Dek-D.com ใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสบการณ์ของ
ผู้ใช้ให้ดียิ่งขึ้น เรียนรู้เพิ่มเติมที่นี่
ยอมรับ

วิทยาการคอม ควรเรียนที่ไหนดีครับ

ตั้งกระทู้ใหม่
ตั้งกระทู้ใหม่
ครับ อยากรู้ว่าวิทยาการคอมที่เปงภาษาไทยควรเรียนที่ไหนดีอ่ะ เอาที่แบบสอนดีๆอ่ะครับ

แสดงความคิดเห็น

>

13 ความคิดเห็น

Dzeko 18 ต.ค. 54 เวลา 10:54 น. 1

ดังสุดก็จุฬา&nbsp แต่คะแนนสูง&nbsp รองลงมาน่าจะเป็น พระจอมเกล้าลาดกระบัง&nbsp กับ พระจอมเกล้าธนบุรี ครับ

0
kriss 31 พ.ค. 60 เวลา 04:12 น. 2-1

คณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.)

ปริญญาตรี : หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559) จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร 136 หน่วยกิต

มุ่งเน้นผลิตบัณฑิตเป็นนักคอมพิวเตอร์ที่สามารถวิเคราะห์ ออกแบบและพัฒนาระบบงานทางด้านคอมพิวเตอร์โดยใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยและเหมาะสม บัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาสามารถประกอบอาชีพในสายงานทางคอมพิวเตอร์ด้านต่างๆ อย่างเช่น ด้านการพัฒนาโปรแกรมบนเว็บและโมบายด์แอปพลิเคชัน ด้านการพัฒนาโปรแกรมระบบงานอินเตอร์เน็ตในทุกสรรพสิ่ง (IoT) ด้านการวิเคราะห์และออกแบบระบบงานสารสนเทศในองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน ด้านการทดสอบเพื่อให้มีซอฟต์แวร์ที่มีคุณภาพ ด้านการพัฒนาเกมและสื่อผสม ด้านการออกแบบและพัฒนาฐานข้อมูล คลังข้อมูล ด้านการวิเคราะห์ความรู้จากเหมืองข้อมูลและ Big Data ในแนวทางของนักวิทยาศาสตร์ข้อมูล (Data Scientist) ด้านการออกแบบและพัฒนาระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ด้านการจัดการระบบความปลอดภัยบนการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ (Cloud Computing System) ด้านการวิเคราะห์และปรับปรุงกระบวนการซอฟต์แวร์ เป็นต้น

การเรียนการสอนเป็นไปตามมาตรฐานหลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์ของประเทศ และประกอบด้วยกลุ่มวิชาเลือก ดังต่อไปนี้

- กลุ่มวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์

- กลุ่มวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์

- กลุ่มวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิกส์และมัลติมีเดีย

- กลุ่มวิชาการพัฒนาการแก้ปัญหาเชิงบูรณาการ

- กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ข้อมูลและอินเทอร์เน็ตในทุกสรรพสิ่ง

โดยมีกลุ่มวิชาการศึกษาทางเลือกแบ่งออกเป็น 3 ทางเลือก เพื่อให้นักศึกษาได้เลือกแนวทางที่เหมาะสมสำหรับตนเอง 1 ทางเลือก

1) โครงงานพิเศษ มีการจัดการเรียนการสอนที่ภาควิชา ในระยะเวลา 1 ปี

2) สหกิจศึกษา มีการจัดการเรียนการสอนแบบทำงานจริงที่บริษัทที่ทางภาควิชามีเครือข่าย ในระยะเวลา 6-7 เดือน

3) การศึกษาหรือการปฏิบัติการฝึกงานต่างประเทศ ในระยะเวลาไม่ต่ำกว่า 4 เดือน

เพื่อผลิตบัณฑิตทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ ที่มีคุณสมบัติดังนี้

(1) สามารถทำงานด้าน ICT รองรับทางด้านธุรกิจ ด้านอุตสาหกรรม เป็นต้น

(2) มีศักยภาพด้าน ICT เพื่อประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศ

(3) มีคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณอาชีพ

โดยอาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา คือ

(1) นักพัฒนาเว็บและโมบายด์แอปพลิเคชัน

(2) นักพัฒนาโปรแกรมระบบงานฝังตัว (Embedded System)

