ระบบสอบเข้ามหาวิทยาลัย ปี 2553 - ระบบสอบเข้ามหาวิทยาลัย ปี 2553 นิยาย ระบบสอบเข้ามหาวิทยาลัย ปี 2553 : Dek-D.com - Writer

    ระบบสอบเข้ามหาวิทยาลัย ปี 2553

    โดย asakuranika

    เกี่ยวกับระบบสอบเข้ามหาวิทยาลัย ปี 2553 ที่จะเริ่มสอบในปีหน้านี้

    ผู้เข้าชมรวม

    33,338

    ผู้เข้าชมเดือนนี้

    0

    ผู้เข้าชมรวม


    33.33K

    ความคิดเห็น


    55

    คนติดตาม


    10
    เรื่องสั้น
    อัปเดตล่าสุด :  25 พ.ย. 51 / 19:57 น.


    ข้อมูลเบื้องต้นของเรื่องนี้
    ตั้งค่าการอ่าน

    ค่าเริ่มต้น

    • เลื่อนอัตโนมัติ

      ระบบสอบเข้ามหาวิทยาลัย ปี 2553

      ในปี 2553 อธิการบดีแห่งประเทศไทย  (ทปอ.) มีมติให้ปรับเปลี่ยนองค์ประกอบการรับนิสิตนักศึกษาในระบบกลางหรือแอดมิชชันประจำปีการศึกษา 2553 โดยยกเลิกการใช้คะแนนแบบทดสอบทางการศึกษาขั้นสูงหรือ ANET และผลการเรียนเฉลี่ยรายกลุ่มสาระการเรียนรู้หรือ GPA   และหันมาใช้องค์ประกอบองค์ประกอบต่อไปนี้ในการยื่นคะแนนเข้ามหาวิทยาลัย  ซึ่งประกอบไปด้วย

                          1) GPAX 6 ภาคเรียน                                         20 %

                          2) O-NET (8 กลุ่มสาระ)                                   30 %

                          3) GAT                                                                  10-50 %

                          4) PAT                                                                   0-40 %

                              รวม                                                                    100 %

                          หลายคนยังสงสัยเกี่ยวกับ  GAT   และ  PAT  คืออะไร  ดังนั้นเรามาทำความรู้จักกับ GAT   และ  PAT  กันก่อน 

            GAT คือ General Aptitude Test ความถนัดทั่วไป  ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

                                                                               รายละเอียดเกี่ยวกับ GAT

      1. ด้านที่วัด

      - การอ่านเชิงวิเคราะห์ การเขียนเชิงวิเคราะห์ การคิดเชิงวิเคราะห์ และการแก้โจทย์ปัญหา 50%
      - การสื่อสารทางภาษาอังกฤษ 50%

      2. ลักษณะข้อสอบ

      - ข้อสอบปรนัยและอัตนัย คะแนนเต็ม 300 คะแนน
      - ใช้เวลาสอบ 3 ชั่วโมง

      3. ผู้เข้าสอบ

      - เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ขึ้นไป นักเรียนต้องสมัครสอบด้วยตนเอง

      4. การจัดสอบ

      - ปีละ 3 ครั้ง ประมาณเดือนมกราคม พฤษภาคม ธันวาคม (กำหนดเวลาอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม)
      - คะแนนของการสอบแต่ละครั้งมีอายุความ 2 ปี (นับจากวันสอบ)

                       รู้จักกับ GAT  กันแล้ว  ต่อไปเราก็มาทำความรู้จักเกี่ยวกับ        PAT 

                       PAT คือ Professional Aptitude Test ความถนัดเฉพาะวิชาชีพ  ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

       

      รายละเอียดเกี่ยวกับ PAT

      1. ด้านที่วัด

      - เป็นการวัดเนื้อหาที่จะเป็นพื้นฐานของการเรียนต่อร่วมกันการวัดศักยภาพในแต่ละวิชาชีพ มีทั้งสิ้น 7 PAT ดังนี้

