Dek-D.com ใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสบการณ์ของ
ผู้ใช้ให้ดียิ่งขึ้น เรียนรู้เพิ่มเติมที่นี่
ยอมรับ

ข้อสอบENTRANCE พ.ศ.2547

ตั้งกระทู้ใหม่
ตั้งกระทู้ใหม่
จัดคน 8 คน ซึ่งมีสมศักดิ์ สมชาย สมหญิง รวมอยู่ด้วยเข้านั่งรอบโต็ะกลมซึ่งมี 8 ที่นั่ง ความน่าจะเป็นที่สมชายได้นั่งติดกับสมหญิง และสมศักดิ์ไม่นั่งติดกับสมชายเท่ากับข้อใด

วิธีทำ
   n(S)  =  คน 8 คนนั่งเป็นวงกลมจะได้ จำนวนคนทั้งหมด-1!
                    =  8-1!  =  7!  
                    = 5040
           n(E) = ขั้นที่ 1 ให้สมชายติดกับสมหญิงและสลับที่ได้ 2 วิธี
                       ขั้นที่ 2 คิดคนทั้งหมดยกเว้นสมศักดิ์ นั่งโต็ะโดยนับ
                                   สมชายและสมศรีเป็น 1 คนจะได้ 5! วิธี
                       ขั้นที่ 3 ให้สมชายเข้านั่งโต็ะโดยไม่ติดกับสมชาย
                                   ได้ 5 วิธี
                   =  นำทั้ง 3 ขั้นคูณกัน = (2)(5!)(5) 
                   =  1200 
         p(E)   =  n(E)   =  1200  =  5    
                        n(S)        5040     21 

         เพราะฉะนั้นจะมีความน่าจะเป็น =  5         Ans
                                                            21

กรรณวัฒน์  คุณวุฒิกุล 36754 (no.9)

แสดงความคิดเห็น

>

30 ความคิดเห็น

เกรียงศักดิ์ บัณฑิตานุกูล เลขที่37 5 ก.ค. 49 เวลา 21:49 น. 1

วิธีในการเขียนจำนวนคู่ที่มีสามหลักจากตัวเลข 0,1,2,3,4,5 โดยที่หลักร้อยและหลักหน่วยเป็นตัวเลขที่แตกต่าง

และมีค่าไม่น้อยกว่า 200 มีจำนวนวิธีเท่ากับข้อใดต่อไปนี้



1. 72 2. 71

3. 60 4. 59



วิธีทำ กรณีที่ 1 หลักหน่วยได้ 1 วิธี (0)

เลือกหลักร้อยได้ 4 วิธี (2,3,4,5)

เลือกหลักสิบได้ 6 วิธี (0,1,2,3,4,5)

ดังนั้น สามารถสร้างได้ 1*4*6 = 24 วิธี

กรณีที่ 2 หลักหน่วยได้ 2 วิธี (2,4)

เลือกหลักร้อยได้ 3 วิธี (2,3,4,5 ยกเว้น เลขในหลักหน่วย)

เลือกหลักร้อยได้ 6 วิธี (0,1,2,3,4,5)

ดังนั้น สามารถสร้างได้ 2*3*6 = 36 วิธี

ดังนั้น จำนวนวิธีที่สร้างได้ทั้งหมด = 24+36 = 60 วิธี

Ans ตัวเลือกที่ 3



โดย: เกรียงศักดิ์ บัณฑิตานุกูล เลขที่37

0
บัณฑิต บัณฑิตานุกูล เลขที่38 5 ก.ค. 49 เวลา 21:48 น. 2

จัดคน 8คน ซึ่งมี สมศักดิ์ สมชาย และหญิง รวมอยู่ด้วย เข้านั่งรอบโต๊ะกลมซึ่งมี 8ที่นั่งความน่าจะเป็นที่สมชายได้นั่งติดกับสมหญิง และสมศักดิ์ไม่นั่งติดกับสมชาย เท่ากับข้อใดต่อไปนี้

1. 1/7



2.5/21



3. 11/42



4. 5/42



วิธีคิด จัดคน 8 คน = 5 คน + สมศักดิ์ สมชาย สมหญิง นั่งรอบโต๊ะกลมซึ่งมี 8 ที่นั่งอย่างสุ่ม จะได้ จำนวนวิธี

ทั้งหมด = (8 - 1) !

ในบรรดา 7! วิธี จะมี 2! 6! วิธีที่สมชายนั่งติดกับสมหญิง

และมี 2! 5! วิธีที่ สมชายนั่งติดกับสมหญิง และสมชายนั่งติดกับสมศักดิ์

ดังนั้น จะมี 2! 6! - 2! 5! วิธีที่สมชายนั่งติดกับสมหญิง และสมศักดิ์ไม่นั่งติดกับสมชาย

ดังนั้น ความน่าจะเป็นที่สมชายได้นั่งติดกับสมหญิงและสมศักดิ์ไม่นั่งติดกับสมชาย

= 2! 6! - 2! 5! /7!

