Dek-D.com ใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสบการณ์ของ
ผู้ใช้ให้ดียิ่งขึ้น เรียนรู้เพิ่มเติมที่นี่
ยอมรับ

~*- รู้จัก อาหาร เกาหลี -*~

ตั้งกระทู้ใหม่
ตั้งกระทู้ใหม่

อาหารเกาหลี

รู้จักกับอาหารเกาหลี
อาหารนานาชนิดมากหลายพบได้ในประเทศเกาหลี แรกเริ่มเดิมทีเกาหลีเป็นประเทศเกษตรกรรม และชาวเกาหลีเพาะปลูกข้าวเป็นอาหารหลักมาตั้งแต่โบราณกาล มาในสมัยนี้อาหารเกาหลีจะเป็นตำหรับซึ่งประกอบไปด้วยเนื้อสัตว์นานาชนิด ปลา พร้อมด้วยพืชสีเขียวและผักต่างๆ อาหารหมักดองต่างๆ เช่น กิมจิ จอทกอล (jeotgal) (อาหารทะเลหมักเกลือ) และ ดนจัง (deonjang) (ถั่วเหลืองหมักเหลว) ขึ้นชื่อในรสชาติโดยเฉพาะและมีคุณค่าทางโภชนาการสูง

จุดเด่นในการตั้งโต๊ะอาหารเกาหลีคืออาหารจานต่างๆ ถูกนำมาจัดวางในคราวเดียวกัน โดยการปฏิบัติสืบทอดกันมา มีการเสิร์ฟอาหารประเภทออร์เดิฟเริ่มจากอาหร 3 ชนิด สำหรับสามัญชนถึง 12 ชนิดสำหรับชนชั้นวงศานุวงศ์ การจัดโต๊ะอาหารต่างกันไปขึ้นอยู่กับว่ามีการเสิร์ฟอาหารจานก๋วยเตี๋ยวหรือเนื้อหรือไม่ มีการแสดงการจัดโต๊ะอาหารตามกฏระเบียบให้ผู้สนใจเรื่องอาหารและการรับประทานอาหารได้เห็น หากจะเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านอย่างจีนและญี่ปุ่นแล้วเกาหลีนิยมใช้ช้อนมากกว่า โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมีการเสิร์ฟน้ำซุป
  

ชนิดของอาหารเกาหลีตามประเพณีนิยม
1. บับ (Bap) ข้าวนึ่ง และจุค (Juk) ข้าวต้ม
ข้าวต้มเป็นอาหารหลักของครัวเกาหลี ส่วนใหญ่ใช้ข้าวเหนียว บางครั้งเป็นพวกถั่ว เกาหลัด ข้าวฟ่าง ถั่วแดง ข้าวบาเลย์ หรือ ธัญญพืชชนิดต่างๆประกอบเพื่อเพิ่มรสชาติและคุณค่าทางโภชนาการ ข้าวต้มถือว่าเป็นอาหารบำรุงและเป็นอาหารเบา มีข้าวต้มหลากหลายชนิด อาทิเช่น ชนิดที่ทำด้วยข้าวและมีส่วนผสม ด้วยถั่วแดง ฟักทอง หอยเป๋าฮื้อ โสม ลูกสน ผัก เนื้อไก่ เห็ด และถั่วงอก
1. บับ (Bap) ข้าวนึ่ง และจุค (Juk) ข้าวต้ม
ข้าวต้มเป็นอาหารหลักของครัวเกาหลี ส่วนใหญ่ใช้ข้าวเหนียว บางครั้งเป็นพวกถั่ว เกาหลัด ข้าวฟ่าง ถั่วแดง ข้าวบาเลย์ หรือ ธัญญพืชชนิดต่างๆประกอบเพื่อเพิ่มรสชาติและคุณค่าทางโภชนาการ ข้าวต้มถือว่าเป็นอาหารบำรุงและเป็นอาหารเบา มีข้าวต้มหลากหลายชนิด อาทิเช่น ชนิดที่ทำด้วยข้าวและมีส่วนผสม ด้วยถั่วแดง ฟักทอง หอยเป๋าฮื้อ โสม ลูกสน ผัก เนื้อไก่ เห็ด และถั่วงอก

แสดงความคิดเห็น

>

123 ความคิดเห็น

Five Phoenix 11 ต.ค. 49 เวลา 21:26 น. 3
6. จอทกอล (jeotgal) อาหารทะเลหมักเกลือ
จอทกอลเป็นอาหารรสเค็มจัดทำจากปลาหมักโดยวิธีธรรมชาติ หอยเชลล์ กุ้ง หอยนางรม ไข่ปลา พุงปลา และเครื่องปรุงอื่นๆ
     

7. กุย (Gui) ประเภทปิ้งย่าง
การทำกุยคือการนำเนื้อหมักย่างบนเตาถ่าน อาหารเนื้อชนิดนี้ที่เป็นที่นิยมคือ พุลโกกิ (bulgogi) และ คาลบิ (galbi) ยังมีอาหารจานปลาอีกหลายอย่างที่ปรุงด้วยวิธีนี้
     

8. เชิน (jeon) จานกระทะร้อน
เชินเป็นแพนเค้กชนิดหนึ่งที่ทำจากเห็ด ฟักทอง ปลาแห้งแผ่น หอยนางรม พริกเขียว เนื้อสัตว์ หรือเครื่องปรุงอื่นๆ ผสมกับเกลือและพริกไทยดำก่อนนำไปชุปแป้งและไข่แล้วทอด
     


9. มันดู (Mandu) ประเภทยัดไส้
มันดูทำด้วยแป้งแผ่นยัดไส้เนื้อ เห็ด แตงทอด ถั่วงอก บางครั้งใช้เนื้อหมู เนื้อไก่ หรือปลา แทนเนื้อ
7. กุย (Gui) ประเภทปิ้งย่าง
การทำกุยคือการนำเนื้อหมักย่างบนเตาถ่าน อาหารเนื้อชนิดนี้ที่เป็นที่นิยมคือ พุลโกกิ (bulgogi) และ คาลบิ (galbi) ยังมีอาหารจานปลาอีกหลายอย่างที่ปรุงด้วยวิธีนี้
     

8. เชิน (jeon) จานกระทะร้อน
เชินเป็นแพนเค้กชนิดหนึ่งที่ทำจากเห็ด ฟักทอง ปลาแห้งแผ่น หอยนางรม พริกเขียว เนื้อสัตว์ หรือเครื่องปรุงอื่นๆ ผสมกับเกลือและพริกไทยดำก่อนนำไปชุปแป้งและไข่แล้วทอด
     


