. การคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจ
    2. การทำสงครามแบบเบ็ดเสร็จ
    3. การใช้อนุญาโตตุลาการ
    4. การเจรจาต่อรองระหว่างผู้นำหรือตัวแทน
  • การคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจ
  • การทำสงครามแบบเบ็ดเสร็จ
  • การใช้อนุญาโตตุลาการ
  • การเจรจาต่อรองระหว่างผู้นำหรือตัวแทน
  • ข้อ 1

    75. ข้อใดกล่าวถึงองค์การสันนิบาตชาติไม่ถูกต้อง

    1. ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศเป็นองค์กรหนึ่งในสันนิบาตชาติ
    2. ประธานาธิบดีวูดโรว์ วิลสัน เป็นผู้ริเริ่มก่อตั้งองค์การสันนิบาตชาติ
    3. ประเทศมหาอำนาจทุกประเทศในขณะนั้นเป็นสมาชิกขององค์การสันนิบาตชาติ
    4. องค์การสันนิบาตชาติเกิดขึ้นจากคำแถลงการณ์ 14 ประการ ในการประชุมสันติภาพที่แวร์ซายส์
  • ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศเป็นองค์กรหนึ่งในสันนิบาตชาติ
  • ประธานาธิบดีวูดโรว์ วิลสัน เป็นผู้ริเริ่มก่อตั้งองค์การสันนิบาตชาติ
  • ประเทศมหาอำนาจทุกประเทศในขณะนั้นเป็นสมาชิกขององค์การสันนิบาตชาติ
  • องค์การสันนิบาตชาติเกิดขึ้นจากคำแถลงการณ์ 14 ประการ ในการประชุมสันติภาพที่แวร์ซายส์
  • ข้อ 3

    76. ปฏิบัติการใดที่ถือว่าเกินขอบเขตของปฏิบัติการรักษาสันติภาพขององค์การสหประชาชาติ

    1. การส่งกองกำลังเข้าไปดูแลการถอนทหารของคู่กรณี
    2. การส่งกองกำลังเข้าไปร่วมต่อสู้กับกลุ่มกบฏในประเทศสมาชิก
    3. การส่งกองกำลังรักษาการเข้าไปในดินแดนพิพาทหลังทำข้อตกลงหยุดยิง
    4. การส่งเครื่องอุปโภคบริโภคไปช่วยเหลือผู้ประสบภัยสงคราม
  • การส่งกองกำลังเข้าไปดูแลการถอนทหารของคู่กรณี
  • การส่งกองกำลังเข้าไปร่วมต่อสู้กับกลุ่มกบฏในประเทศสมาชิก
  • การส่งกองกำลังรักษาการเข้าไปในดินแดนพิพาทหลังทำข้อตกลงหยุดยิง
  • การส่งเครื่องอุปโภคบริโภคไปช่วยเหลือผู้ประสบภัยสงคราม
  • ข้อ 2

    77. ข้อใดไม่ใช่แนวทางป้องกันปัญหาการยกพวกตีกันของวัยรุ่น

    1. เพิ่มสถานฟื้นฟูจิตใจเยาวชนผู้กระทำความผิด
    2. ลดการเสนอเรื่องที่ยั่วยุการใช้ความรุนแรงทางสื่อมวลชน
    3. สนับสนุนให้เยาวชนใช้เวลาว่างในการเล่นกีฬาและดนตรี
    4. จัดให้มีการอบรมสั่งสอนและฝึกปฏิบัติสมาธิในโรงเรียน
  • เพิ่มสถานฟื้นฟูจิตใจเยาวชนผู้กระทำความผิด
  • ลดการเสนอเรื่องที่ยั่วยุการใช้ความรุนแรงทางสื่อมวลชน
  • สนับสนุนให้เยาวชนใช้เวลาว่างในการเล่นกีฬาและดนตรี
  • จัดให้มีการอบรมสั่งสอนและฝึกปฏิบัติสมาธิในโรงเรียน
  • ข้อ 1

    78. การเปลี่ยนแปลงของสังคมเมืองในข้อใดที่ไม่กระทบต่อค่านิยมของประชาชน

    1. วิถีชีวิตและฐานะทางเศรษฐกิจของประชาชนมีความหลากหลาย
    2. การกำหนดพื้นที่ (zoning) ในการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อความเป็นระเบียบ
    3. การถ่ายทอดภูมิปัญญาจากคนรุ่นเก่าสู่คนรุ่นใหม่ลดน้อยลง
    4. ขนาดและความสัมพันธ์ของครอบครัวเปลี่ยนจากครอบครัวขยายเป็นครอบครัวเดี่ยว
  • วิถีชีวิตและฐานะทางเศรษฐกิจของประชาชนมีความหลากหลาย
  • การกำหนดพื้นที่ (zoning) ในการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อความเป็นระเบียบ
  • การถ่ายทอดภูมิปัญญาจากคนรุ่นเก่าสู่คนรุ่นใหม่ลดน้อยลง
  • ขนาดและความสัมพันธ์ของครอบครัวเปลี่ยนจากครอบครัวขยายเป็นครอบครัวเดี่ยว
  • ข้อ 2

    79. การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ นอกจากจะทำให้มีสุขภาพดีแล้ว ยังส่งผลดีต่อคุณภาพชีวิตของบุคคลอย่างไร

    1. สร้างวินัยให้ตนเอง
    2. สร้างนิสัยรู้แพ้รู้ชนะ
    3. สร้างการทำงานเป็นกลุ่ม
    4. สร้างความทันสมัยให้ตนเอง
  • สร้างวินัยให้ตนเอง
  • สร้างนิสัยรู้แพ้รู้ชนะ
  • สร้างการทำงานเป็นกลุ่ม
  • สร้างความทันสมัยให้ตนเอง
  • ข้อ 1

    80. ข้อมูลในข้อใดที่ชี้ว่าประเทศไทยยังต้องพัฒนาคุณภาพชีวิตด้านสุขอนามัย

    1. อัตราการตายของทารกในภาคกลางต่ำกว่าร้อยละ 20
    2. ประชากรในภาคใต้ร้อยละ 50 มีอายุยืนยาวถึง 90 ปีขึ้นไป
    3. เด็กในภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยละ 50 ป่วยเป็นโรคพยาธิต่าง ๆ
    4. ภาวะทุพโภชนาการระหว่างอายุ 0 – 14 ปี ของภาคตะวันออกต่ำกว่าร้อยละ 1
  • อัตราการตายของทารกในภาคกลางต่ำกว่าร้อยละ 20
  • ประชากรในภาคใต้ร้อยละ 50 มีอายุยืนยาวถึง 90 ปีขึ้นไป
  • เด็กในภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยละ 50 ป่วยเป็นโรคพยาธิต่าง ๆ
  • ภาวะทุพโภชนาการระหว่างอายุ 0 – 14 ปี ของภาคตะวันออกต่ำกว่าร้อยละ 1
  • ข้อ 3

     

    PS.  วันเวลาเปลี่ยนคนเปลี่ยน ใจม๊าย...........เปลี่ยน

    แสดงความคิดเห็น

    >

    6 ความคิดเห็น

    lin 21 ต.ค. 51 เวลา 13:12 น. 2

    ขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงนะคับที่นำความรู้มาเผยแพร่ อยากให้มีแบบนี้อีก

    0