      PAT 1

      วัดศักยภาพทางคณิตศาสตร์
      1.1 เนื้อหาที่เป็นพื้นฐานการเรียนต่อ เช่น Algebra, Probability and Statistics, Conversion, Geometry, Trigonometry, Calculus ฯลฯ
      1.2 ศักยภาพ Perceptual Ability, Calculation skills, Quantitative Reasoning, Math Reading Skills

      PAT 2

      วัดศักยภาพทางวิทยาศาสตร์
      2.1 เนื้อหาที่จะเป็นพื้นฐานการเรียนต่อ เช่น ชีววิทยา เคมี ฟิสิกส์ Earth Sciences, Environment, ICT ฯลฯ
      2.2 ศักยภาพ เช่น Perceptual Ability, Calculation skills, Sciences Reading Ability, Science Problem Solving Ability ฯลฯ

      PAT 3

      วัดศักยภาพทางวิศวกรรมศาสตร์
      3.1 เนื้อหาที่จะเป็นพื้นฐานการเรียนต่อ เช่น Engineering Mathematics, Engineering Sciences, Life Sciences, IT ฯลฯ
      3.2 ศักยภาพ Space Relations, Multidimensional, Perceptual Ability, Calculation Skills,Engineering Reading Ability, Engineering Problem Solving Ability

      PAT 4

      วัดศักยภาพทางสถาปัตยกรรมศาสตร์
      4.1 เนื้อหาที่เป็นพื้นฐานการเรียนต่อ เช่น Architectural Math and Science
      4.2 ศักยภาพ Space Relations, Multidimensional, Perceptual Ability,
      Architectural Problem Solving Ability ฯลฯ

      PAT 5

      วัดศักยภาพทางครุศาสตร์ / ศึกษาศาสตร์
      5.1 เนื้อหาที่เป็นพื้นฐานการเรียนต่อ เช่นความรู้ในเนื้อหาภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมวิทยา มานุษยวิทยา สุขศึกษา ศิลปะ สิ่งแวดล้อม ฯลฯ
      5.2 ศักยภาพ ครุศึกษา (Pedagogy) ทักษะการอ่าน (Reading Skills) ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการศึกษาของประเทศไทย, การแก้ปัญหาที่เกิดจากนักเรียน ครู ผู้บริหารโรงเรียน ฯลฯ

      PAT 6

      วัดศักยภาพทางศิลปกรรมศาสตร์
      6.1 เนื้อหาที่เป็นพื้นฐานการเรียนต่อ เช่น
      - ทฤษฎีศิลปะ (ทัศนศิลป์ ดนตรี นาฏศิลป์)
      - ความรู้ทั่วไปทางศิลป์
      6.2 ศักยภาพ ความคิดสร้างสรรค์ ฯลฯ

      PAT 7
      วัดศักยภาพทางภาษาต่างประเทศที่ 2 (ฝรั่งเศส เยอรมัน ญี่ปุ่น จีน บาลี และอาหรับ)

      7.1 เนื้อหาที่จะเป็นพื้นฐานการเรียนต่อ เช่น Grammar, Vocabulary Culture, Pronunciation Functions
      7.2 ศักยภาพ Paraphasing, Summarizing Applying Concepts and Principles, Problem Solving skills, Critical Thinking skills, Questioning skills, Analytical skills

      2. ลักษณะข้อสอบ

      - ข้อสอบปรนัยและอัตนัย คะแนนเต็ม 300 คะแนน
      - ใช้เวลาสอบ 3 ชั่วโมง

      3. ผู้เข้าสอบ

      - เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ขึ้นไป นักเรียนต้องสมัครสอบด้วยตนเอง

      4. การจัดสอบ

      - ปีละ 3 ครั้ง ประมาณเดือน มีนาคม กรกฏาคม และ ตุลาคม
      - นักเรียนจะสมัครสอบกี่ครั้งก็ได้ เลือกใช้คะแนนที่ดีที่สุด
      - คะแนนของการสอบแต่ละครั้งมีอายุความ 2 ปี (นับจากวันสอบ)

       

       







































































                                                    ซึ่งในแต่ละกลุ่มสาขาวิชาก็จะมีองค์ประกอบและน้ำหนักในการคัดเลือกแตกต่างกัน  ดังนี้

      สรุปการกําหนดองค์ประกอบและน้ำหนักในการคัดเลือก ของแตละกลุ่มสาขาวิชา

      พ.ศ. 2553

       

      กลุมที่

      กลุ่มสาขาวิชา

      GPAX

      O-NET

      GAT

      PAT

      รวม

      1.