= 5/21



ดังนั้น ตัวเลือก 2 ถูกต้อง Ans

0
สุวุฒิ ศรีรัตนชาญชัย ห้อง 1 เลขที่ 17(ใหม่) 29 มิ.ย. 49 เวลา 18:27 น. 3

ข้อสอบเหมือนกันแต่คิดคนล่ะวิธีครับ



กำหนดให้ a1, a2, a3, ….. เป็นลำดับเลขคณิต ถ้า a1 + a5 + a9 + a13 = 220 แล้ว a1 + a7 + a13 เท่ากับข้อใด

1. 55 2. 110 3. 135 4. 165



วิธีทำ A1 + a 5 + a 9 + a 13 = 220



A1&nbsp &nbsp = A1 +&nbsp  0 d&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp --- 1

a 5&nbsp &nbsp = A1 +&nbsp  4 d&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp  --- 2

a 9&nbsp &nbsp = A1 +&nbsp  8 d&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp  --- 3

a 13&nbsp = A1 +&nbsp 12 d&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp --- 4

a7 = A1 +&nbsp 6 d&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp ---5



1+2+3+4&nbsp  ได้&nbsp &nbsp 220&nbsp  = 4 A1&nbsp +&nbsp 24d&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp  --- 6*3

1 + 4 +5&nbsp &nbsp ได้&nbsp &nbsp &nbsp x&nbsp &nbsp &nbsp = 3 A1&nbsp +&nbsp 18d&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp  ---&nbsp 7 *4



&nbsp &nbsp &nbsp จะได้&nbsp  660&nbsp  = 12 A1 + 72d&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp  --- 8

&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp 4x&nbsp  = 12 A1 + 72d&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp  --- 9



8 - 9&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp จะได้&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp 660 = 4x

&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp x = 660 /4

&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp x = 165

0
สุวุฒิ ศรีรัตนชาญชัย ห้อง 1 เลขที่ 17(ใหม่) 29 มิ.ย. 49 เวลา 18:26 น. 4

ข้อสอบเหมือนกันแต่คิดคนล่ะวิธีครับ



กำหนดให้ a1, a2, a3, ….. เป็นลำดับเลขคณิต ถ้า a1 + a5 + a9 + a13 = 220 แล้ว a1 + a7 + a13 เท่ากับข้อใด

1. 55 2. 110 3. 135 4. 165



วิธีทำ A1 + a 5 + a 9 + a 13 = 220



A1&nbsp &nbsp = A1 +&nbsp  0 d&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp --- 1

a 5&nbsp &nbsp = A1 +&nbsp  4 d&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp  --- 2

a 9&nbsp &nbsp = A1 +&nbsp  8 d&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp  --- 3

a 13&nbsp = A1 +&nbsp 12 d&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp --- 4

a7 = A1 +&nbsp 6 d&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp ---5



1+2+3+4&nbsp  ได้&nbsp &nbsp 220&nbsp  = 4 A1&nbsp +&nbsp 24d&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp  --- 6*3

1 + 4 +5&nbsp &nbsp ได้&nbsp &nbsp &nbsp x&nbsp &nbsp &nbsp = 3 A1&nbsp +&nbsp 18d&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp  ---&nbsp 7 *4



&nbsp &nbsp &nbsp จะได้&nbsp  660&nbsp  = 12 A1 + 72d&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp  --- 8

&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp 4x&nbsp  = 12 A1 + 72d&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp  --- 9



8 - 9&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp จะได้&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp 660 = 4x

&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp x = 660 /4

&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp x = 165

0
นาย อรรณพ คงกตัญญูสกุล เลขที่ 26 27 มิ.ย. 49 เวลา 22:46 น. 5

7. กำหนดให้ f(x) = ax^2 + b และ g(x - 1) = 6x + c เมื่อ a,b,c เป็นค่าคงตัวถ้า f(x) = g(x) เมื่อ x = 1,2 และ (f + g)(1) = 8 แล้ว (f o g^-1)(16) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้

&nbsp&nbsp&nbsp 1.31/9&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp 2.61/9&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp 3.10&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp 4.20



จาก (f + g)(1) = 8 และ f(x) = g(x) เมื่อ x = 1,2

&nbsp &nbsp &nbsp f(1) + g(1) = 8

&nbsp &nbsp &nbsp 2f(1) = 8

&nbsp&nbsp&nbsp f(1) = 4 = g(1)

จาก f(x) = ax^2 + b -> f(1) = a + b = 4 .........(1)

จาก g(x - 1) = 6x +c -> g(1) = 12 + c = 4

&nbsp&nbsp&nbsp จะได้ c = -8

แทน x = 2 ; f(2) = 4a + b

&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp &nbsp  g(2) = 18 + c = 18 – 8 = 10

แต่ f(2) = g(2)