9. มันดู (Mandu) ประเภทยัดไส้
มันดูทำด้วยแป้งแผ่นยัดไส้เนื้อ เห็ด แตงทอด ถั่วงอก บางครั้งใช้เนื้อหมู เนื้อไก่ หรือปลา แทนเนื้อ
8. เชิน (jeon) จานกระทะร้อน
เชินเป็นแพนเค้กชนิดหนึ่งที่ทำจากเห็ด ฟักทอง ปลาแห้งแผ่น หอยนางรม พริกเขียว เนื้อสัตว์ หรือเครื่องปรุงอื่นๆ ผสมกับเกลือและพริกไทยดำก่อนนำไปชุปแป้งและไข่แล้วทอด
     


9. มันดู (Mandu) ประเภทยัดไส้
มันดูทำด้วยแป้งแผ่นยัดไส้เนื้อ เห็ด แตงทอด ถั่วงอก บางครั้งใช้เนื้อหมู เนื้อไก่ หรือปลา แทนเนื้อ
9. มันดู (Mandu) ประเภทยัดไส้
มันดูทำด้วยแป้งแผ่นยัดไส้เนื้อ เห็ด แตงทอด ถั่วงอก บางครั้งใช้เนื้อหมู เนื้อไก่ หรือปลา แทนเนื้อ
0
Five Phoenix 11 ต.ค. 49 เวลา 21:27 น. 4
ประวัติของอาหารกิมจิ
ตั้งแต่มนุษย์เริ่มทำการเพาะปลูกมานั้น ผักเป็นที่ชื่นชอบเนื่องจากมีวิตามินและแร่ธาตุมากมาย อย่างไรก็ดีในฤดูหนาวเมื่อการเพาะปลูกไม่เอื้ออำนวยจึงได้นำไปสู่การพัฒนาการการถนอมอาหารโดยวิธีการหมักดอง กิมจิซึ่งเป็นผักดองชนิดหนึ่งจึงถือกำเนิดขึ้นในศตวรรษที่ 7
  

กำเนิดการใช้พริกเผ็ดป่น
แรกทีเดียว กิมจิเป็นผักดองเค็มดีๆนี่เอง แต่ในระหว่างศตวรรษที่ 12 ได้มีการทำกิมจิในรูปแบบใหม่ที่มีส่วนผสมของเครื่องเทศและเครื่องปรุงรสและในศตวรรษที่ 18 พริกเผ็ดป่นก็ได้มาเป็นส่วนผสมที่สำคัญของกิมจิในที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งต้องขอขอบคุณการนำเอากะหล่ำปลีเข้ามาในศตวรรษที่ 19 มาทำเป็นกิมจิซึ่งเป็นที่ทราบกันดีในปัจจุบันนี้
     

ที่มาของชื่อกิมจิ
เป็นที่น่าสงสัยกันมาตลอดว่าชื่อกิมจินี้คงมาจากคำว่าชิมเช (Shimchae) (ผักดองเค็ม) แต่ด้วยสำเนียงที่เปลี่ยนไป ก็จะกลายเป็น: ชิมเช - คิมเช - กิมเช - กิมจิ

     ทำไมกิมจิถึงได้มีการพัฒนาในประเทศเกาหลี
     ในโลกนี้มีอาหารประเภทผักหมักดองไม่กี่ชนิด เหตุผลเป็นไปได้ว่ากิมจิได้รับการพัฒนาเป็นอาหารหมักขึ้นชื่อโดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศเกาหลีมีดังนี้:

     1) ผักต่างๆเป็นที่นิยมของคนโบราณในประเทศเกาหลี การผลิตที่สำคัญคือการเกษตรกรรม 
     2) ชาวเกาหลีมีวิธีการที่น่าทึ่งในการหมักปลาเพื่อใช้เป็นเครื่องปรุงรส 
     3) กะหล่ำปลี (Brassica) ซึ่งเหมาะในการทำกิมจิมีปลูกอยู่ทั่วไป

มีการบอกเล่ากันมาว่าการพัฒนากิมจิมีรากฐานมาจากสมัยนิยมการถือครอบครองที่ดินสำหรับพระซึ่งเริ่มมีมาก่อนสมัยของสามอาณาจักรบนคาบสมุทรเกาหลี เนื่องจากฤดูหนาวอันหนาวเหน็บนั้น ผู้คนในสมัยนั้นจำต้องรู้วิธีการถนอมอาหารประเภทผักเพื่อเก็บรักษาไว้
     

กิมจิในสมัยโบราณ
     เป็นการยากที่จะพิสูจน์ขบวนการการพัฒนากิมจิในสมัยโบราณเพราะการบันทึกทางประวัติศาสตร์ในสมัยนั้นแทบจะไม่มีเลย เราเพียงแต่สันนิษฐานเอาว่าใช้วิธีการนำผักมาดองเกลือเพื่อที่จะเก็บรักษาไว้ให้นานที่สุดเท่าที่จะทำได้เท่านั้น
     
     กิมจิในสมัยอาณาจักรโคเรียว
     แม้จะไม่มีการบันทึกแน่ชัดลงไปว่ามีการพบกิมจิในสมัยก่อน กะหล่ำปลีได้ถูกกล่าวถึงในตำรายารักษาโรคทางภาคตะวันออกเรียกว่า ฮันยักกูกึบบัง (Hanyakgugeupbang) มีกิมจิสองชนิดคือ กิมจิ-จางอาจิ (Kimchi-jangajji) (หัวไชเท้าฝานเป็นแผ่นดองด้วยซอสถั่วเหลือง) และ ซุมมู โซกึมชอลรี (Summu Sogeumjeori - หัวไชโป๊) สมัยนี้กิมจิเริ่มได้รับความสนใจว่าเป็นอาหารแปรรูปที่ชื่นชอบโดยไม่คำนึงถึงฤดูกาลและการเก็บรักษาในฤดูหนาว สงสัยกันว่าการพัฒนาให้มีรสชาติในสมัยนั้นคือการทำกิมจิให้มีรสจัดจ้าน
     
