Dek-D.com ใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสบการณ์ของ
ผู้ใช้ให้ดียิ่งขึ้น เรียนรู้เพิ่มเติมที่นี่
ยอมรับ

>>>อวกาศ จักรวาล ดาวฤกษ์ ดาวเคราห์ ระบบสุริยะ ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง อุกกาบาต เนบิวลา<<< นิดๆหน่อยๆน้อยๆนิดๆ

ตั้งกระทู้ใหม่
ตั้งกระทู้ใหม่

อวกาศ

อวกาศหมายถึงพื้นที่ว่างทั้งมวลในเอกภพ โดยที่ทั้งโลก ดาวเคราะห์ กาแลกซี และเทหฟากฟ้าอื่นๆ ก็กำลังเคลื่อนที่อยู่ใน อวกาศ ใน เอกภพ ด้วยเหตุนี้เองไม่ว่าเราจะเริ่มต้นเดินทางออกจากเทหฟากฟ้าใดๆก็ตาม เราจะต้องออกเผชิญกับอวกาศตลอดเวลา แต่ก็จะมีปัญหาเกิดขึ้นว่า "อวกาศเริ่มต้นจากไหน" เช่นถ้าลองมาคิดว่าเมื่อเราจะเดินทางออกจากโลกของเรา เมื่อไรถึงจะเป็นจุดเริ่มต้นของอวกาศเราก็น่าจะลองคิดทบทวนดูตามลำดับดังนี้ ว่าวติดลมอยู๋ในชั้นโทรโพสเฟียร์ บอลลูนก็ขึ้นไปแค่ชั้นโทรโพสเฟียร์ หรือแม้แต่เครื่องบินก็อยู่ในชั้นบรรยากาศสตราโตสเฟียร์ แต่ส่วนนอกสุดของบรรยากาศเราถือว่าเป็นอวกาศ ดังนั้นเมื่อคิดจากโลกเราจึงพอจะสรุปได้ว่า "อวกาศควรจะเริ่มต้น ณ ที่หนึ่งที่ใดในส่วนของบรรยากาศที่เจือจาง" และเป็นที่ยอมรับกันว่า อวกาศส่วนใกล้ เริ่มต้นจากราวๆ120ไมล์จากผิวโลกซึ่งอยู่ในชั้นไอโอโนสเฟียร์ อวกาศส่วนลึกแผ่ขยายคลุมไปถึงดวงจันทร์ และส่วนที่ต่อจากอวกาศส่วนลึกก็เป็น อวกาศส่วนนอก แต่ในบางครั้งก็จะแยก อวกาศส่วนนอกออกเป็น อวกาศส่วนใน หรือ อวกาศระหว่างดาวเคราะห์     อวกาศส่วนกลาง หรือ อวกาศระหว่างดวงดาว และอวกาศส่วนนอก หรือ อวกาศระหว่างกาแลกซี่ ซึ่งเรามีวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับอวกาศเราเรียกว่า วิทยาศาสตร์อวกาศ

The Universe

                               เป็นเรื่องที่เป็นไปไม่ได้เอาเสียเลย สำหรับมนุษย์ที่จะรู้ขนาดของจักรวาล เราไม่เพียงไม่รู้ว่าจักรวาลใหญ่แค่ไหนหากยังลำบากในการ จินตนาการว่ามันจะใหญ่แค่ไหนอีกด้วย หากเราเริ่มจากโลกของเรา และค่อยๆเคลื่อนออกไป โลกของเราเป็นส่วนเล็กๆของ ระบบสุริยจักรวาลซึ่งประกอบ ไปด้วยดวงอาทิตย์ ดาวเคราะห์ที่ โคจรรอบๆดวงอาทิตย์ และดาวดวงเล็กอื่นๆ และระบบสุริยจักรวาลก็เป็นเพียงส่วนเล็กๆส่วนหนึ่งของสิ่งที่เรา เรียกว่า กาแล็กซี่ ซึ่งประกอบไปด้วยดาวหลายล้านดวง และในบรรดาดาวเหล่านี้ มีดาวไม่น้อยที่มีขนาดใหญ่กว่า วงอาทิตย์ของเรา มากนัก และอาจมีระบบสุริยะของมันเอง

                                ดังนั้นดาวทุกดวงที่เรามองเห็นในกาแล็กซี่ของเราซึ่งเรียกว่า ทางช้างเผือกนั้นล้วน เป็นดวงอาทิตย์ ดาวเหล่านี้ อยู่ห่างจากเรามากจนต้องใช้ หน่วยวัดเป็นปีแสงแทนที่จะเป็นไมล์ ใน 1 ปีแสงเดินทางได้ประมาณ 6,000,000,000,000 ไมล์ ดาวที่ส่องแสงสว่าง ที่อยู่ใกล้โลกเรา มากที่สุดคือ Alpha Centauri ซึ่งห่างจากโลกเราประมาณ 25,000,000,000,000 ไมล์ อย่าลืมว่าตอนนี้เรากำลังพูดถึง กาแล็กซี่ของเราเท่านั้นที่ประมาณว่า มีความกว้าง ประมาณ100,000 ปีแสง หรือ 100,000 x 6,000,000,000,000 ไมล์! และกาแล็กซี่ของเราเป็นเพียง ส่วนประกอบเล็กๆของระบบที่ใหญ่กว่าอาจจะมี หลายล้านกาแล็กซี่นอกจากทางช้างเผือก ของเรา และกาแล็กซี่เหล่านี้อาจจะเป็น ส่วนประกอบ เล็กๆของระบบที่ใหญ่ ขึ้นไปกว่า จะเห็นได้ว่าเป็นไปไม่ได้เลย ที่เราจะรู้ขนาดของจักรวาล และโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อ นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่า จักรวาลนั้นกำลังขยายขนาด ขึ้นเรื่อยๆ นั่นหมายความว่า ทุกๆ 2 พันล้านปี กาแล็กซี่ 2 กาแล็กซี่จะมีระยะทางห่างกัน2 เท่า

  ดาวฤกษ์

                           ดาวฤกษ์ก็คือ ดวงอาทิตย์ ดวงหนึ่ง ที่อยู่ห่างไกล โลกของเราออกไปมาก จนมีแสงริบหรี่ ดาวฤกษ์ดวงที่อยู่ใกล้โลกที่สุด(ไม่นับดวงอาทิตย์) คือ ดาว Proxyma Centauri ซึ่งอยู่ห่างโลก เป็นระยะทางไกลมาก และไม่นิยมบอกระยะห่าง จากโลกเราเป็น กิโลเมตร หรือเป็นไมล์ เพราะจะมีตัวเลขมากมาย เกินไป แต่จะใช้หน่วย ปีแสง แทน ดาว Proxyma Centauri นั้นอยู่ห่างจากโลก ประมาณ 4.2 ปีแสง คือ ณ ขณะหนึ่งขณะใดที่เรามองดูดาวดวงนี้ หมายถึงว่า เรากำลังมองดูแสงและเหตุการณ์ ที่เกิดขึ้นบนดาวดวงนี้ เมื่อ 4.2 ปีมาแล้ว    เนื่องจากดวงอาทิตย์ เป็นดาวฤกษ์ ดวงหนึ่ง นักวิทยาศาสตร์ จึงสันนิษฐาน ว่าน่าจะมีดาวเคราะห์ เป็นบริวารของ ดาวฤกษ์ดวงอื่นๆ ด้วยเช่นเดียวกัน ซึ่งในขณะนี้ กำลังมีการศึกษา ค้นคว้าในเรื่องดังกล่าวกันมาก

                                        ดาวฤกษ์มีพลังงานมหาศาลมากเนื่องจากพลังงานจากดาวฤกษ์นั้นเป็นพลังงานNuclear Fusion ซึ่งจะให้พลังงานออกมามากมาย มหาศาลซึ่งในโลกเรายังไม่มีการใช้พลังงานNuclearชนิดนี้เนื่องจาก ไม่สามารถที่จะควบคุมการปล่อยพลังงานออกมาได้ซึ่งอาจทำให้โลกเรานั้นถูกทำลายได้ ดาวฤกษ์ที่เกิดใหม่ๆนั้นจะมีสี น้ำเงิน ซึ่งจะมีพลังงานและอุณหภูมิสูงมาก ดาวฤกษ์มักมีบริวารเป็นดาวเคราะห์ต่างๆ อุกกาบาต  ดาวหาง เป็นต้นซึ่งเมื่ออยู่รวมตัว กันกับดาวฤกษ์แล้วเราก็จะ เรียกว่า ระบบสุริยะ SolarSystem อย่างเช่นระบบสุริยะ ที่โลกเราอยู่ อิอิเรื่องดาวฤกษ์นี่หารูปมะล่ายง่า

 ดาวเคราะห์
        เป็นบริวารของดวงอาทิตย์ และโคจรรอบดวงอาทิตย์ เป็นวงโคจรที่แน่นอน มีจำนวน 9 ดวง เรียงตามลำดับ จากจุดศูนย์กลาง คือดวงอาทิตย์ ออกไปดังนี้คือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน และดาวพลูโต โดย โลก เป็น ดาวเคราะห์ เพียงดวงเดียวเท่านั้น ที่มีสิ่งมีชีวิต อาศัยอยู่ นักวิทยาศาสตร์ สามารถคำนวณหาตำแหน่ง การเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ ทั้งหมดได้โดยใช้ คณิตศาสตร์ และทฤษฎีทางฟิสิกส์

