Dek-D.com ใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสบการณ์ของ
ผู้ใช้ให้ดียิ่งขึ้น เรียนรู้เพิ่มเติมที่นี่
ยอมรับ

นก ปรับตัวบนพื้นที่สูงๆ ยังไงกันนะ

ตั้งกระทู้ใหม่
ตั้งกระทู้ใหม่
 

Flying on Fumes:
How Birds Meet Their Oxygen Demands at High Altitude


โดย Pat Leonard

**เนื้อหาหลักมาจากบทความคนนี้นะครับ อันไหนที่ผิดๆ เกรียนๆ อันนั้นผมเสริมขึ้นมาเอง 55555**
_________________________________________________

 

โลกร้อน !!
เราก็หนีร้อนไปตากแอร์สิ !! -w-




 
ไม่ใช่มีแต่คนเราเท่านั้นนะ ที่ทำได้
การปรับตัวทางพฤติกรรม สามารถพบเจอได้ในสัตว์หลายชนิดเลยล่ะ




เขาว่ากันว่า... (เขาคือใครก็ไม่รู้นะ)
ถ้าโลกร้อนขึ้น สัตว์บางชนิด จะอพยพไปอยู่ในที่สูงๆมากขึ้น ......ก็เพราะมันเย็นดีน่ะสิ
(ว่าแต่เอ้ ทำไมที่สูงๆอากาศมันจึงเย็นนะ?)

 
นั่นอาจเป็นเพราะ
อากาศข้างบนมันเบาบางไงล่ะ
อากาศที่เบาบาง คือมีโมเลกุลของก๊าซอยู่น้อย
มันจึงมีตัวกักเก็บ (ดูดซับ) ความร้อนน้อยกว่าอากาศข้างล่าง ... (และปัจจัยอื่นๆ ด้วย)





 
และด้วยความที่อากาศเบาบางนี่เอง
สิ่งมีชีวิตที่ใช้พลังงานมากๆ ต้องประสบปัญหาหนักแน่ๆ เพราะออกซิเจนมีน้อย


นก! ก็เช่นกัน




นกเวลาบินนี่ใช้พลังงานเยอะนะ รู้มั้ย...
(ผมไม่รู้ เพราะผมไม่นก 55)
 



ดังนั้น
นกที่อาศัย หรืออพยพไปในที่สูงๆ
จึงต้องมีวิธีการปรับตัว ต่อสู้ ดิ้นรน
เหมือนๆ กับที่เราดิ้นรนที่จะไปตากแอร์ในห้างนั่นแหละ 555
(แต่นกมันจำเป็นแงะ)


 

หนึ่งในวิธีคลาสสิกเลย ถามเด็ก ม.ต้นต้องตอบได้


นั่นคือ
.
.
.
.
.
.





คะ
.
.
.









คือ..อ ..ย์
.
.


.

.










เพิ่มปริมาณเม็ดเลือดแดงไง
เหมือนในคน เลย


 
ใช่ล้าววว
ถ้าปริมาณออกซิเจน supply ไม่เพียงพอ
เราก็ต้องเพิ่มประสิทธิภาพให้มันเพียงพอสิ
.
.
พวกกล้ามเนื้อ ตับ ไต ไส้ พุง
มันก็ยังต้องการออกซิเจนปริมาณเท่าเดิม
.
แม้ข้างน้อยจะมีน้อย แต่ (ถ้าเป็นไปได้) มันก็ยังอยากได้เท่าเดิมนะ
 


กลยุทธนี้
สามารถพบได้ทั่วไป ทั้งในคนเรา
หรือแม้กระทั่งในนก ที่มีการอพยพ ขึ้น-ลง ตามลำดับความสูง น่ะ



 
แต่ รู้มั้ย...มันอาจจะไม่เหมาะกับนกที่อยู่บนที่สูงนานๆ หรอกนะ!!
.
.
อ้าว ทำไมล่ะ??





ทุกอย่างมันมักจะมีประโยชน์และโทษ ควบคู่กับเสมอ
.
.
การเพิ่มจำนวนเม็ดเลือดแดง (เพื่อเพิ่มความสามารถลำเลียงออกซิเจน)
มันจะเพิ่มความเสี่ยงในการจับตัวกันของเม็ดเลือด และอุดตัน

อีกทั้ง
ปริมาณออกซิเจนที่ลำเลียงเข้าสู่อวัยวะต่างๆ อาจจะน้อยลงก็ได้
เพราะเลือดจะหนืดขึ้น


ถ้ากรณีในคน เราอาจเปรียบได้กับอาการ 
chronic mountain sickness



กลยุทธนี้ จึงมีประสิทธภาพในช่วงเวลาที่จำกัดเท่านั้น



 
แล้วนกในที่สูงๆ ปรับตัวยังไงล่ะ...

คิดว่ากระทู้นี้จะมานำเสนอใช่มะ...
..
..
..
ไม่จ้า

เราสนับสนุนให้นักเรียนไทยหาความรู้ด้วยตัวเอง

สามารถติดตามได้จาก
https://www.allaboutbirds.org/flying-on-fumes-how-birds-meet-their-oxygen-demands-at-high-altitude/?utm_source=Cornell%20Lab%20eNews&utm_campaign=47a136b487-Cornell%20Lab%20eNews%203_20_2017&utm_medium=email&utm_term=0_47588b5758-47a136b487-305883993

 
สำหรับตอนนี้


จขกท

มีความเต็มใจอย่างยิ่ง

ที่

จะ

บอก

ว่า










บาย

 

แสดงความคิดเห็น