     กิมจิในสมัยโชซอน
     หลังจากที่ได้มีการนำผักจากต่างประเทศเข้ามา กะหล่ำปลีใช้เป็นผักหลักในการทำกิมจิโดยทั่วไป ต้นศตวรรษที่ 17 (หลังจากที่ถูกญี่ปุ่นรุกรานในปี ค.ศ. 1592) มีการนำเข้าพริกจากประเทศญี่ปุ่น หลังจากนั้นราว 200 ปี พริกได้ถูกใช้เป็นส่วนผสมอย่างหนึ่งของกิมจิ ดังนั้นราวปลายสมัยโชซอนสีของกิมจิจึงกลายมาเป็นสีแดง
     
     กิมจิในราชสำนักโชซอน
     ตามปกติมีกิมจิสามชนิดที่ได้ถูกนำขึ้นมาถวายต่อกษัตริย์ในราชวงศ์โชซอน ได้แก่กะหล่ำปลีล้วน ชอทกุกจิ (Jeotgukji) เป็นกิมจิที่ผสมด้วยปลาหมักจำนวนมาก กิมจิหัวไชเท้า หรือ คักดูกิ (kkakdugi) และกิมจิน้ำตำราอาหารของโชซอน คือ โชซอน มูซางซานชิก โยรีเจบ็อบ (Joseon massangsansik yorijebeop) อธิบายการทำ ชอทกุกจิดังนี้:
     
     1) ขั้นตอนแรกหั่นกะหล่ำปลีและหัวไชเท้าที่ล้างสะอาดแล้วเป็นชิ้นเล็กๆแล้วหมักเกลือ
     2) นำมาผสมกับพริกแดงสับ กระเทียม ดรอบวอท (มินาริ -minari) ใบมัสตาด และสาหร่ายทะเล
      3) ต้มปลาหมักแล้วทิ้งไว้ให้เย็น
     4) ผสมน้ำปลาต้มกับเครื่องปรุงทั้งหมด
     5) นำไปหมักในหม้อแล้วปล่อยทิ้งไว้จนได้ที่
     
     แม้หัวไชเท้าและน้ำจะเป็นวัตถุหลักในการทำกิมจิน้ำ (dongchimi) ยังมีเครื่องปรุงหลายอย่างใช้ในการเพิ่มรสชาติสำหรับราชสำนักโชซอน หัวไชเท้าที่นำไปทำกิมจิน้ำจะต้องมีรูปทรงที่ดีและจะต้องล้างและหมักด้วยเกลือก่อนที่จะนำไปหมักในไหฝังดิน มีเกร็ดเล็กน้อยว่ากษัตริย์โกชอง (Gojong) กษัตริย์องค์รองสุดท้ายของโชซอน โปรดก๋วยเตี๋ยวเย็นผสมในกิมจิน้ำพร้อมด้วยน้ำซุปเนื้อเป็นอาหารมื้อค่ำในฤดูหนาว ดังนั้นจึงมีการทำกิมจิน้ำตำหรับพิเศษโดยมีลูกแพร์เป็นส่วนผสมใช้ทำก๋วยเตี๋ยวเย็นโดยเฉพาะ
     

กิมจิสมัยใหม่
มีการพิสูจน์ทางวิทยาศาสตร์พบว่ากิมจิเป็นอาหารบำรุงอย่างดีและมีนักโภชนาการทั้งหลายยังได้แนะนำให้เป็นอาหารในอนาคตสำหรับการบริโภคทั้งในและต่างประเทศ ดังนั้นกิมจิจึงเป็นสินค้าส่งออกไปยังประเทศต่างๆที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ชาวเกาหลีที่เดินทางเข้าประเทศจีน รัสเซีย และ เกาะฮาวาย และ ญี่ปุ่น เป็นคนแรกที่แนะนำกิมจิและรับประทานกิมจิเป็นเครื่องเคียงและค่อยๆเป็นที่นิยมขึ้นเรื่อยๆในหมู่ชาวต่างชาติ ด้วยประการฉะนี้จะพบกิมจิได้ในที่ที่มีชาวเกาหลีอยู่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอเมริกาและญี่ปุ่นซึ่งมีชาวเกาหลีมากมาย กิมจิบรรจุกล่องหาได้ง่าย แต่ก่อนการผลิตและการบริโภคกิมจิจะอยู่ในสังคมชาวเกาหลีเท่านั้น แต่ปัจจุบันได้กลายเป็นอาหารของโลกไปแล้ว


กำเนิดการใช้พริกเผ็ดป่น
แรกทีเดียว กิมจิเป็นผักดองเค็มดีๆนี่เอง แต่ในระหว่างศตวรรษที่ 12 ได้มีการทำกิมจิในรูปแบบใหม่ที่มีส่วนผสมของเครื่องเทศและเครื่องปรุงรสและในศตวรรษที่ 18 พริกเผ็ดป่นก็ได้มาเป็นส่วนผสมที่สำคัญของกิมจิในที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งต้องขอขอบคุณการนำเอากะหล่ำปลีเข้ามาในศตวรรษที่ 19 มาทำเป็นกิมจิซึ่งเป็นที่ทราบกันดีในปัจจุบันนี้
     

ที่มาของชื่อกิมจิ
เป็นที่น่าสงสัยกันมาตลอดว่าชื่อกิมจินี้คงมาจากคำว่าชิมเช (Shimchae) (ผักดองเค็ม) แต่ด้วยสำเนียงที่เปลี่ยนไป ก็จะกลายเป็น: ชิมเช - คิมเช - กิมเช - กิมจิ

     ทำไมกิมจิถึงได้มีการพัฒนาในประเทศเกาหลี
     ในโลกนี้มีอาหารประเภทผักหมักดองไม่กี่ชนิด เหตุผลเป็นไปได้ว่ากิมจิได้รับการพัฒนาเป็นอาหารหมักขึ้นชื่อโดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศเกาหลีมีดังนี้:

     1) ผักต่างๆเป็นที่นิยมของคนโบราณในประเทศเกาหลี การผลิตที่สำคัญคือการเกษตรกรรม 
     2) ชาวเกาหลีมีวิธีการที่น่าทึ่งในการหมักปลาเพื่อใช้เป็นเครื่องปรุงรส 
     3) กะหล่ำปลี (Brassica) ซึ่งเหมาะในการทำกิมจิมีปลูกอยู่ทั่วไป