 
การจำแนกดาวเคราะห์ที่เป็นบริวารของดวงอาทิตย์
1.ใช้ตำแหน่งโลกเป็นหลัก ดาวเคราะห์ใดมีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่ในวงโคจรโลก เรียกว่า"ดาวเคราะห์วงใน(Inferior Planets)  ดาวเคราะห์ใดมีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์นอกวงโคจรโลก เรียกว่า"ดาวเคราะห์วงนอก(Superior Planets)"
2.ใช้ตำแหน่งดาวเคราะห ์น้อยเป็นหลัก โดยแบ่งเป็น 2 พวก คือดาวเคราะห์ที่มีวงโคจรของดาวเคราะห์น้อยเรียกว่า"ดาวเคราะห์ใน(inner planets)"ดาวเคราะห์ที่มีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่นอกวงโคจรดาวเคราะห์น้อยเรียกว่า"ดาวเคราะห์นอก(super planets)"
3.ใช้สมบัติทางฟิสิกส์ ดาวเคราะห์ใดมีสมบัติทางฟิสิกส์คล้ายกับโลกเช่น มีขนาดเล็กเรียก Terrestrid Planetsดาวเคราะห์ที่คล้ายดาวเคราะห์ขนาดใหญ่เรียกว่า Jovian Planets
 วิเคราะห์ลักษณะเด่นของดาวเคราะห์บริวารของดวงอาทิตย์
-ดาวพุธเล็กที่สุด,ดาวพฤหัสใหญ่ที่สุด
-ดาวพุธ,ดาวศุกร์ 2 ดวงนี้รูปร่างเกือบเป็นวงกลมเหมือนดวงจันทร์และดวงอาทิตย์
-ดางศุกร์,ดาวเนปจูนมีวงทางโคจรรอบดวงอาทิตย์เกือบเป็นวงกลม
-โลกเป็นดาวที่มีมนุษย์อาศัยอยู่


                                      


มวลของสมาชิกในระบบสุริยะ
ดวงอาทิตย์ 99.85 %
เหล่าดาวเคราะห์ 0.135 %
เหล่าดาวหาง 0.01 %
บริวารของดาวเคราะห์ 0.00005 %
ดาวเคราะห์น้อย 0.0000002 %
อุกกาบาต 0.0000001 %

องค์ประกอบของระบบสุริยะ
ระบบสุริยะประกอบด้วยดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางและเหล่าสมาชิกโคจรโดยรอบ คือ ดาวเคราะห์ 9 ดวง บริวารของดาวเคราะห์ ดาวหาง ดาวเคราะห์น้อยและอุกกาบาต เมื่อเปรียบเทียบมวลของสมาชิกในระบบสุริยะ ดวงอาทิตย์มีมวลมากที่สุดถึง 99.85% ขณะที่ดาวเคราะห์ทุกดวงรวมกันมีมวลเพียง 0.01355 % ซึ่งดาวพฤหัสบดีมีมวลสูงเป็น 2.5 เท่าของมวลดาวเคราะห์อื่น ๆ ทุกดวงรวมกัน
ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งกำเนิดพลังงานที่ใหญ่ที่สุดแผ่พลังงานออกไปในระบบสุริยะโดยรอบในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

ขนาดของระบบสุริยจักรวาล
การวัดระยะทางภายในระบบสุริยจักรวาลใช้ระบบการวัดหลายระบบด้วยกัน ส่วนใหญ่จะใช้หน่วยวัดเป็นไมล์ ระยะทาง จากดวงอาทิตย์ไปยังดาวเคราะห์ที่ไกลที่สุดที่ค้นพบว่ามีอยู่ปัจจุบัน คือ ดาวเคราะห์พลูโต มีระยะทาง 39.4 หน่วยดาราศาสตร์ในขณะดวงดาว(ดาวฤกษ์)ที่อยู่ ใกล้เรามากที่สุดห่างออกไป 1.33 พาร์เซค (4.35 ปีแสง) วงโคจรของดาวหาง ซึ่งเป็นวงยาวรืมากจะเป็นวงจรอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ไกลออกไปหลายร้อยหรือหลายพัน หน่วยดาราศาสตร์ แต่บริเวณเลยดาวเคราะห์พลูโตออกไป เป็นบริเวณกว้างใหญ่ไพศาลของอวกาศที่มีแต่ความว่างเปล่า ดังนั้นสมาชิกของระบบสุริยจักรวาล จึงห้อมล้อม ด้วยอวกาศและเมื่อเปรียบขนาดของสุริยจักรวาลกับขนาดของกาแลคซี่ทางช้างเผือกซึ่งสุริยจักรวาลของเราเป็นสมาชิกอยู่ ระบบสุริยจักรวาลจะเป็นเพียงจุดเล็กๆจุดหนึ่ง ที่ปราศจากความสำคัญใดๆและจะกลายเป็นเรื่องยากลำบากยิ่ง ในการค้นหาระบบสุริยจักรวาลของเราให้พบเมื่อสังเกตการณ์จากดวงดาวที่อยู่ใกล้สุริยจักรวาลที่สุด ยกเว้น แต่จะมองเห็นดวงอาทิตย์ของเราเพียงดวงเดียวเท่านั้น

ตำแหน่งของระบบสุริยะในกาแล็กซีทางช้างเผือก
ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ดวงหนึ่ง อยู่ในอาณาจักแห่งดวงดาว ที่เรียกว่า กาแล็กซีทางช้างเผือก (The milky Way) หรือ กาแล็กซีของเรา ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกดาวฤกษ์มากมายประมาณ 2 แสนล้านดวง มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 แสนปีแสง ระบบสุริยะอยู่ห่างจากศูนย์กลางราว 32600 ปีแสง ดวงอาทิตย์พาเหล่าบริวารโคจรครบรอบกาแล็กซีในเวลา 225 ล้านปี
เมื่อมองจากอวกาศเหนือขั้วโลกเหนือของดวงอาทิตย์ สมาชิกในระบบสุริยะโคจรรอบดวงอาทิตย์ในทิศทาง ทวนเข็มนาฬิกาไปทางเดียวกัน
ดาวเคราะห์ทั้งหลายต่างโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่ในระนาบใกล้เคียงกัน กับระนาบที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ซึ่งเรียกว่า ระนาบสุริยวิถี (Ecliptic) มีแต่ดาวพลูโตดวงเดียวที่มีวงโคจรรีมาก และเอียงออกจากระนาบสุริยวิถีมากถึง 18 องศา

กำเนิดระบบสุริยะ
สันนิษฐานว่าระบบสุริยะมีกำเนิดมาจากกลุ่มก๊าซและฝุ่นขนาดมหึมาที่หมุนรอบศูนย์กลางเมื่อประมาณ 5000 ล้านปีก่อน มวลสารหมุนวนทำให้มีลักษณะเป็นจานแบนเมื่ออุณหภูมิรอบนอกค่อย ๆเย็นตัวลง มวลสารรวมตัวกันเกิดเป็นดาวเคราะห์และสมาชิกบริวารโคจรรอบดวงอาทิตย์ไปทางเดียวกันและอยู่ในระนาบใกล้เคียงกัน เช่นทุกวันนี้

ประเภทของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ
ดาวเคราะห์ชั้นใน (Inner Planets)
เป็นกลุ่มดาวเคราะห์ทีมีลักษณะคล้ายโลก (The Terrestrial Planet) คือมีพื้นผิวเป็นหินแข็งอย่างโลก ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคาร ขณะที่ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคารมีบรรยากาศห่อหุ้มชัดเจน แต่ดาวพุธเกือบไม่มีบรรยากาศเลย

ดาวเคราะห์ชั้นนอก (Outer Planets)
เป็นกลุ่มดาวเคราะห์ที่มีลักษณะคล้ายดาวพฤหัสบดี (The Jovian Planets) คือเป็นดาวเคราะห์ก๊าซซึ่งอาจมีแกนแข็งขนาดเล็กอยู่ที่ใจกลางและ มีขนาดใหญ่มากเมื่อเทียบกับโลกได้แก่ ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน

ดาวพลูโตดวงโดดเดี่ยว
ดาวพลูโตเป็นดาวเคราะห์ที่มีลักษณะพิเศษประกอบด้วยหินและน้ำแข็งจึงมีลักษณะคล้ายโลก แต่วงโคจรไกลเลยจากวงโคจรของดาวเนปจูนออกไป มนุษย์ยังมีความรรู้เรื่องดาวพลูโตน้อยมาก เนื่องจากวงโคจรของดาวพลูโตเอียงออกจากระนาบของ สุริยวิถีมากจึงมีบางช่วงนานราว 20 ปี ที่ดาวพลูโตโคจรอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าดาวเนปจูน บรรยากาศอาจเกิดจากมีเทนแข็งระเหิด ขณะเมื่อพลูโตเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ แต่เมื่ออยู่ไกลจากดวงอาทิตย์ตามปกติ ดาวพลูโตอาจเย็นจัดเป็นก้อนน้ำแข็งและไม่มีบรรยากาศก็เป็นได้


สัญลักษณ์ของดวงอาทิตย์   -------------->>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>            

ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ชั้น G2  เป็นเพียงสมาชิกหนึ่งในบรรดาดาวฤกษ์หนึ่งแสนล้านดวง ในกาแล๊กซี่ทางช้างเผือก

เส้นผ่านศูนย์กลาง: 1,390,000 ก.ม.
มวล: 1.989 x 1030 ก.ก.
อุณหภูมิ: 5800 เคลวิน (พื้นผิว) 15,600,000 K (แกน)

ดวงอาทิตย์ เป็นเทหวัตถุ ที่ใหญ่ที่สุด ในระบบสุริยะ คิดเป็นมวลมากกว่า 99.8% ของมวลทั้งระบบ (ที่เหลือเกือบทั้งหมดเป็น
ดาวพฤหัสบด )

ด วงอาทิตย์ มีชื่อเรียกหลายชื่อในเทพนิยาย: กรีกเรียกว่า เฮลิออส โรมันเรียกว่า ซอล

ในปัจจุบันดวงอาทิตย์ประกอบด้วย ไฮโดรเจน 75% และ ฮีเลียม 25% นับโดยมวล (ไฮโดรเจน 92.1% และฮีเลียม 7.8% นับโดยจำนวนอะตอม) ที่เหลือจำนวน 0.1% เป็น "โลหะ"  X ส่วนเหล่านี้เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ โดยดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจนในแกนของมันให้กลายเป็นฮีเลียม