      กลุ่มวิทยาศาสตรสุขภาพ
      1.1 เภสัชศาสตร สหเวชศาสตร์
      สาธารณสุขศาสตร เทคนิคการแพทย
      วิทยาศาสตรการกีฬา พลศึกษา และสุขศึกษา

      20%

      30%

      20%

      P2 30%

      100%

       

      1.2 ทันตแพทยศาสตร พยาบาลศาสตร

      20%

      30%

      30%

      P2 20%

      100%

      2.

      กลุ่มวิทยาศาสตรกายภาพ
      2.1 วิทยาศาสตร ทรัพยากรธรรมชาติ เทคโนโลยีสารสนเทศ

      20%

      30%

      10%

      P1 10%
      P2 30%

      100%

      3.

      กลุ่มวิศวกรรมศาสตร

      20%

      30%

      15%

      P2 15% P3 20%

      100%

      4.

      กลุ่มสถาปตยกรรมศาสตร

      20%

      30%

      10%

      P4 40%

      100%

      5.

      กลุ่มเกษตรศาสตร
      เกษตรศาสตร อุตสาหกรรมเกษตร วนศาสตรเทคโนโลยีการเกษตร

      20%

      30%

      20%

      P1 10% P2 20%

      100%

      6.

      กลุ่มบริหาร พาณิชยศาสตร การบัญชี การทองเที่ยวและโรงแรม และเศรษฐศาสตร
      6.1 บริหารธุรกิจ พาณิชยศาสตร การบัญชีเศรษฐศาสตร



      20%



      30%



      30%



      P1 20%



      100%

       

      6.2 การท่องเที่ยว และโรงแรม
      แบบที่ 1
      แบบที่ 2


      20%

      20%


      30%

      30%


      50%

      40%


      -

      P7 20%


      100%

      100%

      7.

      กลุ่มครุศาสตร / ศึกษาศาสตร

      20%

      30%

      20%

      P5 30%

      100%

      8.

      กลุ่มศิลปกรรม ดุริยางคศิลป และนาฏยศิลป วิจิตรศิลป ศิลปะประยุกต ดุริยางคศิลป และนาฏยศิลป

      20%

      30%

      10%

      P6 40%

      100%

      9.

      กลุ่มมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร นิเทศศาสตร วารสารศาสตร อักษรศาสตร ศิลปศาสตร มนุษยศาสตร รัฐศาสตร นิติศาสตร สังคมวิทยา สังคมสงเคราะหศาสตร

       

       

       

       

       

       

      รูปแบบที่ 1 พื้นฐานวิทยาศาสตร

      20%

      30%

      40%

      P1 10%

      100%

       

      รูปแบบที่ 2 พื้นฐานศิลปศาสตร
      แบบที่ 1
      แบบที่ 2


      20%

      20%


      30%

      30%


      50%
      40%


      -

      10%


      100%
      100%

       

                                                                                                                 

                                                                                                                                                                                        
      นิการีมะห์  นิน๊ะ

                                                                                                                                                                                 อะห์ลาม  หะยีมะเย็ง

       

       

      ที่มา :  http://www2.eduzones.com/ezine/5782?page3=15&page2=&content_id=5782

      นิยายที่ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

      loading
      กำลังโหลด...

      คำนิยม Top

      ยังไม่มีคำนิยมของเรื่องนี้

      คำนิยมล่าสุด

      ยังไม่มีคำนิยมของเรื่องนี้

      ความคิดเห็น

      ×