มีการบอกเล่ากันมาว่าการพัฒนากิมจิมีรากฐานมาจากสมัยนิยมการถือครอบครองที่ดินสำหรับพระซึ่งเริ่มมีมาก่อนสมัยของสามอาณาจักรบนคาบสมุทรเกาหลี เนื่องจากฤดูหนาวอันหนาวเหน็บนั้น ผู้คนในสมัยนั้นจำต้องรู้วิธีการถนอมอาหารประเภทผักเพื่อเก็บรักษาไว้
     

กิมจิในสมัยโบราณ
     เป็นการยากที่จะพิสูจน์ขบวนการการพัฒนากิมจิในสมัยโบราณเพราะการบันทึกทางประวัติศาสตร์ในสมัยนั้นแทบจะไม่มีเลย เราเพียงแต่สันนิษฐานเอาว่าใช้วิธีการนำผักมาดองเกลือเพื่อที่จะเก็บรักษาไว้ให้นานที่สุดเท่าที่จะทำได้เท่านั้น
     
     กิมจิในสมัยอาณาจักรโคเรียว
     แม้จะไม่มีการบันทึกแน่ชัดลงไปว่ามีการพบกิมจิในสมัยก่อน กะหล่ำปลีได้ถูกกล่าวถึงในตำรายารักษาโรคทางภาคตะวันออกเรียกว่า ฮันยักกูกึบบัง (Hanyakgugeupbang) มีกิมจิสองชนิดคือ กิมจิ-จางอาจิ (Kimchi-jangajji) (หัวไชเท้าฝานเป็นแผ่นดองด้วยซอสถั่วเหลือง) และ ซุมมู โซกึมชอลรี (Summu Sogeumjeori - หัวไชโป๊) สมัยนี้กิมจิเริ่มได้รับความสนใจว่าเป็นอาหารแปรรูปที่ชื่นชอบโดยไม่คำนึงถึงฤดูกาลและการเก็บรักษาในฤดูหนาว สงสัยกันว่าการพัฒนาให้มีรสชาติในสมัยนั้นคือการทำกิมจิให้มีรสจัดจ้าน
     
     กิมจิในสมัยโชซอน
     หลังจากที่ได้มีการนำผักจากต่างประเทศเข้ามา กะหล่ำปลีใช้เป็นผักหลักในการทำกิมจิโดยทั่วไป ต้นศตวรรษที่ 17 (หลังจากที่ถูกญี่ปุ่นรุกรานในปี ค.ศ. 1592) มีการนำเข้าพริกจากประเทศญี่ปุ่น หลังจากนั้นราว 200 ปี พริกได้ถูกใช้เป็นส่วนผสมอย่างหนึ่งของกิมจิ ดังนั้นราวปลายสมัยโชซอนสีของกิมจิจึงกลายมาเป็นสีแดง
     
     กิมจิในราชสำนักโชซอน
     ตามปกติมีกิมจิสามชนิดที่ได้ถูกนำขึ้นมาถวายต่อกษัตริย์ในราชวงศ์โชซอน ได้แก่กะหล่ำปลีล้วน ชอทกุกจิ (Jeotgukji) เป็นกิมจิที่ผสมด้วยปลาหมักจำนวนมาก กิมจิหัวไชเท้า หรือ คักดูกิ (kkakdugi) และกิมจิน้ำตำราอาหารของโชซอน คือ โชซอน มูซางซานชิก โยรีเจบ็อบ (Joseon massangsansik yorijebeop) อธิบายการทำ ชอทกุกจิดังนี้:
     
     1) ขั้นตอนแรกหั่นกะหล่ำปลีและหัวไชเท้าที่ล้างสะอาดแล้วเป็นชิ้นเล็กๆแล้วหมักเกลือ
     2) นำมาผสมกับพริกแดงสับ กระเทียม ดรอบวอท (มินาริ -minari) ใบมัสตาด และสาหร่ายทะเล
      3) ต้มปลาหมักแล้วทิ้งไว้ให้เย็น
     4) ผสมน้ำปลาต้มกับเครื่องปรุงทั้งหมด
     5) นำไปหมักในหม้อแล้วปล่อยทิ้งไว้จนได้ที่
     
     แม้หัวไชเท้าและน้ำจะเป็นวัตถุหลักในการทำกิมจิน้ำ (dongchimi) ยังมีเครื่องปรุงหลายอย่างใช้ในการเพิ่มรสชาติสำหรับราชสำนักโชซอน หัวไชเท้าที่นำไปทำกิมจิน้ำจะต้องมีรูปทรงที่ดีและจะต้องล้างและหมักด้วยเกลือก่อนที่จะนำไปหมักในไหฝังดิน มีเกร็ดเล็กน้อยว่ากษัตริย์โกชอง (Gojong) กษัตริย์องค์รองสุดท้ายของโชซอน โปรดก๋วยเตี๋ยวเย็นผสมในกิมจิน้ำพร้อมด้วยน้ำซุปเนื้อเป็นอาหารมื้อค่ำในฤดูหนาว ดังนั้นจึงมีการทำกิมจิน้ำตำหรับพิเศษโดยมีลูกแพร์เป็นส่วนผสมใช้ทำก๋วยเตี๋ยวเย็นโดยเฉพาะ
     

กิมจิสมัยใหม่
มีการพิสูจน์ทางวิทยาศาสตร์พบว่ากิมจิเป็นอาหารบำรุงอย่างดีและมีนักโภชนาการทั้งหลายยังได้แนะนำให้เป็นอาหารในอนาคตสำหรับการบริโภคทั้งในและต่างประเทศ ดังนั้นกิมจิจึงเป็นสินค้าส่งออกไปยังประเทศต่างๆที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ชาวเกาหลีที่เดินทางเข้าประเทศจีน รัสเซีย และ เกาะฮาวาย และ ญี่ปุ่น เป็นคนแรกที่แนะนำกิมจิและรับประทานกิมจิเป็นเครื่องเคียงและค่อยๆเป็นที่นิยมขึ้นเรื่อยๆในหมู่ชาวต่างชาติ ด้วยประการฉะนี้จะพบกิมจิได้ในที่ที่มีชาวเกาหลีอยู่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอเมริกาและญี่ปุ่นซึ่งมีชาวเกาหลีมากมาย กิมจิบรรจุกล่องหาได้ง่าย แต่ก่อนการผลิตและการบริโภคกิมจิจะอยู่ในสังคมชาวเกาหลีเท่านั้น แต่ปัจจุบันได้กลายเป็นอาหารของโลกไปแล้ว