ชั้นนอกของดวงอาทิตย์มีการเคลื่อนที่แบบ differential rotation กล่าวคือ ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตร หมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบใช้เวลา 25.4 วัน แต่บริเวณขั้ว หมุนหนึ่งรอบใช้เวลาถึง 36 วัน พฤติกรรมเช่นนี้แสดงว่าดวงอาทิตย์มิได้เป็นของแข็ง (solid body) เฉกเข่นโลก แต่คล้ายกับ ดาวเคราะห์แก๊ส ลักษณะการหมุนเช่นนี้เกิดขึ้นในแนวลึกลงไปด้วย ยกเว้นตรงแกนของดวงอาทิตย์ หมุนรอบตัวในลักษณะแบบของแข็ง

แกนของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิสูงถึง 15.6 ล้านเคลวิน และมีความกดดัน 250 พันล้าน หน่วยบรรยากาศ แก๊สที่แกนกลางถูกอัดตัวให้มีความหนาแน่นมากกว่าน้ำถึง 150 เท่า

พลังงานของดวงอาทิตย์  ผลิตโดยปฏิกริยา นิวเคลียร์ฟิวชั่น ทุก ๆ หนึ่งวินาที ดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจน 700,000,000 ตัน ให้กลายเป็นฮีเลียม 695,000,000 ตัน และพลังงานในรูปของรังสีแกมม่าอีกจำนวน 5,000,000 ตัน พุ่งตรงมายังพื้นผิว จากนั้นพลังงานถูกดูดกลืนเข้าไปและเปล่งออกอีก ทำให้อุณหภูมิลดต่ำลงเมื่อถึงพื้นผิว กลายเป็นแสงที่เรามองเห็นได้; ณ ข่วง 20% สุดท้ายก่อนที่จะถึงพื้นผิว พลังงานส่วนใหญ่ม้วนตัวกลับ ( convection ) มากกว่าที่จะแผ่รังสีออก

 พื้นผิวของดวงอาทิตย์เรียกว่า ชั้นโฟโตสเฟียร์ มีอุณหภมิประมาณ 5,800 เคลวิน; จุดบนดวงอาทิตย์ (Sunspots) เป็นย่านที่อุณหภูมิต่ำเพียง 3,800 เคลวิน (มันดูมืดเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณรอบ ๆ) จุดบนดวงอาทิตย์อาจมีขนาดใหญ่ถึง 50,000 ก.ม. มันเกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สลับซับซ้อน และยังไม่เข้าใจดีนัก ว่าเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์อย่างไร

เหนือขึ้นมาจากชั้นโฟโตสเฟียร์ มีชั้นเล็ก ๆ เรียกว่า โครโมสเฟียร์

 ชั้นที่อยู่เหนือโครโมสเฟียร์ เราเรียกว่า โคโรน่า มันแผ่ออกไปในอวกาศหลายล้านกิโลเมตร แต่จะมองเห็นได้เฉพาะเวลาที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงเท่านั้น โคโคน่ามีอุณหภูมิสูงมากกว่า 1,000,000 เคลวิน

ส นามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์มีความเข้มและซับซ้อนมาก เขต แมกเนโตสเฟียร์ (ซึ่งบางทีเรียกว่า เฮลิโอสเฟียร์) แผ่ขยายออกไปไกลกว่า ดาวพลูโต

 นอกเหนือจากความร้อนและแสง ดวงอาทิตย์แพร่อนุภาคความหนาแน่นต่ำ (ส่วนมากเป็นอิเล็กตรอนและโปรตอน) ซึ่งรู้จักกันในนามของลมสุริยะ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 450 ก.ม./วินาที ลมสุริยะและอนุภาคซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า ถูกพ่นออกโดย solar flares สามารถรบกวนสายไฟฟ้าแรงสูง คลื่นวิทยุะ และทำให้เกิดปรากฏการณ์แสงเหนือแสงใต้ที่งดงาม

 ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณ 4.5 ล้านปี นับตั้งแต่กำเนิดมามันได้เผาผลาญไฮโดรเจนในแกนของมันไปประมาณครึ่งหนึ่ง มันยังคงแผ่รังสีอย่างสงบต่อไปอีกประมาณ 5 ล้านปี (ความสว่างจะมากขึ้นเป็นสองเท่าเมื่อถึงเวลานั้น) และเมื่อไฮโดรเจนหมดลง ขนาดของมันจะใหญ่ขึ้นจนกลืนโลกเข้าไป 

ดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์น้อยเป็นเทห์วัตถุ บนท้องฟ้า อีกชนิดหนึ่ง และเป็นบริวาร ที่โคจรรอบ ดวงอาทิตย์คล้ายๆ ดาวเคราะห์ แต่มักมีขนาดเล็ก โดยส่วนใหญ่ จะโคจรอยู่ในบริเวณ ระหว่าง ดาวอังคาร และดาวพฤหัส ข้อมูลปัจจุบัน ประมาณว่า มีดาวเคราะห์น้อย อยู่ประมาณ 30,000 ดวง ถึง 50,000 ดวง แต่มีเพียงไม่กี่ดวง ที่สามารถใช้ กล้องโทรทัศน์ขนาดเล็ก ส่องดูได้ ดาวเคราะห์น้อย บางดวงมีวงโคจร เปลี่ยนไป เปลี่ยนมา เมื่อโคจรผ่านดาวเคราะห์ ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัส จะถูกแรงดึงดูด รบกวนจน ทำให้วงโคจร ของดาวเคราะห์น้อย แปรเปลี่ยนไป ซึ่งบางดวง อาจโคจร เข้ามาใกล้โลกของเรา และอาจจะเกิด อันตรายต่อโลก ของเราได้ แต่มีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยมาก แต่ก็มีการนำเรื่อง ดังกล่าว ไปสร้าง เป็นภาพยนตร์ ที่หลายคน อาจจะได้ดูเมื่อ เร็วๆนี้ คือเรื่อง "Armageddon" ที่ทำเงิน จากการฉายทั่วโลกได้มากมาย   อืมเรื่องนี้ไม่มีรูปประกอบนะหาไม่ได้อ่ะ

ดาวหาง

ดาวหางเป็นเทหวัตถุมีมวลน้อยมาก หมุนอยู่รอบดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกับสมาชิกอื่นๆในระบบสุริยจักรวาลของเรา รูปร่างและความสว่างของดาวหางแต่ละดวงมีความแตกต่างกันออกไปตามระยะทางที่มันอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์ ดาวหางดวงที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นระยะทางไกลๆจะมีความสว่างน้อยมาก มองเห็นคล้ายๆว่าเป็นดวงดาวดวงหนึ่งเท่านั้น ส่วนประกอบสำคัญของดาวหางคือเทหวัตถุขนาดเล็กๆอยู่ในบริเวณตอนหัวของมันเรียกว่า นิวเคลียส

ปรากฏการณ์ของดาวหาง

ในอดีตมนุษย์มักจะมีความหวาดกลัวปรากฏการณ์ของดาวหางทั้งนี้เพราะมองเห็นว่าดาวหางปรากฏตัวขึ้นมาอย่าง กะทันหัน และมีแสงสุกใสมีเส้นทางโคจรลึกลับและบางครั้งดาวหางก็เปลี่ยนแปลงรูปร่างของมันไปอย่างรวดเร็ว

การโคจรของดาวหาง

วงโคจรของมันจะมีรูปทรงกรวยโดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลาง ชนิดของรูปทรงกรวยขึ้นอยู่กับลักษณะ การโคจรไม่เป็นวงกลมของมันคือ 2 และขึ้นอยู่กับความเร็วของดาวหางที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ใกล้ที่สุดคือระยะทาง เส้นทางโคจรของดาวหางมีความซับซ้อนมากกว่าที่กล่าวมาแล้วเพราะว่าดาวหางจะถูกรบกวนขณะเดินทางจากแรงดึงดูด ของดาวเคราะห์ ซึ่งบางครั้งมีผลกระทบต่อเส้นทางโคจรของมันเพียงเล็กน้อย แต่บางครั้งก็จะมีผลกระทบต่อเส้นทางเดินของดาวหาง ดวงนั้นเป็นอย่างมาก ดาวหางยิ่งเดินทางผ่านดาวเคราะห์มากเท่าใด ดาวหางดวงนั้นย่อมได้รัยอิทธิพลจากแรงดึงดูดของดาวเคราะห์ ดวงนั้นมากเท่านั้น ยิ่งดาวพฤหัสบดีซึ่งมีมวลมากส่งผลกระทบต่อวงโคจรของดาวหางมาก

The FireBall-The Meteor

                              อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

                              สะเก็ดดาวหรือดาวตก มองเห็นวิ่งผ่านชั้นบรรยากาศของโลกเป็นแสงสว่างแล้วก็หายไป สะเก็ดดาวตกอาจเป็นวัตถุแข็งๆ มีขนาดไม่โตกว่าเม็ดทรายหรืออาจมีขนาดเท่าๆกับเม็ดถั่วลิสงเท่านั้น แสงสว่างเกิดขึ้นมาเพราะการเสียดสีระหว่างอะตอมของสะเก็ดดาวตก กับโมเลกุลของอากาศของโลก สะเก็ดดาวตกเช่นนั้นมองเห็นมีแสงสว่างสะเก็ดดาวตกเช่นนั้นจะหายไปใน บรรยากาศของโลกในระดับความสูงประมาณ 60 ไมล์(95 กิโลเมตร) เทห์แข็งๆของสะเก็ดดาวบางครั้งมีมวลเพียงไม่กี่ออนซ์ จนถึงมีนำหนักหลายตันอาจหล่นมาถึงผิวโลกเรียกว่า อุกกาบาต สะเก็ดดาวบางครั้งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงไม่กี่ไมครอน วิ่งผ่านบรรยากาศและหล่นมาถึงผิวโลก เหลือเป็นอนุภาคเล็กๆ เมื่อโคจรผ่านสะเก็ดดาว ซึ่งเคลื่อนไหว ในวงโคจรรอบๆดวงอาทิตย์ จะมีจำนวนดาวตก จำนวนมากวิ่งผ่านเข้ามาในบรรยากาศของโลกชั่วโมง หนึ่งหลายสิบครั้ง บางครั้งกลุ่มสะเก็ดดาวปรากฏตัวอยู่บนท้องฟ้า เป็นแผ่นหนาเหมือนหิมะกลุ่มละอองสะเก็ดดาวในวงโคจรบางครั้งมีลักษณะเหมือนกลุ่มละออง สะเก็ดดาวในดาวหาง เรื่องนี้เป็นหลักฐานแสดง ให้เห็นว่าดาวหางและกลุ่มสะเก็ดดาวมีความเกี่ยวพันกันนักดาราศาสตร์มีความเห็นว่าสสาร ของสะเก็ดดาว คือส่วนที่หลงเหลือจากการสลายตัวของดาวหางบางดวง

               ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอุกกาบาต เช่น
ฝนอุกกาบาต(meteor showers) คือขณะที่โลกโคจรไปพบอุกกาบาตที่มาด้วยกันเป็นกลุ่มใหญ่อุกกาบาตนี้จะตกลงมาในเวลาอันรวดเร็ว                                                         เป็นจำนวนมาก
กลุ่มอุกกาบาต(meteor warm)   คืออุกกาบาตซึ่งโคจรเป็นกลุ่มมีวงโคจรเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์ไม่หนาแน่น ประมาณ 14 ชิ้น/2ล้านลูกบาศก์ไมล์
ธารอุกกาบาต(meteor steam)   คือกลุ่มอุกกาบาตที่แผ่กระจายออกมาตามความโค้งวงทางโคจรทำให้ดูเหมือนว่าอุกกาบาตนั้นเคลื่อนที่ในอวกาศ                                                        เป็นสายธาร

The Nebula

                            คำว่า"เนบิวลา"นักดาราศาสตร์ใช้เรียกสิ่งที่ปรากฏเป็นเมฆหมอกฝ้าอยู่คงที่ในท่ามกลางดวงดาว บนท้องฟ้า อาจจะปรากฏเป็นแสงสว่างเรือง หรือ มืดสนิทก็ได้ เรามองเห็นเนบิวลาได้ยาก เพราะแม้ชนิดที่สว่างก็มีแสงจาง แผ่กรจายไม่รวมกันเข้มเป็นจุดสว่างดังเช่นดาวฤกษ์ เราจึงสามารถเห็นเนบิวลาบนท้องฟ้าด้วยตาเปล่าได้เพียง 4 แห่ง ในขณะที่สามารถเห็นดาวฤกษ์ด้วยตาเปล่าถึงราว 5,000 ดวง ความจริงเนบิวลามีอยู๋เป็นปริมาณมากมายไม่น้อย การที่เราจะตรวจพบหรือไม่ขึ้นอยู่กับความไวของอุปกรณ์ที่ใช้สำรวจ เนบิวลาที่อยู๋ในระบบทางช้างเผือกของเรา เรียกว่า กาแลคติคเนบิวลา Galaxtic Nebula ซึ่งเป็นกลุ่มก๊าซที่มีความสัมพันธ์ทางใดทางหนึ่งกับดาวฤกษ์ หรือกลุ่มดาวในกาแลกซี ซึ่งดวงอาทิตย์ของเราเป็นสมาชิกหน่วยหนึ่ง ตัวอย่างของ Galaxtic Nebulaชนิดแผ่กระจายได้แก่ กลุ่มที่อยู๋ในหมู่ดาว ออไรน นับเป็นกลุ่มก๊าซและฝุ่นซึ่งใหญ่โตกลุ่มหนึ่งในกาแลกซี กินอาณาเขตกว้างขวางในอวกาศ แผ่คลุมดาวฤกษ์อยู่ภายในองค์ประกอบสำคัญ คือ Hydrogen Helium มากที่สุด และนอกนั้นก็มี Oxygen และ Nitrogen เป็นต้น เนบิวลานี้เรืองเสงเพราะถูกกระตุ้นด้วยUVจากดาวฤกษืซึ่งอยู่ภายใน และบางส่วนของก๊าซและฝุ่นที่อยู่เบื้องหลังไกลออกไป จึงปรากฏเป็นเนบิวลามืด กาแลคติคเนบิวลาชนิดเป็นดวง นั้นเป็นกลุ่มก๊าซรูปทรงกลมซึ่งแผ่กระจายออกมาจากการระเบิดของดาวฤกษ์ และปรากฏให้เห็นหลายดวงบนท้องฟ้า เช่นที่เรียกกันว่า เนบิวลาวงแหวน เนบิวลาปู เนบิวลานกฮูก เป็นต้น ตามความคล้ายคลึงกับรูปสิ่งของ สัตว์ที่มนุษย์คุ้นเคยกันทั่วไป

                    เนบิวลานอกกาแลกซี หรือ สไปราลเนบิวลา นั้นเป็นวัตถุจำพวกที่อยู๋ห่างไกลออกไปนอกกาแลกซีของเรา เป็นต้นว่า เมฆแมคเยลแลน ซึ่งเห็นได้ด้วยตาเปล่าบนท้องฟ้าของซีกโลกภาคใต้ อยู่ห่างไป 150,000 ปีแสง หรืออาจจะมากกว่านั้นก็เป็นได้เช่น สไปราลเนบิวลา ที่อยู่ในทิศทางของหมู่ดาวอันโดรเมดาซึ่งอยู่ห่างออกไปถึง 2,200,000 ปีแสง ข้างล่างจะเป็นลักษณะของเนบิวลานะ

: 10 มิถุนายน 2540 เวลา 0.33 น. กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสสิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล Losmandy G-11 เนบิวลาอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ตำแหน่ง R.A. 18h 02m Dec -23o02' อันดับความสว่าง 8.5 ฟิล์ม Kodak Multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 45 นาที

: 4 มิถุนายน 2540 เวลา 2.03 น.
ใช้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสซิเกรน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที ฟิล์ม Kodak Multispeed ตำแหน่ง 18h20m, -16o11'
อันดับความสว่าง 7.6 อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู (Ophiuchus)

: 15 มีนาคม 2540 เวลา 3.00 น.
กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง แบบชมิดท์แคสซิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
อันดับความสว่าง 5.8 อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู (Sagittarius)
ฟิล์ม Kodak multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที


สัญลักษณ์ของดวงอาทิตย์   -------------->>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>            

ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ชั้น G2  เป็นเพียงสมาชิกหนึ่งในบรรดาดาวฤกษ์หนึ่งแสนล้านดวง ในกาแล๊กซี่ทางช้างเผือก

เส้นผ่านศูนย์กลาง: 1,390,000 ก.ม.
มวล: 1.989 x 1030 ก.ก.
อุณหภูมิ: 5800 เคลวิน (พื้นผิว) 15,600,000 K (แกน)

ดวงอาทิตย์ เป็นเทหวัตถุ ที่ใหญ่ที่สุด ในระบบสุริยะ คิดเป็นมวลมากกว่า 99.8% ของมวลทั้งระบบ (ที่เหลือเกือบทั้งหมดเป็น
ดาวพฤหัสบด )

ด วงอาทิตย์ มีชื่อเรียกหลายชื่อในเทพนิยาย: กรีกเรียกว่า เฮลิออส โรมันเรียกว่า ซอล

ในปัจจุบันดวงอาทิตย์ประกอบด้วย ไฮโดรเจน 75% และ ฮีเลียม 25% นับโดยมวล (ไฮโดรเจน 92.1% และฮีเลียม 7.8% นับโดยจำนวนอะตอม) ที่เหลือจำนวน 0.1% เป็น "โลหะ"  X ส่วนเหล่านี้เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ โดยดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจนในแกนของมันให้กลายเป็นฮีเลียม

ชั้นนอกของดวงอาทิตย์มีการเคลื่อนที่แบบ differential rotation กล่าวคือ ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตร หมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบใช้เวลา 25.4 วัน แต่บริเวณขั้ว หมุนหนึ่งรอบใช้เวลาถึง 36 วัน พฤติกรรมเช่นนี้แสดงว่าดวงอาทิตย์มิได้เป็นของแข็ง (solid body) เฉกเข่นโลก แต่คล้ายกับ ดาวเคราะห์แก๊ส ลักษณะการหมุนเช่นนี้เกิดขึ้นในแนวลึกลงไปด้วย ยกเว้นตรงแกนของดวงอาทิตย์ หมุนรอบตัวในลักษณะแบบของแข็ง

แกนของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิสูงถึง 15.6 ล้านเคลวิน และมีความกดดัน 250 พันล้าน หน่วยบรรยากาศ แก๊สที่แกนกลางถูกอัดตัวให้มีความหนาแน่นมากกว่าน้ำถึง 150 เท่า

พลังงานของดวงอาทิตย์  ผลิตโดยปฏิกริยา นิวเคลียร์ฟิวชั่น ทุก ๆ หนึ่งวินาที ดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจน 700,000,000 ตัน ให้กลายเป็นฮีเลียม 695,000,000 ตัน และพลังงานในรูปของรังสีแกมม่าอีกจำนวน 5,000,000 ตัน พุ่งตรงมายังพื้นผิว จากนั้นพลังงานถูกดูดกลืนเข้าไปและเปล่งออกอีก ทำให้อุณหภูมิลดต่ำลงเมื่อถึงพื้นผิว กลายเป็นแสงที่เรามองเห็นได้; ณ ข่วง 20% สุดท้ายก่อนที่จะถึงพื้นผิว พลังงานส่วนใหญ่ม้วนตัวกลับ ( convection ) มากกว่าที่จะแผ่รังสีออก

 พื้นผิวของดวงอาทิตย์เรียกว่า ชั้นโฟโตสเฟียร์ มีอุณหภมิประมาณ 5,800 เคลวิน; จุดบนดวงอาทิตย์ (Sunspots) เป็นย่านที่อุณหภูมิต่ำเพียง 3,800 เคลวิน (มันดูมืดเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณรอบ ๆ) จุดบนดวงอาทิตย์อาจมีขนาดใหญ่ถึง 50,000 ก.ม. มันเกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สลับซับซ้อน และยังไม่เข้าใจดีนัก ว่าเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์อย่างไร