&nbsp&nbsp&nbsp จะได้&nbsp 4a + b = 10 .........(2)

แก้ (1) และ (2) ได้&nbsp a = 2 , b = 2

จาก&nbsp&nbsp&nbsp g(x - 1) = 6x+c

&nbsp&nbsp&nbsp g(x - 1) = 6x – 8

&nbsp&nbsp&nbsp x – 1 = g^-1(6x - 8)

แทน x = 4 ; x – 4 = g^-1(16)

&nbsp&nbsp&nbsp จะได้&nbsp g^-1(16) = 3

ดังนั้น (fog^-1)(16) = f(g^-1(16))

&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp &nbsp &nbsp = f(3)

&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp &nbsp &nbsp = 9a + b

&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp &nbsp &nbsp = 9(2) + 2

&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp &nbsp &nbsp = 20

คำตอบคือ 20 ตัวเลือกที่ 4

0
นาย นิธิศ องค์ธนะสิน เลขที่ 10 27 มิ.ย. 49 เวลา 22:17 น. 6

ในการเลือกประธาน รองประธาน และเหรัญญิก จากนักเรียนชาย 6คน และนักเรียนหญิง 4คน ซึ่งมีนายกำธรรวมอยุ่ด้วย ความน่าจะเป็นที่การเลือกครั้งนี้นายกำธรได้เป็นประธาน และมีนักเรียนหญิงได้รับเลือกอย่างน้อยหนึ่งคนเท่ากับข้อใดต่อไปนี้

1.13/180&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp 2.13/360&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp 3.2/45&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp 4.4/45



ในการเลือกประธาน รองประธานและเหรัญญิก จากนักเรียนชาย 10 คน (ชาย 6 คน และหญิง 4 คน)

คิดเป็นจำนวนวิธี&nbsp n(S) = 10 x 9 x 8 = 720วิธี

ต้องการความน่าจะเป็นที่นายกำธรเป็นประธาน และมีนักเรียนหญิงได้รับเลือกอย่างน้อย 1 คน

คิดได้ 2 กรณี คือ

กรณีที่1&nbsp ประธานคือ นายกำธร

&nbsp&nbsp&nbsp รองประธานคือ ผู้ชาย 1คนจาก 5คน

&nbsp&nbsp&nbsp เหรัญญิก คือ ผู้หญิง 1คนจาก 4คน

&nbsp&nbsp&nbsp จำนวนวิธี&nbsp = (1) x (5) x (4) = 20 วิธี

กรณีที่2&nbsp ประธานคือ นายกำธร

&nbsp&nbsp&nbsp รองประธานคือ ผู้หญิง

&nbsp&nbsp&nbsp เหรัญญิกคือ ผู้หญิง โดยทั้งรองประธานและเหรัญญิกสามารถสลับตำแหน่งกันได้ด้วย

&nbsp&nbsp&nbsp จำนวนวิธี = (1) x 4p2

&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp  = 4 x 3 = 12 วิธี

&nbsp&nbsp&nbsp n(E) = 20 + 12 = 32 วิธี

&nbsp&nbsp&nbsp ดังนั้น

&nbsp&nbsp&nbsp P(E) = n(E)/n(S) = 32/720 = 2/45



คำตอบคือ 2/45 ตัวเลือกที่ 3

0

ความคิดเห็นนี้ถูกลบ

ถูกลบโดยเจ้าของ

+FRANZ+ 27 มิ.ย. 49 เวลา 20:48 น. 8

คำชี้แจง

ด้วยเหตุที่ว่าการแสดงผลในเวบไซท์อาจไม่สามารถแสดงผลได้เต็มที่ ผู้จัดทำจึงเปลี่ยนสัญลักษณ์ดังนี้

^ หมายถึงยกกำลัง โดยจะยกกำลังจำนวนที่อยู่ในวงเล็บข้างหน้า

^1/2หมายถึงรากที่สองของจำนวนที่อยู่ในวงเล็บข้างหน้า

^1/3หมายถึงรากที่สองของจำนวนที่อยู่ในวงเล็บข้างหน้า

/ หมายถึงหาร

 

โจทย์

ถ้า Z1 และ Z2 เป็นรากของสมการ (Z-23)^3 = -8i ซึ่งมีขนาดเป็นจำนวนเต็ม แล้ว Z1+Z2เท่ากับข้อใดต่อไปนี้

ก.-(3)^1/2 i

ข.(3)^1/2 i

ค.3(3)^1/2 i

ง.3(3)^1/2+i

 ทำ

-8i  =>  a=0 b=-8

r=(a^2+b^2)^1/2 = 8        Ө= 3π/2

 

-8i = r(cos Ө +i sin Ө)

     = 8 (cos 3π/2 + i sin 3π/2 )

 