ที่มาของชื่อกิมจิ
เป็นที่น่าสงสัยกันมาตลอดว่าชื่อกิมจินี้คงมาจากคำว่าชิมเช (Shimchae) (ผักดองเค็ม) แต่ด้วยสำเนียงที่เปลี่ยนไป ก็จะกลายเป็น: ชิมเช - คิมเช - กิมเช - กิมจิ

     ทำไมกิมจิถึงได้มีการพัฒนาในประเทศเกาหลี
     ในโลกนี้มีอาหารประเภทผักหมักดองไม่กี่ชนิด เหตุผลเป็นไปได้ว่ากิมจิได้รับการพัฒนาเป็นอาหารหมักขึ้นชื่อโดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศเกาหลีมีดังนี้:

     1) ผักต่างๆเป็นที่นิยมของคนโบราณในประเทศเกาหลี การผลิตที่สำคัญคือการเกษตรกรรม 
     2) ชาวเกาหลีมีวิธีการที่น่าทึ่งในการหมักปลาเพื่อใช้เป็นเครื่องปรุงรส 
     3) กะหล่ำปลี (Brassica) ซึ่งเหมาะในการทำกิมจิมีปลูกอยู่ทั่วไป

มีการบอกเล่ากันมาว่าการพัฒนากิมจิมีรากฐานมาจากสมัยนิยมการถือครอบครองที่ดินสำหรับพระซึ่งเริ่มมีมาก่อนสมัยของสามอาณาจักรบนคาบสมุทรเกาหลี เนื่องจากฤดูหนาวอันหนาวเหน็บนั้น ผู้คนในสมัยนั้นจำต้องรู้วิธีการถนอมอาหารประเภทผักเพื่อเก็บรักษาไว้
     

กิมจิในสมัยโบราณ
     เป็นการยากที่จะพิสูจน์ขบวนการการพัฒนากิมจิในสมัยโบราณเพราะการบันทึกทางประวัติศาสตร์ในสมัยนั้นแทบจะไม่มีเลย เราเพียงแต่สันนิษฐานเอาว่าใช้วิธีการนำผักมาดองเกลือเพื่อที่จะเก็บรักษาไว้ให้นานที่สุดเท่าที่จะทำได้เท่านั้น
     
     กิมจิในสมัยอาณาจักรโคเรียว
     แม้จะไม่มีการบันทึกแน่ชัดลงไปว่ามีการพบกิมจิในสมัยก่อน กะหล่ำปลีได้ถูกกล่าวถึงในตำรายารักษาโรคทางภาคตะวันออกเรียกว่า ฮันยักกูกึบบัง (Hanyakgugeupbang) มีกิมจิสองชนิดคือ กิมจิ-จางอาจิ (Kimchi-jangajji) (หัวไชเท้าฝานเป็นแผ่นดองด้วยซอสถั่วเหลือง) และ ซุมมู โซกึมชอลรี (Summu Sogeumjeori - หัวไชโป๊) สมัยนี้กิมจิเริ่มได้รับความสนใจว่าเป็นอาหารแปรรูปที่ชื่นชอบโดยไม่คำนึงถึงฤดูกาลและการเก็บรักษาในฤดูหนาว สงสัยกันว่าการพัฒนาให้มีรสชาติในสมัยนั้นคือการทำกิมจิให้มีรสจัดจ้าน
     
     กิมจิในสมัยโชซอน
     หลังจากที่ได้มีการนำผักจากต่างประเทศเข้ามา กะหล่ำปลีใช้เป็นผักหลักในการทำกิมจิโดยทั่วไป ต้นศตวรรษที่ 17 (หลังจากที่ถูกญี่ปุ่นรุกรานในปี ค.ศ. 1592) มีการนำเข้าพริกจากประเทศญี่ปุ่น หลังจากนั้นราว 200 ปี พริกได้ถูกใช้เป็นส่วนผสมอย่างหนึ่งของกิมจิ ดังนั้นราวปลายสมัยโชซอนสีของกิมจิจึงกลายมาเป็นสีแดง
     
     กิมจิในราชสำนักโชซอน
     ตามปกติมีกิมจิสามชนิดที่ได้ถูกนำขึ้นมาถวายต่อกษัตริย์ในราชวงศ์โชซอน ได้แก่กะหล่ำปลีล้วน ชอทกุกจิ (Jeotgukji) เป็นกิมจิที่ผสมด้วยปลาหมักจำนวนมาก กิมจิหัวไชเท้า หรือ คักดูกิ (kkakdugi) และกิมจิน้ำตำราอาหารของโชซอน คือ โชซอน มูซางซานชิก โยรีเจบ็อบ (Joseon massangsansik yorijebeop) อธิบายการทำ ชอทกุกจิดังนี้:
     
     1) ขั้นตอนแรกหั่นกะหล่ำปลีและหัวไชเท้าที่ล้างสะอาดแล้วเป็นชิ้นเล็กๆแล้วหมักเกลือ
     2) นำมาผสมกับพริกแดงสับ กระเทียม ดรอบวอท (มินาริ -minari) ใบมัสตาด และสาหร่ายทะเล
      3) ต้มปลาหมักแล้วทิ้งไว้ให้เย็น
     4) ผสมน้ำปลาต้มกับเครื่องปรุงทั้งหมด
     5) นำไปหมักในหม้อแล้วปล่อยทิ้งไว้จนได้ที่
     
     แม้หัวไชเท้าและน้ำจะเป็นวัตถุหลักในการทำกิมจิน้ำ (dongchimi) ยังมีเครื่องปรุงหลายอย่างใช้ในการเพิ่มรสชาติสำหรับราชสำนักโชซอน หัวไชเท้าที่นำไปทำกิมจิน้ำจะต้องมีรูปทรงที่ดีและจะต้องล้างและหมักด้วยเกลือก่อนที่จะนำไปหมักในไหฝังดิน มีเกร็ดเล็กน้อยว่ากษัตริย์โกชอง (Gojong) กษัตริย์องค์รองสุดท้ายของโชซอน โปรดก๋วยเตี๋ยวเย็นผสมในกิมจิน้ำพร้อมด้วยน้ำซุปเนื้อเป็นอาหารมื้อค่ำในฤดูหนาว ดังนั้นจึงมีการทำกิมจิน้ำตำหรับพิเศษโดยมีลูกแพร์เป็นส่วนผสมใช้ทำก๋วยเตี๋ยวเย็นโดยเฉพาะ
     