(3) นักพัฒนาโปรแกรมระบบงานอินเตอร์เน็ตในทุกสรรพสิ่ง (IoT : Internet of Things)

(4) นักพัฒนาระบบงานสารสนเทศ

(5) นักทดสอบโปรแกรมและระบบงานสารสนเทศ

(6) นักวิเคราะห์และปรับปรุงกระบวนการซอฟต์แวร์

(7) นักบริหารโครงการและจัดการกระบวนการผลิตซอฟต์แวร์เชิงอุตสาหกรรม

(8) นักวิเคราะห์และออกแบบระบบงานและฐานข้อมูล

(9) ผู้ดูแลและพัฒนาบนระบบฐานข้อมูล ระบบคลังข้อมูลและ Big Data

(10) นักวิทยาศาสตร์ข้อมูล (Data Scientist)

(11) ผู้ดูแลและจัดการระบบเครือแม่ข่ายและเครือข่ายคอมพิวเตอร์

(12) ผู้ดูแลและจัดการระบบความปลอดภัยบนการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ (Cloud Computing System)

==>> ขอฝากบอกนะครับ ....ถ้าไม่ชอบเขียนโปรแกรม ถ้าไม่ชอบวิเคราะห์โจทยปัญหาระบบงาน หรือ ถ้าไม่ชอบสมการด้าน Data Science ....ไม่ต้องมาสมัครนะครับ อึดอัดแน่นอนครับ

Web Site : http://www.comsci.science.kmitl.ac.th/cs/

ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ตึกจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์ 1 ชั้น 2 คณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

ถนนฉลองกรุง เขตลาดกระบัง กรุงเทพ 10520

โทร.02-329-8400 ถึง 8411 โทรสาร.02-329-8412

#วิทยาการคอมพิวเตอร์ลาดกระบัง

#ComScienceKMITL

0
aaaa 18 ต.ค. 54 เวลา 14:09 น. 3

จุฬา เกษตรก็เทพ ลาดกระบังน่าสนนะเปลี่ยนหลักสููตรเข้มข้นดี ไม่ต้องเรียนฟิสิกส์ เคมี ด้วยนะอิอิ

0
lolJAYlol 25 ต.ค. 54 เวลา 22:12 น. 10

เกษตรดังทางด้านวิศวะคอม วิทยาการคอมกับไอทียกให้ลาดกระบังกับบางมดละกัน
บางที่เค้าไม่มีไอทีหรือวิทยาการคอมในปริญญาตรีนะบางมหาลัย แต่เค้าจัดไปอยู่ในวิทยาการคอมประยุกต์อ่ะน้ะ ลองดูวิชาที่เรียนด้วยเนอะ

0
Kriss 30 พ.ค. 60 เวลา 09:58 น. 12

คณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.)

ปริญญาตรี : หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559) จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร 136 หน่วยกิต

มุ่งเน้นผลิตบัณฑิตเป็นนักคอมพิวเตอร์ที่สามารถวิเคราะห์ ออกแบบและพัฒนาระบบงานทางด้านคอมพิวเตอร์โดยใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยและเหมาะสม บัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาสามารถประกอบอาชีพในสาย

งานทางคอมพิวเตอร์ด้านต่างๆ อย่างเช่น ด้านการพัฒนาโปรแกรมบนเว็บและโมบายด์แอปพลิเคชัน ด้านการพัฒนาโปรแกรมระบบงานอินเตอร์เน็ตในทุกสรรพสิ่ง (IoT) ด้านการวิเคราะห์และออกแบบระบบงาน

สารสนเทศในองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน ด้านการทดสอบเพื่อให้มีซอฟต์แวร์ที่มีคุณภาพ ด้านการพัฒนาเกมและสื่อผสม ด้านการออกแบบและพัฒนาฐานข้อมูล คลังข้อมูล ด้านการวิเคราะห์ความรู้จากเหมือง

ข้อมูลและ Big Data ในแนวทางของนักวิทยาศาสตร์ข้อมูล (Data Scientist) ด้านการออกแบบและพัฒนาระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ด้านการจัดการระบบความปลอดภัยบนการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ (Cloud

Computing System) ด้านการวิเคราะห์และปรับปรุงกระบวนการซอฟต์แวร์ เป็นต้น

การเรียนการสอนเป็นไปตามมาตรฐานหลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์ของประเทศ และประกอบด้วยกลุ่มวิชาเลือก ดังต่อไปนี้