เหนือขึ้นมาจากชั้นโฟโตสเฟียร์ มีชั้นเล็ก ๆ เรียกว่า โครโมสเฟียร์

 ชั้นที่อยู่เหนือโครโมสเฟียร์ เราเรียกว่า โคโรน่า มันแผ่ออกไปในอวกาศหลายล้านกิโลเมตร แต่จะมองเห็นได้เฉพาะเวลาที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงเท่านั้น โคโคน่ามีอุณหภูมิสูงมากกว่า 1,000,000 เคลวิน

ส นามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์มีความเข้มและซับซ้อนมาก เขต แมกเนโตสเฟียร์ (ซึ่งบางทีเรียกว่า เฮลิโอสเฟียร์) แผ่ขยายออกไปไกลกว่า ดาวพลูโต

 นอกเหนือจากความร้อนและแสง ดวงอาทิตย์แพร่อนุภาคความหนาแน่นต่ำ (ส่วนมากเป็นอิเล็กตรอนและโปรตอน) ซึ่งรู้จักกันในนามของลมสุริยะ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 450 ก.ม./วินาที ลมสุริยะและอนุภาคซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า ถูกพ่นออกโดย solar flares สามารถรบกวนสายไฟฟ้าแรงสูง คลื่นวิทยุะ และทำให้เกิดปรากฏการณ์แสงเหนือแสงใต้ที่งดงาม

 ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณ 4.5 ล้านปี นับตั้งแต่กำเนิดมามันได้เผาผลาญไฮโดรเจนในแกนของมันไปประมาณครึ่งหนึ่ง มันยังคงแผ่รังสีอย่างสงบต่อไปอีกประมาณ 5 ล้านปี (ความสว่างจะมากขึ้นเป็นสองเท่าเมื่อถึงเวลานั้น) และเมื่อไฮโดรเจนหมดลง ขนาดของมันจะใหญ่ขึ้นจนกลืนโลกเข้าไป 

ดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์น้อยเป็นเทห์วัตถุ บนท้องฟ้า อีกชนิดหนึ่ง และเป็นบริวาร ที่โคจรรอบ ดวงอาทิตย์คล้ายๆ ดาวเคราะห์ แต่มักมีขนาดเล็ก โดยส่วนใหญ่ จะโคจรอยู่ในบริเวณ ระหว่าง ดาวอังคาร และดาวพฤหัส ข้อมูลปัจจุบัน ประมาณว่า มีดาวเคราะห์น้อย อยู่ประมาณ 30,000 ดวง ถึง 50,000 ดวง แต่มีเพียงไม่กี่ดวง ที่สามารถใช้ กล้องโทรทัศน์ขนาดเล็ก ส่องดูได้ ดาวเคราะห์น้อย บางดวงมีวงโคจร เปลี่ยนไป เปลี่ยนมา เมื่อโคจรผ่านดาวเคราะห์ ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัส จะถูกแรงดึงดูด รบกวนจน ทำให้วงโคจร ของดาวเคราะห์น้อย แปรเปลี่ยนไป ซึ่งบางดวง อาจโคจร เข้ามาใกล้โลกของเรา และอาจจะเกิด อันตรายต่อโลก ของเราได้ แต่มีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยมาก แต่ก็มีการนำเรื่อง ดังกล่าว ไปสร้าง เป็นภาพยนตร์ ที่หลายคน อาจจะได้ดูเมื่อ เร็วๆนี้ คือเรื่อง "Armageddon" ที่ทำเงิน จากการฉายทั่วโลกได้มากมาย   อืมเรื่องนี้ไม่มีรูปประกอบนะหาไม่ได้อ่ะ

ดาวหาง

ดาวหางเป็นเทหวัตถุมีมวลน้อยมาก หมุนอยู่รอบดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกับสมาชิกอื่นๆในระบบสุริยจักรวาลของเรา รูปร่างและความสว่างของดาวหางแต่ละดวงมีความแตกต่างกันออกไปตามระยะทางที่มันอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์ ดาวหางดวงที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นระยะทางไกลๆจะมีความสว่างน้อยมาก มองเห็นคล้ายๆว่าเป็นดวงดาวดวงหนึ่งเท่านั้น ส่วนประกอบสำคัญของดาวหางคือเทหวัตถุขนาดเล็กๆอยู่ในบริเวณตอนหัวของมันเรียกว่า นิวเคลียส

ปรากฏการณ์ของดาวหาง

ในอดีตมนุษย์มักจะมีความหวาดกลัวปรากฏการณ์ของดาวหางทั้งนี้เพราะมองเห็นว่าดาวหางปรากฏตัวขึ้นมาอย่าง กะทันหัน และมีแสงสุกใสมีเส้นทางโคจรลึกลับและบางครั้งดาวหางก็เปลี่ยนแปลงรูปร่างของมันไปอย่างรวดเร็ว

การโคจรของดาวหาง

วงโคจรของมันจะมีรูปทรงกรวยโดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลาง ชนิดของรูปทรงกรวยขึ้นอยู่กับลักษณะ การโคจรไม่เป็นวงกลมของมันคือ 2 และขึ้นอยู่กับความเร็วของดาวหางที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ใกล้ที่สุดคือระยะทาง เส้นทางโคจรของดาวหางมีความซับซ้อนมากกว่าที่กล่าวมาแล้วเพราะว่าดาวหางจะถูกรบกวนขณะเดินทางจากแรงดึงดูด ของดาวเคราะห์ ซึ่งบางครั้งมีผลกระทบต่อเส้นทางโคจรของมันเพียงเล็กน้อย แต่บางครั้งก็จะมีผลกระทบต่อเส้นทางเดินของดาวหาง ดวงนั้นเป็นอย่างมาก ดาวหางยิ่งเดินทางผ่านดาวเคราะห์มากเท่าใด ดาวหางดวงนั้นย่อมได้รัยอิทธิพลจากแรงดึงดูดของดาวเคราะห์ ดวงนั้นมากเท่านั้น ยิ่งดาวพฤหัสบดีซึ่งมีมวลมากส่งผลกระทบต่อวงโคจรของดาวหางมาก

The FireBall-The Meteor

                              อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

                              สะเก็ดดาวหรือดาวตก มองเห็นวิ่งผ่านชั้นบรรยากาศของโลกเป็นแสงสว่างแล้วก็หายไป สะเก็ดดาวตกอาจเป็นวัตถุแข็งๆ มีขนาดไม่โตกว่าเม็ดทรายหรืออาจมีขนาดเท่าๆกับเม็ดถั่วลิสงเท่านั้น แสงสว่างเกิดขึ้นมาเพราะการเสียดสีระหว่างอะตอมของสะเก็ดดาวตก กับโมเลกุลของอากาศของโลก สะเก็ดดาวตกเช่นนั้นมองเห็นมีแสงสว่างสะเก็ดดาวตกเช่นนั้นจะหายไปใน บรรยากาศของโลกในระดับความสูงประมาณ 60 ไมล์(95 กิโลเมตร) เทห์แข็งๆของสะเก็ดดาวบางครั้งมีมวลเพียงไม่กี่ออนซ์ จนถึงมีนำหนักหลายตันอาจหล่นมาถึงผิวโลกเรียกว่า อุกกาบาต สะเก็ดดาวบางครั้งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงไม่กี่ไมครอน วิ่งผ่านบรรยากาศและหล่นมาถึงผิวโลก เหลือเป็นอนุภาคเล็กๆ เมื่อโคจรผ่านสะเก็ดดาว ซึ่งเคลื่อนไหว ในวงโคจรรอบๆดวงอาทิตย์ จะมีจำนวนดาวตก จำนวนมากวิ่งผ่านเข้ามาในบรรยากาศของโลกชั่วโมง หนึ่งหลายสิบครั้ง บางครั้งกลุ่มสะเก็ดดาวปรากฏตัวอยู่บนท้องฟ้า เป็นแผ่นหนาเหมือนหิมะกลุ่มละอองสะเก็ดดาวในวงโคจรบางครั้งมีลักษณะเหมือนกลุ่มละออง สะเก็ดดาวในดาวหาง เรื่องนี้เป็นหลักฐานแสดง ให้เห็นว่าดาวหางและกลุ่มสะเก็ดดาวมีความเกี่ยวพันกันนักดาราศาสตร์มีความเห็นว่าสสาร ของสะเก็ดดาว คือส่วนที่หลงเหลือจากการสลายตัวของดาวหางบางดวง

               ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอุกกาบาต เช่น
ฝนอุกกาบาต(meteor showers) คือขณะที่โลกโคจรไปพบอุกกาบาตที่มาด้วยกันเป็นกลุ่มใหญ่อุกกาบาตนี้จะตกลงมาในเวลาอันรวดเร็ว                                                         เป็นจำนวนมาก
กลุ่มอุกกาบาต(meteor warm)   คืออุกกาบาตซึ่งโคจรเป็นกลุ่มมีวงโคจรเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์ไม่หนาแน่น ประมาณ 14 ชิ้น/2ล้านลูกบาศก์ไมล์
ธารอุกกาบาต(meteor steam)   คือกลุ่มอุกกาบาตที่แผ่กระจายออกมาตามความโค้งวงทางโคจรทำให้ดูเหมือนว่าอุกกาบาตนั้นเคลื่อนที่ในอวกาศ                                                        เป็นสายธาร