(-8i)^ 1/3 =  (8)^1/3 [cos(Ө+2kπ)/3   +   i sin(Ө+2kπ)/3 ] ; k=0,1,2

 

k = 0 ; (-8i)^1/3 = 2[cosπ/2 + i sinπ/2] = 2i

 

k = 1 ; (-8i)^1/3 = 2[cos[(3π/2)+2π]/3 + i sin[(3π/2)+2π]/3] = -(3)^1/2 - i

 

k = 2 ; (-8i)^1/3 = 2[cos[(3π/2)+4π]/3 + i sin[(3π/2)+4π]/3] = (3)^1/2 - i

 

จากโจทย์

(Z-2(3)^1/2)^3 = -8i

z-2(3)^1/2 = (-8i)^1/3

 

กรณี k=0 z-2(3)^1/2 = 2i

                     Z = 2(3)^1/2 + 2i

                    |Z|=[2(3)^1/2 + 2^2]^1/2  = 4 ε I = Z1

 

กรณี k=1 z-2(3)^1/2 = -(3)^1/2 - i

                     Z = 2(3)^1/2 -(3)^1/2  - i = (3)^1/2 -i  = Z2

                     |Z|=(3+1)^1/2 = 2 ε I

 

กรณี k=2 z-2(3)^1/2 = (3)^1/2 - i

                     Z = 2(3)^1/2 + 2i

                    |Z| = (28)^ 1/2 I

 

ดังนั้น Z1+Z2 = (2(3)^1/2 + 2i)+((3)^1/2 -i)

                     =3(3)^1/2+i

ตอบข้อ ง.


PS.  - ตลก..ตายหละ -
0
เมธารักษ์ ชะอุ่มพาณิชย์ no.34 16 มิ.ย. 49 เวลา 23:44 น. 10

22.วิธีในการเขียนจำนวนคู่ที่มีสามหลักจากตัวเลข 0,1,2,3,4,5 โดยที่หลักร้อย และหลักหน่วยเป็นตัวเลขที่แตกต่างกัน และมีค่าไม่น้อยกว่า 200 มีจำนวนวิธีเท่ากับข้อใดต่อไปนี้

1. 72&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp 2. 71&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp 3. 60&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp 4. 59



เฉลย&nbsp  60

วิธีทำ&nbsp สร้างเลขคู่ 3 หลักจาก0 1 2 3 4 5 หลักหน่วยและหลักร้อยต่างกันมีค่าไม่น้อยกว่า 200 จากเงื่อนไขในโจทย์&nbsp จะได้ว่า

1.เป็นเลข คู่ แสดงว่า เราใช้เลขได้แค่ 3 ตัว คือ 0 2 4

2.จากที่โจทย์บอกว่า มีค่าไม่น้อยกว่า 200 แสดงว่าหลักร้อย เราสามารถเลือกได้แค่ 4 ตัวคือ 2 3 4 5

3.หลักหน่วยและหลักร้อย ต่างกัน แสดงว่าต้องแบ่งกรณี คิดเป็น 3 แบบ คือ

(1)&nbsp&nbsp&nbsp หลักหน่วยเป็นเลข 0 หลักร้อยจะเลือกได้ 4 ตัว คือ 2 3 4 5 ขณะที่หลักสิบเลือกได้ 6 วิธี คือเป็นเลขอะไรก็ได้

1 x&nbsp 4&nbsp x&nbsp 6&nbsp = 24

(2)&nbsp&nbsp&nbsp หลักหน่วย เป็น 2 หลักร้อย จะเลือกได้ 3 วิธี คือ 3 4 5 หลักสิบเลือกเลขอะไรก็ได้

&nbsp 1 x&nbsp 3 x 6&nbsp = 18

(3)&nbsp&nbsp&nbsp หลักหน่วย เป็นเลข 4 หลักร้อย จะเลือกได้ 3 วิธี คือ 3 4 5 หลักสิบเลือกเลขอะไรก็ได้

&nbsp  1 x&nbsp 3 x 6&nbsp = 18

ดังนั้น&nbsp จำนวนวิธีทั้งหมด&nbsp  =&nbsp 24+18+18

&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp =&nbsp 60&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp Answer

0
ธนโชค โลเกศกระวี 17 มิ.ย. 49 เวลา 23:59 น. 11

20. กำหนดให้&nbsp f&nbsp เป็นฟังก์ชันซึ่งหาอนุพันธ์ได้ที่ทุกจุด และ&nbsp h(x) = x^3&nbsp + 1