กิมจิสมัยใหม่
มีการพิสูจน์ทางวิทยาศาสตร์พบว่ากิมจิเป็นอาหารบำรุงอย่างดีและมีนักโภชนาการทั้งหลายยังได้แนะนำให้เป็นอาหารในอนาคตสำหรับการบริโภคทั้งในและต่างประเทศ ดังนั้นกิมจิจึงเป็นสินค้าส่งออกไปยังประเทศต่างๆที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ชาวเกาหลีที่เดินทางเข้าประเทศจีน รัสเซีย และ เกาะฮาวาย และ ญี่ปุ่น เป็นคนแรกที่แนะนำกิมจิและรับประทานกิมจิเป็นเครื่องเคียงและค่อยๆเป็นที่นิยมขึ้นเรื่อยๆในหมู่ชาวต่างชาติ ด้วยประการฉะนี้จะพบกิมจิได้ในที่ที่มีชาวเกาหลีอยู่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอเมริกาและญี่ปุ่นซึ่งมีชาวเกาหลีมากมาย กิมจิบรรจุกล่องหาได้ง่าย แต่ก่อนการผลิตและการบริโภคกิมจิจะอยู่ในสังคมชาวเกาหลีเท่านั้น แต่ปัจจุบันได้กลายเป็นอาหารของโลกไปแล้ว


กิมจิในสมัยโบราณ
     เป็นการยากที่จะพิสูจน์ขบวนการการพัฒนากิมจิในสมัยโบราณเพราะการบันทึกทางประวัติศาสตร์ในสมัยนั้นแทบจะไม่มีเลย เราเพียงแต่สันนิษฐานเอาว่าใช้วิธีการนำผักมาดองเกลือเพื่อที่จะเก็บรักษาไว้ให้นานที่สุดเท่าที่จะทำได้เท่านั้น
     
     กิมจิในสมัยอาณาจักรโคเรียว
     แม้จะไม่มีการบันทึกแน่ชัดลงไปว่ามีการพบกิมจิในสมัยก่อน กะหล่ำปลีได้ถูกกล่าวถึงในตำรายารักษาโรคทางภาคตะวันออกเรียกว่า ฮันยักกูกึบบัง (Hanyakgugeupbang) มีกิมจิสองชนิดคือ กิมจิ-จางอาจิ (Kimchi-jangajji) (หัวไชเท้าฝานเป็นแผ่นดองด้วยซอสถั่วเหลือง) และ ซุมมู โซกึมชอลรี (Summu Sogeumjeori - หัวไชโป๊) สมัยนี้กิมจิเริ่มได้รับความสนใจว่าเป็นอาหารแปรรูปที่ชื่นชอบโดยไม่คำนึงถึงฤดูกาลและการเก็บรักษาในฤดูหนาว สงสัยกันว่าการพัฒนาให้มีรสชาติในสมัยนั้นคือการทำกิมจิให้มีรสจัดจ้าน
     
     กิมจิในสมัยโชซอน
     หลังจากที่ได้มีการนำผักจากต่างประเทศเข้ามา กะหล่ำปลีใช้เป็นผักหลักในการทำกิมจิโดยทั่วไป ต้นศตวรรษที่ 17 (หลังจากที่ถูกญี่ปุ่นรุกรานในปี ค.ศ. 1592) มีการนำเข้าพริกจากประเทศญี่ปุ่น หลังจากนั้นราว 200 ปี พริกได้ถูกใช้เป็นส่วนผสมอย่างหนึ่งของกิมจิ ดังนั้นราวปลายสมัยโชซอนสีของกิมจิจึงกลายมาเป็นสีแดง
     
     กิมจิในราชสำนักโชซอน
     ตามปกติมีกิมจิสามชนิดที่ได้ถูกนำขึ้นมาถวายต่อกษัตริย์ในราชวงศ์โชซอน ได้แก่กะหล่ำปลีล้วน ชอทกุกจิ (Jeotgukji) เป็นกิมจิที่ผสมด้วยปลาหมักจำนวนมาก กิมจิหัวไชเท้า หรือ คักดูกิ (kkakdugi) และกิมจิน้ำตำราอาหารของโชซอน คือ โชซอน มูซางซานชิก โยรีเจบ็อบ (Joseon massangsansik yorijebeop) อธิบายการทำ ชอทกุกจิดังนี้:
     
     1) ขั้นตอนแรกหั่นกะหล่ำปลีและหัวไชเท้าที่ล้างสะอาดแล้วเป็นชิ้นเล็กๆแล้วหมักเกลือ
     2) นำมาผสมกับพริกแดงสับ กระเทียม ดรอบวอท (มินาริ -minari) ใบมัสตาด และสาหร่ายทะเล
      3) ต้มปลาหมักแล้วทิ้งไว้ให้เย็น
     4) ผสมน้ำปลาต้มกับเครื่องปรุงทั้งหมด
     5) นำไปหมักในหม้อแล้วปล่อยทิ้งไว้จนได้ที่
     
     แม้หัวไชเท้าและน้ำจะเป็นวัตถุหลักในการทำกิมจิน้ำ (dongchimi) ยังมีเครื่องปรุงหลายอย่างใช้ในการเพิ่มรสชาติสำหรับราชสำนักโชซอน หัวไชเท้าที่นำไปทำกิมจิน้ำจะต้องมีรูปทรงที่ดีและจะต้องล้างและหมักด้วยเกลือก่อนที่จะนำไปหมักในไหฝังดิน มีเกร็ดเล็กน้อยว่ากษัตริย์โกชอง (Gojong) กษัตริย์องค์รองสุดท้ายของโชซอน โปรดก๋วยเตี๋ยวเย็นผสมในกิมจิน้ำพร้อมด้วยน้ำซุปเนื้อเป็นอาหารมื้อค่ำในฤดูหนาว ดังนั้นจึงมีการทำกิมจิน้ำตำหรับพิเศษโดยมีลูกแพร์เป็นส่วนผสมใช้ทำก๋วยเตี๋ยวเย็นโดยเฉพาะ
     