The Nebula

                            คำว่า"เนบิวลา"นักดาราศาสตร์ใช้เรียกสิ่งที่ปรากฏเป็นเมฆหมอกฝ้าอยู่คงที่ในท่ามกลางดวงดาว บนท้องฟ้า อาจจะปรากฏเป็นแสงสว่างเรือง หรือ มืดสนิทก็ได้ เรามองเห็นเนบิวลาได้ยาก เพราะแม้ชนิดที่สว่างก็มีแสงจาง แผ่กรจายไม่รวมกันเข้มเป็นจุดสว่างดังเช่นดาวฤกษ์ เราจึงสามารถเห็นเนบิวลาบนท้องฟ้าด้วยตาเปล่าได้เพียง 4 แห่ง ในขณะที่สามารถเห็นดาวฤกษ์ด้วยตาเปล่าถึงราว 5,000 ดวง ความจริงเนบิวลามีอยู๋เป็นปริมาณมากมายไม่น้อย การที่เราจะตรวจพบหรือไม่ขึ้นอยู่กับความไวของอุปกรณ์ที่ใช้สำรวจ เนบิวลาที่อยู๋ในระบบทางช้างเผือกของเรา เรียกว่า กาแลคติคเนบิวลา Galaxtic Nebula ซึ่งเป็นกลุ่มก๊าซที่มีความสัมพันธ์ทางใดทางหนึ่งกับดาวฤกษ์ หรือกลุ่มดาวในกาแลกซี ซึ่งดวงอาทิตย์ของเราเป็นสมาชิกหน่วยหนึ่ง ตัวอย่างของ Galaxtic Nebulaชนิดแผ่กระจายได้แก่ กลุ่มที่อยู๋ในหมู่ดาว ออไรน นับเป็นกลุ่มก๊าซและฝุ่นซึ่งใหญ่โตกลุ่มหนึ่งในกาแลกซี กินอาณาเขตกว้างขวางในอวกาศ แผ่คลุมดาวฤกษ์อยู่ภายในองค์ประกอบสำคัญ คือ Hydrogen Helium มากที่สุด และนอกนั้นก็มี Oxygen และ Nitrogen เป็นต้น เนบิวลานี้เรืองเสงเพราะถูกกระตุ้นด้วยUVจากดาวฤกษืซึ่งอยู่ภายใน และบางส่วนของก๊าซและฝุ่นที่อยู่เบื้องหลังไกลออกไป จึงปรากฏเป็นเนบิวลามืด กาแลคติคเนบิวลาชนิดเป็นดวง นั้นเป็นกลุ่มก๊าซรูปทรงกลมซึ่งแผ่กระจายออกมาจากการระเบิดของดาวฤกษ์ และปรากฏให้เห็นหลายดวงบนท้องฟ้า เช่นที่เรียกกันว่า เนบิวลาวงแหวน เนบิวลาปู เนบิวลานกฮูก เป็นต้น ตามความคล้ายคลึงกับรูปสิ่งของ สัตว์ที่มนุษย์คุ้นเคยกันทั่วไป

                    เนบิวลานอกกาแลกซี หรือ สไปราลเนบิวลา นั้นเป็นวัตถุจำพวกที่อยู๋ห่างไกลออกไปนอกกาแลกซีของเรา เป็นต้นว่า เมฆแมคเยลแลน ซึ่งเห็นได้ด้วยตาเปล่าบนท้องฟ้าของซีกโลกภาคใต้ อยู่ห่างไป 150,000 ปีแสง หรืออาจจะมากกว่านั้นก็เป็นได้เช่น สไปราลเนบิวลา ที่อยู่ในทิศทางของหมู่ดาวอันโดรเมดาซึ่งอยู่ห่างออกไปถึง 2,200,000 ปีแสง ข้างล่างจะเป็นลักษณะของเนบิวลานะ

: 10 มิถุนายน 2540 เวลา 0.33 น. กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสสิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล Losmandy G-11 เนบิวลาอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ตำแหน่ง R.A. 18h 02m Dec -23o02' อันดับความสว่าง 8.5 ฟิล์ม Kodak Multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 45 นาที

: 4 มิถุนายน 2540 เวลา 2.03 น.
ใช้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสซิเกรน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที ฟิล์ม Kodak Multispeed ตำแหน่ง 18h20m, -16o11'
อันดับความสว่าง 7.6 อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู (Ophiuchus)

: 15 มีนาคม 2540 เวลา 3.00 น.
กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง แบบชมิดท์แคสซิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
อันดับความสว่าง 5.8 อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู (Sagittarius)
ฟิล์ม Kodak multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที
2.ใช้ตำแหน่งดาวเคราะห ์น้อยเป็นหลัก โดยแบ่งเป็น 2 พวก คือดาวเคราะห์ที่มีวงโคจรของดาวเคราะห์น้อยเรียกว่า"ดาวเคราะห์ใน(inner planets)"ดาวเคราะห์ที่มีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่นอกวงโคจรดาวเคราะห์น้อยเรียกว่า"ดาวเคราะห์นอก(super planets)"
3.ใช้สมบัติทางฟิสิกส์ ดาวเคราะห์ใดมีสมบัติทางฟิสิกส์คล้ายกับโลกเช่น มีขนาดเล็กเรียก Terrestrid Planetsดาวเคราะห์ที่คล้ายดาวเคราะห์ขนาดใหญ่เรียกว่า Jovian Planets
 วิเคราะห์ลักษณะเด่นของดาวเคราะห์บริวารของดวงอาทิตย์
-ดาวพุธเล็กที่สุด,ดาวพฤหัสใหญ่ที่สุด
-ดาวพุธ,ดาวศุกร์ 2 ดวงนี้รูปร่างเกือบเป็นวงกลมเหมือนดวงจันทร์และดวงอาทิตย์
-ดางศุกร์,ดาวเนปจูนมีวงทางโคจรรอบดวงอาทิตย์เกือบเป็นวงกลม
-โลกเป็นดาวที่มีมนุษย์อาศัยอยู่


                                      


มวลของสมาชิกในระบบสุริยะ
ดวงอาทิตย์ 99.85 %
เหล่าดาวเคราะห์ 0.135 %
เหล่าดาวหาง 0.01 %
บริวารของดาวเคราะห์ 0.00005 %
ดาวเคราะห์น้อย 0.0000002 %
อุกกาบาต 0.0000001 %

องค์ประกอบของระบบสุริยะ
ระบบสุริยะประกอบด้วยดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางและเหล่าสมาชิกโคจรโดยรอบ คือ ดาวเคราะห์ 9 ดวง บริวารของดาวเคราะห์ ดาวหาง ดาวเคราะห์น้อยและอุกกาบาต เมื่อเปรียบเทียบมวลของสมาชิกในระบบสุริยะ ดวงอาทิตย์มีมวลมากที่สุดถึง 99.85% ขณะที่ดาวเคราะห์ทุกดวงรวมกันมีมวลเพียง 0.01355 % ซึ่งดาวพฤหัสบดีมีมวลสูงเป็น 2.5 เท่าของมวลดาวเคราะห์อื่น ๆ ทุกดวงรวมกัน
ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งกำเนิดพลังงานที่ใหญ่ที่สุดแผ่พลังงานออกไปในระบบสุริยะโดยรอบในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

ขนาดของระบบสุริยจักรวาล
การวัดระยะทางภายในระบบสุริยจักรวาลใช้ระบบการวัดหลายระบบด้วยกัน ส่วนใหญ่จะใช้หน่วยวัดเป็นไมล์ ระยะทาง จากดวงอาทิตย์ไปยังดาวเคราะห์ที่ไกลที่สุดที่ค้นพบว่ามีอยู่ปัจจุบัน คือ ดาวเคราะห์พลูโต มีระยะทาง 39.4 หน่วยดาราศาสตร์ในขณะดวงดาว(ดาวฤกษ์)ที่อยู่ ใกล้เรามากที่สุดห่างออกไป 1.33 พาร์เซค (4.35 ปีแสง) วงโคจรของดาวหาง ซึ่งเป็นวงยาวรืมากจะเป็นวงจรอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ไกลออกไปหลายร้อยหรือหลายพัน หน่วยดาราศาสตร์ แต่บริเวณเลยดาวเคราะห์พลูโตออกไป เป็นบริเวณกว้างใหญ่ไพศาลของอวกาศที่มีแต่ความว่างเปล่า ดังนั้นสมาชิกของระบบสุริยจักรวาล จึงห้อมล้อม ด้วยอวกาศและเมื่อเปรียบขนาดของสุริยจักรวาลกับขนาดของกาแลคซี่ทางช้างเผือกซึ่งสุริยจักรวาลของเราเป็นสมาชิกอยู่ ระบบสุริยจักรวาลจะเป็นเพียงจุดเล็กๆจุดหนึ่ง ที่ปราศจากความสำคัญใดๆและจะกลายเป็นเรื่องยากลำบากยิ่ง ในการค้นหาระบบสุริยจักรวาลของเราให้พบเมื่อสังเกตการณ์จากดวงดาวที่อยู่ใกล้สุริยจักรวาลที่สุด ยกเว้น แต่จะมองเห็นดวงอาทิตย์ของเราเพียงดวงเดียวเท่านั้น

ตำแหน่งของระบบสุริยะในกาแล็กซีทางช้างเผือก
ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ดวงหนึ่ง อยู่ในอาณาจักแห่งดวงดาว ที่เรียกว่า กาแล็กซีทางช้างเผือก (The milky Way) หรือ กาแล็กซีของเรา ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกดาวฤกษ์มากมายประมาณ 2 แสนล้านดวง มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 แสนปีแสง ระบบสุริยะอยู่ห่างจากศูนย์กลางราว 32600 ปีแสง ดวงอาทิตย์พาเหล่าบริวารโคจรครบรอบกาแล็กซีในเวลา 225 ล้านปี
เมื่อมองจากอวกาศเหนือขั้วโลกเหนือของดวงอาทิตย์ สมาชิกในระบบสุริยะโคจรรอบดวงอาทิตย์ในทิศทาง ทวนเข็มนาฬิกาไปทางเดียวกัน
ดาวเคราะห์ทั้งหลายต่างโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่ในระนาบใกล้เคียงกัน กับระนาบที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ซึ่งเรียกว่า ระนาบสุริยวิถี (Ecliptic) มีแต่ดาวพลูโตดวงเดียวที่มีวงโคจรรีมาก และเอียงออกจากระนาบสุริยวิถีมากถึง 18 องศา