&nbsp &nbsp &nbsp ถ้า a เป็นจำนวนจริง ซึ่ง

&nbsp&nbsp&nbsp (h o f)(a)&nbsp  =&nbsp 9&nbsp &nbsp ,&nbsp  (h o f)'(a) = 0

&nbsp&nbsp&nbsp (h o f)''(a) = -1 &nbsp&nbsp&nbsp แล้ว ข้อใดต่อไปนี้ถูก

&nbsp&nbsp&nbsp 1. มีค่าสูงสุดสัมพัทธ์ที่จุด a และมีค่าเท่ากับ 1

&nbsp&nbsp&nbsp 2. มีค่าสูงสุดสัมพัทธ์ที่จุด a และมีค่าเท่ากับ 2

&nbsp&nbsp&nbsp 3. มีค่าต่ำสุดสัมพัทธ์ที่จุด a และมีค่าเท่ากับ 1

&nbsp&nbsp&nbsp 4. มีค่าต่ำสุดสัมพัทธ์ที่จุด a และมีค่าเท่ากับ 2

ตอบข้อ 2

วิธีทำ&nbsp&nbsp&nbsp จากโจทย์&nbsp&nbsp&nbsp h(x)&nbsp  &nbsp&nbsp&nbsp  =&nbsp x3&nbsp + 1

&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp  (h o f)(x)&nbsp &nbsp &nbsp =&nbsp h(f(x))&nbsp &nbsp =&nbsp &nbsp (f(x))^3 + 1

&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp  (h o f)(a)&nbsp &nbsp &nbsp =&nbsp (f(a))^3 + 1 = 9

&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp f(a)&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp&nbsp&nbsp &nbsp =&nbsp 2

&nbsp&nbsp&nbsp จาก&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp (h o f)'(x)&nbsp &nbsp &nbsp  = [h(f(x))]'

&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp = h'(f(x)) • f '(x)

&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp  (h o f)'(a)&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp  = h'(f(a)) • f '(a)&nbsp = 0

&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp = 3(f(a))^2 • f '(a)

&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp f '(a)&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp = 0

&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp  (h o f)'(a)&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp  = 3(f(a))^2 • f '(a)

&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp  (h o f)''(a)&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp  = 3(f(a))^2 • f '(a) + 6 f(a)f '(a)

&nbsp&nbsp&nbsp แทนค่า&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp  -1&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp &nbsp = 3(2)^2 • f ''(a) + 0

&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp f ''(a)&nbsp&nbsp&nbsp = -1&nbsp &nbsp  <&nbsp  0

&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp 12

&nbsp&nbsp&nbsp แสดงว่า f มีค่าสูงสุดสัมพัทธ์ที่จุด a และมีค่าเท่ากับ 2

0
Hara N. 18 มิ.ย. 49 เวลา 00:20 น. 12

เพื่อนๆ สามารถนำไปโพสอีกกระทู้ได้เลยคับ ที่
http://board.narak.com/topic.php?No=114713
จะเร่งเปิดอีก 2 กระทู้คับ

ของตัวเองยังไม่ได้ทำเลยอะ -*-

0
ณัชพล สุวรรณสุจริต no.15 36947 18 มิ.ย. 49 เวลา 13:53 น. 13

โจทย์

วิธีในการเขียนจำนวนคู่ที่มีสามหลักจากตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4, 5 โดยที่หลักร้อยและหลักหน่วยเป็นตัวเลขที่แตกต่างกัน และมีค่าไม่น้อยกว่า 200 มีจำนวนวิธีเท่ากับข้อใดต่อไปนี้

1. 72&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp 2. 71&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp 3. 60&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp 4. 59



เฉลย&nbsp&nbsp&nbsp จำนวนคู่ที่มี 3 หลัก จากเลข&nbsp 0, 1, 2, 3, 4, 5

หลักร้อยและหลักหน่วยเป็นเลขต่างกัน และมีค่าไม่น้อยกว่า 200 แยกได้ 4 กรณี ดังนี้

กรณี 1&nbsp&nbsp&nbsp หลักร้อยเป็นเลข 2 &nbsp&nbsp&nbsp หลักสิบเป็นเลขอะไรก็ได้ใน 0 – 5

&nbsp&nbsp&nbsp และหลักหน่วยเป็นเลข 0 หรือ 4

&nbsp&nbsp&nbsp จำนวนวิธี = 1 x 6 x 2 = 12 วิธี

กรณี 2&nbsp&nbsp&nbsp หลักร้อยเป็นเลข 3&nbsp&nbsp&nbsp หลักสิบเป็นเลขอะไรก็ได้ใน 0 – 5&nbsp&nbsp&nbsp 

&nbsp&nbsp&nbsp และหลักหน่วยเป็นเลข &nbsp&nbsp&nbsp 0, 2, 4

&nbsp&nbsp&nbsp จำนวนวิธี = 1 x 6 x 3 = 18 วิธี

กรณี 3&nbsp&nbsp&nbsp หลักร้อยเป็นเลข 4 &nbsp&nbsp&nbsp หลักสิบเป็นเลขอะไรก็ได้ใน 0 – 5

&nbsp&nbsp&nbsp และหลักหน่วยเป็นเลข 0 หรือ 2

&nbsp&nbsp&nbsp จำนวนวิธี = 1 x 6 x 2 = 12 วิธี

กรณี 4&nbsp&nbsp&nbsp หลักร้อยเป็นเลข 5&nbsp&nbsp&nbsp หลักสิบเป็นเลขอะไรก็ได้ใน 0 – 5