กิมจิสมัยใหม่
มีการพิสูจน์ทางวิทยาศาสตร์พบว่ากิมจิเป็นอาหารบำรุงอย่างดีและมีนักโภชนาการทั้งหลายยังได้แนะนำให้เป็นอาหารในอนาคตสำหรับการบริโภคทั้งในและต่างประเทศ ดังนั้นกิมจิจึงเป็นสินค้าส่งออกไปยังประเทศต่างๆที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ชาวเกาหลีที่เดินทางเข้าประเทศจีน รัสเซีย และ เกาะฮาวาย และ ญี่ปุ่น เป็นคนแรกที่แนะนำกิมจิและรับประทานกิมจิเป็นเครื่องเคียงและค่อยๆเป็นที่นิยมขึ้นเรื่อยๆในหมู่ชาวต่างชาติ ด้วยประการฉะนี้จะพบกิมจิได้ในที่ที่มีชาวเกาหลีอยู่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอเมริกาและญี่ปุ่นซึ่งมีชาวเกาหลีมากมาย กิมจิบรรจุกล่องหาได้ง่าย แต่ก่อนการผลิตและการบริโภคกิมจิจะอยู่ในสังคมชาวเกาหลีเท่านั้น แต่ปัจจุบันได้กลายเป็นอาหารของโลกไปแล้ว


กิมจิสมัยใหม่
มีการพิสูจน์ทางวิทยาศาสตร์พบว่ากิมจิเป็นอาหารบำรุงอย่างดีและมีนักโภชนาการทั้งหลายยังได้แนะนำให้เป็นอาหารในอนาคตสำหรับการบริโภคทั้งในและต่างประเทศ ดังนั้นกิมจิจึงเป็นสินค้าส่งออกไปยังประเทศต่างๆที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ชาวเกาหลีที่เดินทางเข้าประเทศจีน รัสเซีย และ เกาะฮาวาย และ ญี่ปุ่น เป็นคนแรกที่แนะนำกิมจิและรับประทานกิมจิเป็นเครื่องเคียงและค่อยๆเป็นที่นิยมขึ้นเรื่อยๆในหมู่ชาวต่างชาติ ด้วยประการฉะนี้จะพบกิมจิได้ในที่ที่มีชาวเกาหลีอยู่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอเมริกาและญี่ปุ่นซึ่งมีชาวเกาหลีมากมาย กิมจิบรรจุกล่องหาได้ง่าย แต่ก่อนการผลิตและการบริโภคกิมจิจะอยู่ในสังคมชาวเกาหลีเท่านั้น แต่ปัจจุบันได้กลายเป็นอาหารของโลกไปแล้ว


0
Five Phoenix 12 ต.ค. 49 เวลา 01:24 น. 6

คาลบี หรือหมูย่างเกาหลี

 

เมนูคาลบี หรือ หมูย่าง เกาหลี เป็นอาหารพื้นเมือง เกาหลี ที่เลื่องชื่อและรู้จักกันดีทั่วโลก มีรสชาติออกหวาน นุ่ม และกลมกล่อม  นำหมูสเต๊กส่วนที่ติดกับกระดูก (เชื่อว่าเป็นส่วนที่อร่อยที่สุด) ย่างบนเตาถ่านแบบดั้งเดิม และตัดเป็นชิ้นพอคำ ห่อทานแบบเมี่ยงคำไทย โดยใส่น้ำจิ้มเต้าเจี้ยว และเครื่องเคียงที่ชอบ หรือข้าวสวยร้อนตามที่ชอบ บริการเครื่องเคียงต่าง ๆ และน้ำซุปสาหร่าย

 

 

ชาบู ชาบู

 

เมนู ชาบู ชาบู อาหารพื้นเมืองตั้งแต่สมัยมองโกเลีย บุกคาบสมุทร เกาหลี ลักษณะคล้ายสุกี้หม้อไฟของญี่ปุ่น โดยนำเครื่องเคียงต่าง ๆ เช่นผักหลากชนิด เห็ดตามฤดู โอเด้ง เบคอนหมูที่จัดเตรียมไว้ มาจัดเรียงให้สวยงามในหม้อ เวลาทานเติมน้ำซุปชาบูปรุงรสแล้วต้มให้เดือด แล้วนำอูด้งสดลงต้ม สามารถรับประทานเป็นอูด้งร้อนและทานพร้อมข้าวสวยร้อน ๆ น้ำจิ้มซีอิ๊ว เกาหลี และเครื่องเคียงต่าง ๆ

 

 

ซัมเกทัง หรือไก่ตุ๋นโสม

 

เมนูซัมเกทัง หรือไก่ตุ๋นโสมเกาหลี เป็นอาหารวังในสมัยก่อนปัจจุบันเป็นอาหารเลื่องชื่อของเมืองหลวง เชื่อกันว่าบำรุงและเสริมสุขภาพ เสริฟท่านละ 1 ตัว ในหม้อดินร้อน ภายในตัวไก่จะมีข้าวเหนียว รากโสม พุทราแดง เกาลัด เสริฟพร้อมเครื่องเคียง เส้นขนมจีน เหล้าโสม พริกไทยดำ และเกลือ

 

 

ทักคาลบี หรือไก่บาบีคิวผัดซอส

 

เมนูทักคาลบี หรือไก่บาบีคิวผัดซอสเกาหลี เป็นอาหารเลื่องชื่อของเมืองชุนชอน โดยนำไก่บาบีคิว ต้อก (ข้าวเหนียวปั้นเกาหลี) มันหวาน ผักต่าง ๆ ลงผัดกับซอสพริกเกาหลีในกระทะแบน วิธีการทานแบบเมี่ยงคำไทย โดยห่อกับผักกาดแก้วเมื่อทานไประยะหนึ่งจะนำข้าวสวยและสาหร่ายแห้งมาผัดรวมกับทักคาลบี เพื่อให้เกิดอาหารชนิดใหม่ คือ ทักคาลบีบกคึม หรือข้าวผัดพริกไก่ที่ทั้งหอมและน่ารับประทาน เสริฟพร้อมเครื่องเคียงและซุปประจำวัน

 

 

บีบิมบับ หรือข้าวยำเกาหลี

 

รับประทานอาหารกลางวัน ณ ภัตตาคาร เมนูบีบิมบับ หรือข้าวยำเกาหลี อาหารครบคุณค่าโภชนาการ และเป็นอาหารยอดนิยมที่คน เกาหลี นิยมทานกันมากที่สุด นำข้าวสวยใส่ในหม้อดินร้อน นำส่วนผสมต่าง ๆ จัดเรียงบนข้าวสวย เวลาทานนำไข่ไก่และซอสบีบิมบับ ผสมคลุกเคล้ากับข้าว และส่วนผสมต่าง ๆ ให้เนียนจนเข้ากัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับรสนิยมการทานของแต่ละคนเสริฟพร้อมหม้อไฟทะเล