กำเนิดระบบสุริยะ
สันนิษฐานว่าระบบสุริยะมีกำเนิดมาจากกลุ่มก๊าซและฝุ่นขนาดมหึมาที่หมุนรอบศูนย์กลางเมื่อประมาณ 5000 ล้านปีก่อน มวลสารหมุนวนทำให้มีลักษณะเป็นจานแบนเมื่ออุณหภูมิรอบนอกค่อย ๆเย็นตัวลง มวลสารรวมตัวกันเกิดเป็นดาวเคราะห์และสมาชิกบริวารโคจรรอบดวงอาทิตย์ไปทางเดียวกันและอยู่ในระนาบใกล้เคียงกัน เช่นทุกวันนี้

ประเภทของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ
ดาวเคราะห์ชั้นใน (Inner Planets)
เป็นกลุ่มดาวเคราะห์ทีมีลักษณะคล้ายโลก (The Terrestrial Planet) คือมีพื้นผิวเป็นหินแข็งอย่างโลก ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคาร ขณะที่ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคารมีบรรยากาศห่อหุ้มชัดเจน แต่ดาวพุธเกือบไม่มีบรรยากาศเลย

ดาวเคราะห์ชั้นนอก (Outer Planets)
เป็นกลุ่มดาวเคราะห์ที่มีลักษณะคล้ายดาวพฤหัสบดี (The Jovian Planets) คือเป็นดาวเคราะห์ก๊าซซึ่งอาจมีแกนแข็งขนาดเล็กอยู่ที่ใจกลางและ มีขนาดใหญ่มากเมื่อเทียบกับโลกได้แก่ ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน

ดาวพลูโตดวงโดดเดี่ยว
ดาวพลูโตเป็นดาวเคราะห์ที่มีลักษณะพิเศษประกอบด้วยหินและน้ำแข็งจึงมีลักษณะคล้ายโลก แต่วงโคจรไกลเลยจากวงโคจรของดาวเนปจูนออกไป มนุษย์ยังมีความรรู้เรื่องดาวพลูโตน้อยมาก เนื่องจากวงโคจรของดาวพลูโตเอียงออกจากระนาบของ สุริยวิถีมากจึงมีบางช่วงนานราว 20 ปี ที่ดาวพลูโตโคจรอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าดาวเนปจูน บรรยากาศอาจเกิดจากมีเทนแข็งระเหิด ขณะเมื่อพลูโตเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ แต่เมื่ออยู่ไกลจากดวงอาทิตย์ตามปกติ ดาวพลูโตอาจเย็นจัดเป็นก้อนน้ำแข็งและไม่มีบรรยากาศก็เป็นได้


สัญลักษณ์ของดวงอาทิตย์   -------------->>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>            

ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ชั้น G2  เป็นเพียงสมาชิกหนึ่งในบรรดาดาวฤกษ์หนึ่งแสนล้านดวง ในกาแล๊กซี่ทางช้างเผือก

เส้นผ่านศูนย์กลาง: 1,390,000 ก.ม.
มวล: 1.989 x 1030 ก.ก.
อุณหภูมิ: 5800 เคลวิน (พื้นผิว) 15,600,000 K (แกน)

ดวงอาทิตย์ เป็นเทหวัตถุ ที่ใหญ่ที่สุด ในระบบสุริยะ คิดเป็นมวลมากกว่า 99.8% ของมวลทั้งระบบ (ที่เหลือเกือบทั้งหมดเป็น
ดาวพฤหัสบด )

ด วงอาทิตย์ มีชื่อเรียกหลายชื่อในเทพนิยาย: กรีกเรียกว่า เฮลิออส โรมันเรียกว่า ซอล

ในปัจจุบันดวงอาทิตย์ประกอบด้วย ไฮโดรเจน 75% และ ฮีเลียม 25% นับโดยมวล (ไฮโดรเจน 92.1% และฮีเลียม 7.8% นับโดยจำนวนอะตอม) ที่เหลือจำนวน 0.1% เป็น "โลหะ"  X ส่วนเหล่านี้เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ โดยดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจนในแกนของมันให้กลายเป็นฮีเลียม

ชั้นนอกของดวงอาทิตย์มีการเคลื่อนที่แบบ differential rotation กล่าวคือ ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตร หมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบใช้เวลา 25.4 วัน แต่บริเวณขั้ว หมุนหนึ่งรอบใช้เวลาถึง 36 วัน พฤติกรรมเช่นนี้แสดงว่าดวงอาทิตย์มิได้เป็นของแข็ง (solid body) เฉกเข่นโลก แต่คล้ายกับ ดาวเคราะห์แก๊ส ลักษณะการหมุนเช่นนี้เกิดขึ้นในแนวลึกลงไปด้วย ยกเว้นตรงแกนของดวงอาทิตย์ หมุนรอบตัวในลักษณะแบบของแข็ง

แกนของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิสูงถึง 15.6 ล้านเคลวิน และมีความกดดัน 250 พันล้าน หน่วยบรรยากาศ แก๊สที่แกนกลางถูกอัดตัวให้มีความหนาแน่นมากกว่าน้ำถึง 150 เท่า

พลังงานของดวงอาทิตย์  ผลิตโดยปฏิกริยา นิวเคลียร์ฟิวชั่น ทุก ๆ หนึ่งวินาที ดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจน 700,000,000 ตัน ให้กลายเป็นฮีเลียม 695,000,000 ตัน และพลังงานในรูปของรังสีแกมม่าอีกจำนวน 5,000,000 ตัน พุ่งตรงมายังพื้นผิว จากนั้นพลังงานถูกดูดกลืนเข้าไปและเปล่งออกอีก ทำให้อุณหภูมิลดต่ำลงเมื่อถึงพื้นผิว กลายเป็นแสงที่เรามองเห็นได้; ณ ข่วง 20% สุดท้ายก่อนที่จะถึงพื้นผิว พลังงานส่วนใหญ่ม้วนตัวกลับ ( convection ) มากกว่าที่จะแผ่รังสีออก

 พื้นผิวของดวงอาทิตย์เรียกว่า ชั้นโฟโตสเฟียร์ มีอุณหภมิประมาณ 5,800 เคลวิน; จุดบนดวงอาทิตย์ (Sunspots) เป็นย่านที่อุณหภูมิต่ำเพียง 3,800 เคลวิน (มันดูมืดเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณรอบ ๆ) จุดบนดวงอาทิตย์อาจมีขนาดใหญ่ถึง 50,000 ก.ม. มันเกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สลับซับซ้อน และยังไม่เข้าใจดีนัก ว่าเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์อย่างไร

เหนือขึ้นมาจากชั้นโฟโตสเฟียร์ มีชั้นเล็ก ๆ เรียกว่า โครโมสเฟียร์

 ชั้นที่อยู่เหนือโครโมสเฟียร์ เราเรียกว่า โคโรน่า มันแผ่ออกไปในอวกาศหลายล้านกิโลเมตร แต่จะมองเห็นได้เฉพาะเวลาที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงเท่านั้น โคโคน่ามีอุณหภูมิสูงมากกว่า 1,000,000 เคลวิน

ส นามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์มีความเข้มและซับซ้อนมาก เขต แมกเนโตสเฟียร์ (ซึ่งบางทีเรียกว่า เฮลิโอสเฟียร์) แผ่ขยายออกไปไกลกว่า ดาวพลูโต

 นอกเหนือจากความร้อนและแสง ดวงอาทิตย์แพร่อนุภาคความหนาแน่นต่ำ (ส่วนมากเป็นอิเล็กตรอนและโปรตอน) ซึ่งรู้จักกันในนามของลมสุริยะ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 450 ก.ม./วินาที ลมสุริยะและอนุภาคซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า ถูกพ่นออกโดย solar flares สามารถรบกวนสายไฟฟ้าแรงสูง คลื่นวิทยุะ และทำให้เกิดปรากฏการณ์แสงเหนือแสงใต้ที่งดงาม

 ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณ 4.5 ล้านปี นับตั้งแต่กำเนิดมามันได้เผาผลาญไฮโดรเจนในแกนของมันไปประมาณครึ่งหนึ่ง มันยังคงแผ่รังสีอย่างสงบต่อไปอีกประมาณ 5 ล้านปี (ความสว่างจะมากขึ้นเป็นสองเท่าเมื่อถึงเวลานั้น) และเมื่อไฮโดรเจนหมดลง ขนาดของมันจะใหญ่ขึ้นจนกลืนโลกเข้าไป 

ดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์น้อยเป็นเทห์วัตถุ บนท้องฟ้า อีกชนิดหนึ่ง และเป็นบริวาร ที่โคจรรอบ ดวงอาทิตย์คล้ายๆ ดาวเคราะห์ แต่มักมีขนาดเล็ก โดยส่วนใหญ่ จะโคจรอยู่ในบริเวณ ระหว่าง ดาวอังคาร และดาวพฤหัส ข้อมูลปัจจุบัน ประมาณว่า มีดาวเคราะห์น้อย อยู่ประมาณ 30,000 ดวง ถึง 50,000 ดวง แต่มีเพียงไม่กี่ดวง ที่สามารถใช้ กล้องโทรทัศน์ขนาดเล็ก ส่องดูได้ ดาวเคราะห์น้อย บางดวงมีวงโคจร เปลี่ยนไป เปลี่ยนมา เมื่อโคจรผ่านดาวเคราะห์ ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัส จะถูกแรงดึงดูด รบกวนจน ทำให้วงโคจร ของดาวเคราะห์น้อย แปรเปลี่ยนไป ซึ่งบางดวง อาจโคจร เข้ามาใกล้โลกของเรา และอาจจะเกิด อันตรายต่อโลก ของเราได้ แต่มีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยมาก แต่ก็มีการนำเรื่อง ดังกล่าว ไปสร้าง เป็นภาพยนตร์ ที่หลายคน อาจจะได้ดูเมื่อ เร็วๆนี้ คือเรื่อง "Armageddon" ที่ทำเงิน จากการฉายทั่วโลกได้มากมาย   อืมเรื่องนี้ไม่มีรูปประกอบนะหาไม่ได้อ่ะ