&nbsp&nbsp&nbsp และหลักหน่วยเป็นเลข &nbsp&nbsp&nbsp 0, 2, 4

&nbsp&nbsp&nbsp จำนวนวิธี = 1 x 6 x 3 = 18 วิธี

ดังนั้น จำนวนวิธีทั้งหมด&nbsp =&nbsp  12 + 18 + 12 + 18&nbsp  =&nbsp  60&nbsp &nbsp วิธี&nbsp&nbsp&nbsp Ans

0
นายธีรวัฒน์ เลขที่ 7 19 มิ.ย. 49 เวลา 18:23 น. 14

1. กำหนดให้ a1, a2, a3, ….. เป็นลำดับเลขคณิต ถ้า a1 + a5 + a9 + a13 = 220 แล้ว a1 + a7 + a13 เท่ากับข้อใด

1. 55 2. 110 3. 135 4. 165

วิธีทำ

จาก a1 + a5 + a9 + a13 = 220

a1+a1+4d+a1+8d+a1+12d = 220

4a1+24d = 220

4ทั้ง2ด้าน; a1+6d = 55

หรือ a7 = 55



จาก a1 + a7 + a13 = a7 - 6d + a7 + a7 + 6d

= 55+55+55

= 165

ดังนั้นตอบตัวเลือกที่ 4.

0
BoSs-B-BoY 20 มิ.ย. 49 เวลา 20:55 น. 15

ในการจัดงานของบริษัทแห่งหนึ่งได้แจกบัตรแก่ผู้เข้าชมงาน 100 ใบ ซึ่งมีหมายเลขตั้งแต่ 00 ถึง 99 กำกับอยู่
สุ่มหยิบต้นขั้วของบัตรมา 1 ใบ เพื่อมอบรางวัลแก่ผู้เข้าชมงาน ผู้ที่มีบัตรซึ่งมีหมายเลขตรงกับต้นขั้วที่หยิบได้
จะได้รางวัลที่ 1 ส่วนผู้ที่มีบัตรหมายเลขซึ่งมีหลักหน่วยตรงกันกับต้นขั้ว หรือหลักสิบตรงกันกับต้นขั้วเพียง
หลักเดียว จะได้รางวัลที่ 2 ถ้าสมชายได้แจกบัตรมา 1 ใบ ความน่าจะเป็นที่สมชายจะได้รับรางวัลคือข้อต่อไปนี้
1. 1/100 2. 1/10 3. 19/100 4.1/5

เฉลย
แนวคิด สมมุติว่าหมายเลขบัตรของสมาชิกคือ ab
สมชายไม่ถูกรางวัลเมื่อเลขบัตรที่จับขึ้นมา มีหลักหน่วยเป็นตัวเลข อื่นไม่ชอบ ซึ่งมีทั้งหมด
9 ตัว และ หลักสิบข้อนี้เป็นตัวเลขที่ไม่ใช่
ดังนั้นความน่าจะเป็นที่สมชาย จะไม่ถูกรางวัล = 81/100
ดังนั้นความน่าจะเป็นที่สมชาย จะถูกรางวัล = 19/100
&#8710; ตัวเลือก 3 ถูกต้อง
หมายเหตุ การทำโจทย์ข้อนี้ใช้ความรู้
1. P(A) = 1-P(A)
นายอดิศร ศักดิ์สูง 37252(เลขที่ 34)

0
นายพีรภัทร เรืองธีรวงศา 37422 20 มิ.ย. 49 เวลา 22:18 น. 16

กำหนดค่าความจริงของประพจน์ p, q และ r เป็นจริง จริง และ เท็จ ตามลำดับ พิจารณาค่าความจริงของ


ประพจน์ต่อไปนี้


          ก.   (p Ù ~ q )  ®  ~ [p « (q Ú r)]                          ข.    [( p Ù q ) Ú r ] ® ( ~ q Ú r)


       ข้อใดต่อไปนี้ถูก


          1.   ก. จริง และ ข เท็จ                                                                                  2.             ก. เท็จ และ ข. จริง


3.   ก. จริง และ ข. จริง                                                                                 4.             ก. เท็จ และ ข. เท็จ


          วิธีทำ          


  ก.  (p Ù ~ q )  ®  ~ [p « (q Ú r)]


                        (p Ù ~ q )    จะได้   เท็จ


                        ~ [p « (q Ú r)]    จะได้  เท็จ


                        ดังนั้น    (p Ù ~ q )  ®  ~ [p « (q Ú r)]    ถ้าเท็จแล้วเท็จ   จะได้  จริง


                  


                   ข.    [( p Ù q ) Ú r ] ® ( ~ q Ú r)