- กลุ่มวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์

- กลุ่มวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์

- กลุ่มวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิกส์และมัลติมีเดีย

- กลุ่มวิชาการพัฒนาการแก้ปัญหาเชิงบูรณาการ

- กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ข้อมูลและอินเทอร์เน็ตในทุกสรรพสิ่ง

โดยมีกลุ่มวิชาการศึกษาทางเลือกแบ่งออกเป็น 3 ทางเลือก เพื่อให้นักศึกษาได้เลือกแนวทางที่เหมาะสมสำหรับตนเอง 1 ทางเลือก

1) โครงงานพิเศษ มีการจัดการเรียนการสอนที่ภาควิชา ในระยะเวลา 1 ปี

2) สหกิจศึกษา มีการจัดการเรียนการสอนแบบทำงานจริงที่บริษัทที่ทางภาควิชามีเครือข่าย ในระยะเวลา 6-7 เดือน

3) การศึกษาหรือการปฏิบัติการฝึกงานต่างประเทศ ในระยะเวลาไม่ต่ำกว่า 4 เดือน

เพื่อผลิตบัณฑิตทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ ที่มีคุณสมบัติดังนี้

(1) สามารถทำงานด้าน ICT รองรับทางด้านธุรกิจ ด้านอุตสาหกรรม เป็นต้น

(2) มีศักยภาพด้าน ICT เพื่อประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศ

(3) มีคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณอาชีพ

โดยอาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา คือ

(1) นักพัฒนาเว็บและโมบายด์แอปพลิเคชัน

(2) นักพัฒนาโปรแกรมระบบงานฝังตัว (Embedded System)

(3) นักพัฒนาโปรแกรมระบบงานอินเตอร์เน็ตในทุกสรรพสิ่ง (IoT : Internet of Things)

(4) นักพัฒนาระบบงานสารสนเทศ

(5) นักทดสอบโปรแกรมและระบบงานสารสนเทศ

(6) นักวิเคราะห์และปรับปรุงกระบวนการซอฟต์แวร์

(7) นักบริหารโครงการและจัดการกระบวนการผลิตซอฟต์แวร์เชิงอุตสาหกรรม

(8) นักวิเคราะห์และออกแบบระบบงานและฐานข้อมูล

(9) ผู้ดูแลและพัฒนาบนระบบฐานข้อมูล ระบบคลังข้อมูลและ Big Data

(10) นักวิทยาศาสตร์ข้อมูล (Data Scientist)

(11) ผู้ดูแลและจัดการระบบเครือแม่ข่ายและเครือข่ายคอมพิวเตอร์

(12) ผู้ดูแลและจัดการระบบความปลอดภัยบนการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ (Cloud Computing System)

==>> ขอฝากบอกนะครับ ....ถ้าไม่ชอบเขียนโปรแกรม ถ้าไม่ชอบวิเคราะห์โจทยปัญหาระบบงาน หรือ ถ้าไม่ชอบสมการด้าน Data Science ....ไม่ต้องมาสมัครนะครับ อึดอัดแน่นอนครับ

Web Site : http://www.comsci.science.kmitl.ac.th/cs/

ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ตึกจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์ 1 ชั้น 2 คณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

ถนนฉลองกรุง เขตลาดกระบัง กรุงเทพ 10520

โทร.02-329-8400 ถึง 8411 โทรสาร.02-329-8412

#วิทยาการคอมพิวเตอร์ลาดกระบัง

#ComScienceKMITL

0
Kriss 30 พ.ค. 60 เวลา 10:00 น. 13

คณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.)

ปริญญาตรี : หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559) จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร 136 หน่วยกิต