 

บุลโกกี หรือบาบีคิว

 

รับประทานอาหารกลางวัน ณ ภัตตาคาร อิ่มอร่อยกับ บาบีคิว หรือบุลโกกีเกาหลี โดยนำเนื้อหมูสไลด์ หมักกับซอสและเครื่องเคียงต่าง ๆ ให้ออกรสหวาน นุ่ม เวลาทานนำมาย่างขลุกขลิกกับซุปบนกระทะแบนหรือครึ่งวงกลม พร้อมผักกระหล่ำ เสริฟพร้อมข้าวสวยร้อน ๆ และเครื่องเคียงต่าง ๆ

 

โอซัม หรือปลาหมึกย่างบาร์บีคิว

 

รับประทานอาหารเที่ยง ณ ภัตตาหาร เมนู โอซัมหรือหมูปลาหมึกย่างบาร์บีคิวหมักสไตล์สมัยใหม่เกาหลี คนต่างประเทศนิยมรับประทานเพราะมีรสชาติออกหวานเผ็ดเล็กน้อย   โดยนำบาร์บีคิวหมูปลาหมึกลงในกระทะครึ่งวงกลมพร้อมน้ำซุปปรุงรส เมื่อสุกรับประทานพร้อมเครื่องเคียงและข้าวสวย หากต้องการแบบรสชาติ เกาหลี แท้ๆ ก็สามารถใส่กิมจิหมักลงต้มด้วย ก็จะได้รสชาติอีกแบบหนึ่ง 

 

แฮมูลทัง หรือซีฟูดหม้อไฟ

 

เมนูแฮมุลทัง หรือ ซีฟูดหม้อไฟ นำของทะเลต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นกุ้ง หอย ปู ปลาหมึก ปูอัด พร้อมเครื่องต่าง ๆ เช่น ต้นกระเทียม ผักตามฤดู หัวหอม เป็นต้น มาจัดเรียงให้สวยงามภายในหม้อไฟ และเติมน้ำซุปซี้ฟู้ดลงไป พอน้ำเดือด ให้นำอุด้งหรือเส้นก๋วยเตี๋ยวลงไปต้ม เพื่อรับประทานเป็นอุด้งซี้ฟู้ด หรือทานคู่กับข้าวสวย น้ำจิ้มซีอิ๊วเกาหลี พริกป่นและเครื่องเคียงต่าง ๆ

 

 

KOREAN UDONG

เมนูก๋วยเตี่ยอุด้งเส้นกลมโต เกาหลี ที่เสริฟมาในน้ำซุปอุด้งออกรสหวานกลมกล่อมสไตล์เกาหลีญี่ปุ่น โรยหน้าด้วยลูกชิ้นโอเด้งและปูอัด และผักหอมเกาหลี  ในถ้วยโตใหญ่ เป็นอาหารยอดฮิตสำหรับชาวโสมในช่วงเข้า กลางวัน เย็นและค่ำ

อุด้งเกาหลีในชามยักษ์นี้ จะประกอบไปด้วยเส้นก๋วยเตี๋ยวอ้วนกลม ลูกชิ้นโอเด้งฟองดู  ในน้ำซุปอุด้งออกหวานกลมกล่อม  อาหารจานโปรดที่ชาวโสมเกาหลีชื่นชอบรับประทานเป็นอาหารเช้า กลางวันหรือค่ำ

0
nee 12 ต.ค. 49 เวลา 11:51 น. 9

((&nbsp ส ว ย *โดยวิธีง่าย ๆ ไม่ต้องใช้ยา ))

ปลอดภัย 100 %&nbsp เพราะมีอ.ย.รับรอง

##ล*ด - เ พิ่ มน้ำ *หนัก&nbsp ไม่มี Y O Y O##

สนใจคลิ๊ก&nbsp http://yep.it/?7lkyvn&nbsp 

ยินดีให้คำปรึกษาฟรีสำหรับผู้จริงจัง

0
24797 12 ต.ค. 49 เวลา 11:58 น. 10

ยาวจัง(แต่ตูก็อ่านจนหมด)เราว่าอาหารไทยอร่อยสุดในโลกแล้ว(ก็มันถูกปากคนไทยอย่างเราไงก็เลยอร่อย)

0
-[]- Am F@i -[]- 12 ต.ค. 49 เวลา 13:11 น. 14

เ ร า ว่ า ต้ ม ยำ กุ ง อ ร่ อ ย สุ ด อ่ ะ

ห รื อ ป ล า ทู ท อ ด น้ า ม พ ริ ก ก ะ ปิ ก้ โ อ เ ค น ะ

 แ ต่ เ ร า ว่ า มั น ก้ ค ง อ ร่ อ ย อ่ ะ

อ า ห า ร เ ก า ห ลี


PS.  -'๑'- เพื่อนเหมือนดวงดาวตรงที่มองไม่เห็นตลอดเวลาแต่ไม่เคยหายไปไหน -'๑'-
0
J.PuEnG 12 ต.ค. 49 เวลา 13:30 น. 15

ช่าย  เราก้อว่าอาหารไทยอร่อยที่สุดแร้ว


PS.  แรดอย่างสงบ ตบเมื่อจำเป็น ตอแหลอย่างเยือกเย็น เพราะเราเป็นไฮโซ
0
Bloem 12 ต.ค. 49 เวลา 13:32 น. 16
อยากลองกินดูเหมือนกันอะ ว่าจะอร่อยกว่าอาหารไทยมั้ย
PS.  Love is an energy, love is a mistery, Love is meant to be true, Love is a part of me, love is the heart of me, Love is the best thing we do...
0
นนน 12 ต.ค. 49 เวลา 14:10 น. 18

อาหารไทยอร่อยก่านะ แบบว่าเราเคยไปกินอาหารเกาหลีมา เพราะว่าช่วงนี้เกาหลีฟีเว่อร์ เรา



เลยไม่อยากตกเทรนด์ก้เลยไปกินสรุปไม่อร่อยเลยง่า ของไทยอร่อยก่า คิคิ

0
shinichi1412 12 ต.ค. 49 เวลา 15:11 น. 19

น่าอร่อยดีอะ >_<


PS.  เพราะเธอน่ารัก ชั้นเลยต้องรักเธอนะชินอิจิ ไลท์คุง แจจุง โดราจัง แดน ฟิล์ม ^_______^
0