                          [( p Ù q ) Ú r ]    จะได้   จริง


                          ( ~ q Ú r)   จะได้  เท็จ


                          ดังนั้น    [( p Ù q ) Ú r ] ® ( ~ q Ú r)   ถ้าจริงแล้วเท็จ   จะได้  เท็จ


                ดังนั้นตอบตัวเลือกที่ 1

           นายพีรภัทร  เรืองธีรวงศา 37422

0
นายธนโชค โลเกศกระวี เลขที่ 43 เลขประจำตัว 39578 21 มิ.ย. 49 เวลา 00:08 น. 17

อันนี้เป็นตัวแก้ของข้อสอบที่มีปัญหานะ

20. กำหนดให้ f เป็นฟังก์ชันซึ่งหาอนุพันธ์ได้ที่ทุกจุด และ&nbsp h(x) = x^3 + 1

&nbsp &nbsp &nbsp ถ้า a เป็นจำนวนจริง ซึ่ง

&nbsp&nbsp&nbsp (h o f)(a)&nbsp  =&nbsp 9&nbsp &nbsp ,&nbsp  (h o f)’(a) = 0

&nbsp&nbsp&nbsp (h o f)”(a) = -1&nbsp &nbsp แล้ว ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง

&nbsp&nbsp&nbsp 1. มีค่าสูงสุดสัมพัทธ์ที่จุด a และมีค่าเท่ากับ 1

&nbsp&nbsp&nbsp 2. มีค่าสูงสุดสัมพัทธ์ที่จุด a และมีค่าเท่ากับ 2

&nbsp&nbsp&nbsp 3. มีค่าต่ำสุดสัมพัทธ์ที่จุด a และมีค่าเท่ากับ 1

&nbsp&nbsp&nbsp 4. มีค่าต่ำสุดสัมพัทธ์ที่จุด a และมีค่าเท่ากับ 2

ตอบข้อ 2

วิธีทำ&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp &nbsp จากโจทย์&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp &nbsp h(x)&nbsp &nbsp  &nbsp&nbsp&nbsp =&nbsp x^3&nbsp + 1

&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp  (h o f)(x)&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp =&nbsp h(f(x)) = (f(x))^3 + 1

&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp  (h o f)(a)&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp =&nbsp (f(a))^3 + 1 = 9

&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp  f(a) &nbsp&nbsp&nbsp =&nbsp 2

&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp &nbsp จาก&nbsp &nbsp &nbsp (h o f)’(x)&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp = [h(f(x))]’

&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp = h’(f(x)) x f’(x)

&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp  (h o f)’(a)&nbsp&nbsp&nbsp = h’(f(a)) x f’(a)&nbsp = 0

&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp = 3(f(a))^2 x f’(a)

&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp &nbsp &nbsp f ’(a)&nbsp&nbsp&nbsp = 0

&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp  (h o f)’(a)&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp = 3(f(a))^2 x f’(a)

&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp  (h o f)”(a)&nbsp&nbsp&nbsp = 3(f(a))^2 x f”(a) + 6f(a)f’(a)

&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp แทนค่า&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp -1&nbsp&nbsp&nbsp = 3(2)^2 x f”(a) + 0

&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp &nbsp &nbsp&nbsp&nbsp &nbsp f ”(a)&nbsp &nbsp &nbsp = -1/12&nbsp < 0

&nbsp&nbsp&nbsp &nbsp&nbsp&nbsp แสดงว่า f มีค่าสูงสุดสัมพัทธ์ที่จุด a และมีค่าเท่ากับ 2

0
นาย ฐาปกรณ์ จันทร์ประภานนท์ ม.6/1 เลขที่ 5 21 มิ.ย. 49 เวลา 20:47 น. 18

ถ้านำปริมาณข้าวกล้องที่ร้านค้าแห่งหนึ่งขายได้รายปีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2537 ถึงปี พ.ศ. 2546

(y)(หน่วยเป็นกิโลกรัม) มาสร้างความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันกับช่วงเวลา(x)&nbsp โดยกำหนดให้ปี

พ.ศ. 2541 และ พ.ศ. 2542&nbsp มีค่า&nbsp x = -1 และ 1 ตามลำดับ แล้วได้ความสัมพันธ์เชิง

ฟังก์ชันของปริมาณข้าวกล้องที่ร้านค้าแห่งนี้ขายได้โดยประมาณ คือ

&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp Y = 192 + cx

ถ้าทำนายโดยใช้ความสัมพันธ์นี้&nbsp ปรากฏว่าปริมาณข้าวกล้องที่ร้านค้าแห่งนี้ขายได้ในปี