มุ่งเน้นผลิตบัณฑิตเป็นนักคอมพิวเตอร์ที่สามารถวิเคราะห์ ออกแบบและพัฒนาระบบงานทางด้านคอมพิวเตอร์โดยใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยและเหมาะสม บัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาสามารประกอบอาชีพในสายงานทางคอมพิวเตอร์ด้านต่างๆ อย่างเช่น ด้านการพัฒนาโปรแกรมบนเว็บและโมบายด์แอปพลิเคชัน ด้านการพัฒนาโปรแกรมระบบงานอินเตอร์เน็ตในทุกสรรพสิ่ง (IoT) ด้านการวิเคราะห์และออกแบบระบบงานสารสนเทศในองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน ด้านการทดสอบเพื่อให้มีซอฟต์แวร์ที่มีคุณภาพ ด้านการพัฒนาเกมและสื่อผสม ด้านการออกแบบและพัฒนาฐานข้อมูล คลังข้อมูล ด้านการวิเคราะห์ความรู้จากเหมืองข้อมูลและ Big Data ในแนวทางของนักวิทยาศาสตร์ข้อมูล (Data Scientist) ด้านการออกแบบและพัฒนาระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ด้านการจัดการระบบความปลอดภัยบนการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ (Cloud Computing System) ด้านการวิเคราะห์และปรับปรุงกระบวนการซอฟต์แวร์ เป็นต้น

การเรียนการสอนเป็นไปตามมาตรฐานหลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์ของประเทศ และประกอบด้วยกลุ่มวิชาเลือก ดังต่อไปนี้

- กลุ่มวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์

- กลุ่มวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์

- กลุ่มวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิกส์และมัลติมีเดีย

- กลุ่มวิชาการพัฒนาการแก้ปัญหาเชิงบูรณาการ

- กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ข้อมูลและอินเทอร์เน็ตในทุกสรรพสิ่ง

โดยมีกลุ่มวิชาการศึกษาทางเลือกแบ่งออกเป็น 3 ทางเลือก เพื่อให้นักศึกษาได้เลือกแนวทางที่เหมาะสมสำหรับตนเอง 1 ทางเลือก

1) โครงงานพิเศษ มีการจัดการเรียนการสอนที่ภาควิชา ในระยะเวลา 1 ปี

2) สหกิจศึกษา มีการจัดการเรียนการสอนแบบทำงานจริงที่บริษัทที่ทางภาควิชามีเครือข่าย ในระยะเวลา 6-7 เดือน

3) การศึกษาหรือการปฏิบัติการฝึกงานต่างประเทศ ในระยะเวลาไม่ต่ำกว่า 4 เดือน

เพื่อผลิตบัณฑิตทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ ที่มีคุณสมบัติดังนี้

(1) สามารถทำงานด้าน ICT รองรับทางด้านธุรกิจ ด้านอุตสาหกรรม เป็นต้น

(2) มีศักยภาพด้าน ICT เพื่อประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศ

(3) มีคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณอาชีพ

โดยอาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา คือ

(1) นักพัฒนาเว็บและโมบายด์แอปพลิเคชัน

(2) นักพัฒนาโปรแกรมระบบงานฝังตัว (Embedded System)

(3) นักพัฒนาโปรแกรมระบบงานอินเตอร์เน็ตในทุกสรรพสิ่ง (IoT : Internet of Things)

(4) นักพัฒนาระบบงานสารสนเทศ

(5) นักทดสอบโปรแกรมและระบบงานสารสนเทศ

(6) นักวิเคราะห์และปรับปรุงกระบวนการซอฟต์แวร์

(7) นักบริหารโครงการและจัดการกระบวนการผลิตซอฟต์แวร์เชิงอุตสาหกรรม

(8) นักวิเคราะห์และออกแบบระบบงานและฐานข้อมูล

(9) ผู้ดูแลและพัฒนาบนระบบฐานข้อมูล ระบบคลังข้อมูลและ Big Data

(10) นักวิทยาศาสตร์ข้อมูล (Data Scientist)

(11) ผู้ดูแลและจัดการระบบเครือแม่ข่ายและเครือข่ายคอมพิวเตอร์

(12) ผู้ดูแลและจัดการระบบความปลอดภัยบนการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ (Cloud Computing System)


==>> ขอฝากบอกนะครับ ....ถ้าไม่ชอบเขียนโปรแกรม ถ้าไม่ชอบวิเคราะห์โจทยปัญหาระบบงาน หรือ ถ้าไม่ชอบสมการด้าน Data Science ....ไม่ต้องมาสมัครนะครับ อึดอัดแน่นอนครับ

Web Site : http://www.comsci.science.kmitl.ac.th/cs/


ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ตึกจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์ 1 ชั้น 2 คณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

ถนนฉลองกรุง เขตลาดกระบัง กรุงเทพ 10520

โทร.02-329-8400 ถึง 8411 โทรสาร.02-329-8412

#วิทยาการคอมพิวเตอร์ลาดกระบัง

#ComScienceKMITL

0