Dek-D.com ใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสบการณ์ของ
ผู้ใช้ให้ดียิ่งขึ้น เรียนรู้เพิ่มเติมที่นี่
ยอมรับ

วิธีคิดสูตรพลังงานศักย์

ตั้งกระทู้ใหม่
ตั้งกระทู้ใหม่
เราเชื่อว่ามีหลายคนคิดไม่เป็นวันนี้เราจะมาสอนนะ
Ep=mgh m= มวล g= ความเร็ว h= ความสูง [เอามาคูณกัน]

ตัวอย่าง ก้อนหินมีมวล 80 มวล อยู่บนตึกสูง 100 เมตร ความเร็วในการตก 40
จากสูตร Ep=mgh
                                  = 80x40x100
                                  =320,000 J
ตกอยู่ในระดับ 50 เมตร
จากสูตร Ep=mgh
                                   =80x40x50
                                   =160,000J
ตกถึงพื้น
จากสูตร Ep=mgh
                                  =80x40x0
                                   =0J
ถ้าผิดพลาดประการใดต้องขออภัยในมา ณ ที่นี้ด้วย

แสดงความคิดเห็น

>

1 ความคิดเห็น

Kkk 26 เม.ย. 64 เวลา 19:48 น. 1

Epg = พลังงานศักย์โน้มถ่วง มีหน่วยเป็น N•m หรือ J *ไม่ขึ้นกับความเร็ว*

m = มวล มีหน่วยเป็นกิโลกรัม

g = ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วง เป็นความเร่ง (a) *ไม่ใช่ความเร็ว* มีค่า 9.81 เมตรต่อวินาทีกำลังสอง หรืออาจประมาณโดยหยาบเป็น 10 ได้

h = ความสูงในแนวดิ่งที่วัดจากระดับอ้างอิง (ระดับอ้างอิงคือระดับความสูงที่เรากำหนดให้มีค่าพลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็นศูนย์ โดยมากมักใช้พื้นเป็นระดับอ้างอิง นั่นคือให้ที่พื้นมีพลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็นศูนย์ แต่ในบางกรณีอาจสะดวกกว่าที่จะกำหนดระดับอ้างอิงที่ระดับอื่น) มีหน่วยเป็นเมตร

——————————

วัตถุมีมวล 80 กิโลกรัม (กำหนดให้ g = 10 m/s2)

- ณ ระดับความสูง 100 เมตร จากระดับอ้างอิง : Epg = 80*10*100 = 80,000 J

- ณ ระดับความสูง 50 เมตร จากระดับอ้างอิง : Epg = 80*10*50 = 40,000 J

- ณ ระดับความสูง 0 เมตร จากระดับอ้างอิง : Epg = 80*10*0 = 0 J

ไม่ว่าที่ระดับความสูงนั้นวัตถุจะมีความเร็วเป็นเท่าไหร่ย่อมไม่ส่งผลต่อพลังงานศักย์โน้มถ่วง


0