พ.ศ. 2547 โดยประมาณเท่ากับ 316.3 กิโลกรัม แล้วในปี พ.ศ. 2548 จะทำนายว่าปริมาณ

ข้าวกล้องที่ร้านค้าแห่งนี้ขายไปได้ประมาณเท่ากับเท่าใด



ปี พ.ศ.&nbsp&nbsp&nbsp x

2541&nbsp&nbsp&nbsp -1

2542&nbsp&nbsp&nbsp 1

2543&nbsp&nbsp&nbsp 3

2544&nbsp&nbsp&nbsp 5

2545&nbsp&nbsp&nbsp 7

2546&nbsp&nbsp&nbsp 9

2547&nbsp&nbsp&nbsp 11

2548&nbsp&nbsp&nbsp 13



&nbsp &nbsp จากโจทย์

Y&nbsp =&nbsp 192&nbsp  +&nbsp  cx

&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp 

ปี&nbsp 47&nbsp ;&nbsp แทน&nbsp x&nbsp =&nbsp 11 ,&nbsp y&nbsp =&nbsp 316.3

เพราะฉะนั้น&nbsp &nbsp  y&nbsp =&nbsp 192&nbsp +&nbsp c(11)

316.3&nbsp&nbsp&nbsp =&nbsp 192&nbsp +11c

เพราะฉะนั้น&nbsp c&nbsp =&nbsp 11.3

เพราะฉะนั้น&nbsp y&nbsp =&nbsp 192&nbsp +&nbsp 11.3x

ปี&nbsp  48&nbsp ;&nbsp แทน&nbsp x&nbsp =&nbsp 13

จะได้ว่า&nbsp  y&nbsp =&nbsp 192&nbsp +&nbsp 11.3(13)

=&nbsp 338.9

นาย ฐาปกรณ์ จันทร์ประภานนท์ ม.6/1 เลขที่ 5

0
นายอัฐกรณ์ 6/1 เลขที่ 19 เลขที่ใหม่ 20 21 มิ.ย. 49 เวลา 23:05 น. 19

ให้ A, B เป็นเมตริกซ์มิติ 3x3 ถ้า AB = 3I โดยที่ I เป็น เมตริกซ์เอกลักษณ์ และ

adj B = 1/3 A แล้ว det(A) มีค่าเท่ากับข้อใด



วิธีทำ

จากสูตร&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp adj B&nbsp &nbsp  =&nbsp &nbsp  (det B)(B^ -1)

จากโจทย์&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp adj B&nbsp &nbsp  =&nbsp &nbsp  1/3 A

ดังนั้น&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp  (det B)(B^ -1)&nbsp &nbsp =&nbsp &nbsp 1/3 A

จะได้ว่า

&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp (det B)(B^ -1)B&nbsp  =&nbsp &nbsp 1/3 AB

&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp (det B)( I )&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp =&nbsp &nbsp 1/3 AB



&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp (det B)( I )&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp =&nbsp &nbsp 1/3 ( 3I )&nbsp &nbsp &nbsp ; โจทย์กำหนด

&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp (det B)( I )&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp =&nbsp &nbsp I

&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp ดังนั้น&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp det B&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp  =&nbsp &nbsp 1

&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp จากโจทย์ ;&nbsp &nbsp &nbsp AB&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp  =&nbsp &nbsp 3I

&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp ดังนั้น&nbsp &nbsp &nbsp det (AB)&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp  =&nbsp  det (3I)

&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp  (det A)(det B)&nbsp =&nbsp  3^3 det I

&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp  (det A)&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp =&nbsp  27(1)

&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp  =&nbsp  1



นายอัฐกรณ์ 6/1 เลขที่ 19 เลขที่ใหม่ 20

0
Hara N. 25 มิ.ย. 49 เวลา 23:11 น. 20

4. กำหนดให้ ประพจน์ (~p <-> ~r ) V ( p -> q )
มีค่าความจริงเป็นเท็จ
ประพจน์ใดต่อไปนี้มีค่าความจริงเป็นเท็จ
1. ~p -> (q V r) 2. ~p-> (q ^ r) 3. p V q V ~r 4. p ^ q ^ ~ r

วิธีทำ (~p <-> ~r ) V ( p -> q ) ค่าความจริง คือ F
จะแยกคิดได้ว่า ( F ) V ( F ) = F
ได้คือ (~p <-> ~r ) = F และ ( p -> q ) = F
คิดวงเล็บหลัง ( p -> q ) = F และ T -> F = F
จะได้ว่า p = T และ q = F แล้วไปแทนค่าใน วงเล็บแรก
(~p <-> ~r ) = F จะได้ ( ~T <-> ~r ) = F
( F <-> ~r ) = F แล้ว F <-> T = F
ดังนั้น ~r = T , r = F
สรุป p = T , q = F , r = F
จาก ตัวเลือก 1. ~p -> (q V r) จะได้ ~T -> (F V F) = F -> F = T ผิด
2. ~p-> (q ^ r) จะได้ ~T -> (F ^ F) = F -> F = T ผิด
3. p V q V ~r จะได้ T V F V ~F = T ถูก
4. p ^ q ^ ~ r จะได้ T ^ F ^ ~F = F ผิด
ตอบ ข้อ 3
สาธิษฐ์ ปอเจริญ เลขที่ 14 (เก่า ใหม่ 15)

0