ดาวหาง

ดาวหางเป็นเทหวัตถุมีมวลน้อยมาก หมุนอยู่รอบดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกับสมาชิกอื่นๆในระบบสุริยจักรวาลของเรา รูปร่างและความสว่างของดาวหางแต่ละดวงมีความแตกต่างกันออกไปตามระยะทางที่มันอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์ ดาวหางดวงที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นระยะทางไกลๆจะมีความสว่างน้อยมาก มองเห็นคล้ายๆว่าเป็นดวงดาวดวงหนึ่งเท่านั้น ส่วนประกอบสำคัญของดาวหางคือเทหวัตถุขนาดเล็กๆอยู่ในบริเวณตอนหัวของมันเรียกว่า นิวเคลียส

ปรากฏการณ์ของดาวหาง

ในอดีตมนุษย์มักจะมีความหวาดกลัวปรากฏการณ์ของดาวหางทั้งนี้เพราะมองเห็นว่าดาวหางปรากฏตัวขึ้นมาอย่าง กะทันหัน และมีแสงสุกใสมีเส้นทางโคจรลึกลับและบางครั้งดาวหางก็เปลี่ยนแปลงรูปร่างของมันไปอย่างรวดเร็ว

การโคจรของดาวหาง

วงโคจรของมันจะมีรูปทรงกรวยโดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลาง ชนิดของรูปทรงกรวยขึ้นอยู่กับลักษณะ การโคจรไม่เป็นวงกลมของมันคือ 2 และขึ้นอยู่กับความเร็วของดาวหางที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ใกล้ที่สุดคือระยะทาง เส้นทางโคจรของดาวหางมีความซับซ้อนมากกว่าที่กล่าวมาแล้วเพราะว่าดาวหางจะถูกรบกวนขณะเดินทางจากแรงดึงดูด ของดาวเคราะห์ ซึ่งบางครั้งมีผลกระทบต่อเส้นทางโคจรของมันเพียงเล็กน้อย แต่บางครั้งก็จะมีผลกระทบต่อเส้นทางเดินของดาวหาง ดวงนั้นเป็นอย่างมาก ดาวหางยิ่งเดินทางผ่านดาวเคราะห์มากเท่าใด ดาวหางดวงนั้นย่อมได้รัยอิทธิพลจากแรงดึงดูดของดาวเคราะห์ ดวงนั้นมากเท่านั้น ยิ่งดาวพฤหัสบดีซึ่งมีมวลมากส่งผลกระทบต่อวงโคจรของดาวหางมาก

The FireBall-The Meteor

                              อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

                              สะเก็ดดาวหรือดาวตก มองเห็นวิ่งผ่านชั้นบรรยากาศของโลกเป็นแสงสว่างแล้วก็หายไป สะเก็ดดาวตกอาจเป็นวัตถุแข็งๆ มีขนาดไม่โตกว่าเม็ดทรายหรืออาจมีขนาดเท่าๆกับเม็ดถั่วลิสงเท่านั้น แสงสว่างเกิดขึ้นมาเพราะการเสียดสีระหว่างอะตอมของสะเก็ดดาวตก กับโมเลกุลของอากาศของโลก สะเก็ดดาวตกเช่นนั้นมองเห็นมีแสงสว่างสะเก็ดดาวตกเช่นนั้นจะหายไปใน บรรยากาศของโลกในระดับความสูงประมาณ 60 ไมล์(95 กิโลเมตร) เทห์แข็งๆของสะเก็ดดาวบางครั้งมีมวลเพียงไม่กี่ออนซ์ จนถึงมีนำหนักหลายตันอาจหล่นมาถึงผิวโลกเรียกว่า อุกกาบาต สะเก็ดดาวบางครั้งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงไม่กี่ไมครอน วิ่งผ่านบรรยากาศและหล่นมาถึงผิวโลก เหลือเป็นอนุภาคเล็กๆ เมื่อโคจรผ่านสะเก็ดดาว ซึ่งเคลื่อนไหว ในวงโคจรรอบๆดวงอาทิตย์ จะมีจำนวนดาวตก จำนวนมากวิ่งผ่านเข้ามาในบรรยากาศของโลกชั่วโมง หนึ่งหลายสิบครั้ง บางครั้งกลุ่มสะเก็ดดาวปรากฏตัวอยู่บนท้องฟ้า เป็นแผ่นหนาเหมือนหิมะกลุ่มละอองสะเก็ดดาวในวงโคจรบางครั้งมีลักษณะเหมือนกลุ่มละออง สะเก็ดดาวในดาวหาง เรื่องนี้เป็นหลักฐานแสดง ให้เห็นว่าดาวหางและกลุ่มสะเก็ดดาวมีความเกี่ยวพันกันนักดาราศาสตร์มีความเห็นว่าสสาร ของสะเก็ดดาว คือส่วนที่หลงเหลือจากการสลายตัวของดาวหางบางดวง

               ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอุกกาบาต เช่น
ฝนอุกกาบาต(meteor showers) คือขณะที่โลกโคจรไปพบอุกกาบาตที่มาด้วยกันเป็นกลุ่มใหญ่อุกกาบาตนี้จะตกลงมาในเวลาอันรวดเร็ว                                                         เป็นจำนวนมาก
กลุ่มอุกกาบาต(meteor warm)   คืออุกกาบาตซึ่งโคจรเป็นกลุ่มมีวงโคจรเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์ไม่หนาแน่น ประมาณ 14 ชิ้น/2ล้านลูกบาศก์ไมล์
ธารอุกกาบาต(meteor steam)   คือกลุ่มอุกกาบาตที่แผ่กระจายออกมาตามความโค้งวงทางโคจรทำให้ดูเหมือนว่าอุกกาบาตนั้นเคลื่อนที่ในอวกาศ                                                        เป็นสายธาร

The Nebula

                            คำว่า"เนบิวลา"นักดาราศาสตร์ใช้เรียกสิ่งที่ปรากฏเป็นเมฆหมอกฝ้าอยู่คงที่ในท่ามกลางดวงดาว บนท้องฟ้า อาจจะปรากฏเป็นแสงสว่างเรือง หรือ มืดสนิทก็ได้ เรามองเห็นเนบิวลาได้ยาก เพราะแม้ชนิดที่สว่างก็มีแสงจาง แผ่กรจายไม่รวมกันเข้มเป็นจุดสว่างดังเช่นดาวฤกษ์ เราจึงสามารถเห็นเนบิวลาบนท้องฟ้าด้วยตาเปล่าได้เพียง 4 แห่ง ในขณะที่สามารถเห็นดาวฤกษ์ด้วยตาเปล่าถึงราว 5,000 ดวง ความจริงเนบิวลามีอยู๋เป็นปริมาณมากมายไม่น้อย การที่เราจะตรวจพบหรือไม่ขึ้นอยู่กับความไวของอุปกรณ์ที่ใช้สำรวจ เนบิวลาที่อยู๋ในระบบทางช้างเผือกของเรา เรียกว่า กาแลคติคเนบิวลา Galaxtic Nebula ซึ่งเป็นกลุ่มก๊าซที่มีความสัมพันธ์ทางใดทางหนึ่งกับดาวฤกษ์ หรือกลุ่มดาวในกาแลกซี ซึ่งดวงอาทิตย์ของเราเป็นสมาชิกหน่วยหนึ่ง ตัวอย่างของ Galaxtic Nebulaชนิดแผ่กระจายได้แก่ กลุ่มที่อยู๋ในหมู่ดาว ออไรน นับเป็นกลุ่มก๊าซและฝุ่นซึ่งใหญ่โตกลุ่มหนึ่งในกาแลกซี กินอาณาเขตกว้างขวางในอวกาศ แผ่คลุมดาวฤกษ์อยู่ภายในองค์ประกอบสำคัญ คือ Hydrogen Helium มากที่สุด และนอกนั้นก็มี Oxygen และ Nitrogen เป็นต้น เนบิวลานี้เรืองเสงเพราะถูกกระตุ้นด้วยUVจากดาวฤกษืซึ่งอยู่ภายใน และบางส่วนของก๊าซและฝุ่นที่อยู่เบื้องหลังไกลออกไป จึงปรากฏเป็นเนบิวลามืด กาแลคติคเนบิวลาชนิดเป็นดวง นั้นเป็นกลุ่มก๊าซรูปทรงกลมซึ่งแผ่กระจายออกมาจากการระเบิดของดาวฤกษ์ และปรากฏให้เห็นหลายดวงบนท้องฟ้า เช่นที่เรียกกันว่า เนบิวลาวงแหวน เนบิวลาปู เนบิวลานกฮูก เป็นต้น ตามความคล้ายคลึงกับรูปสิ่งของ สัตว์ที่มนุษย์คุ้นเคยกันทั่วไป

                    เนบิวลานอกกาแลกซี หรือ สไปราลเนบิวลา นั้นเป็นวัตถุจำพวกที่อยู๋ห่างไกลออกไปนอกกาแลกซีของเรา เป็นต้นว่า เมฆแมคเยลแลน ซึ่งเห็นได้ด้วยตาเปล่าบนท้องฟ้าของซีกโลกภาคใต้ อยู่ห่างไป 150,000 ปีแสง หรืออาจจะมากกว่านั้นก็เป็นได้เช่น สไปราลเนบิวลา ที่อยู่ในทิศทางของหมู่ดาวอันโดรเมดาซึ่งอยู่ห่างออกไปถึง 2,200,000 ปีแสง ข้างล่างจะเป็นลักษณะของเนบิวลานะ

: 10 มิถุนายน 2540 เวลา 0.33 น. กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสสิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล Losmandy G-11 เนบิวลาอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ตำแหน่ง R.A. 18h 02m Dec -23o02' อันดับความสว่าง 8.5 ฟิล์ม Kodak Multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 45 นาที

: 4 มิถุนายน 2540 เวลา 2.03 น.
ใช้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสซิเกรน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที ฟิล์ม Kodak Multispeed ตำแหน่ง 18h20m, -16o11'
อันดับความสว่าง 7.6 อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู (Ophiuchus)

: 15 มีนาคม 2540 เวลา 3.00 น.
กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง แบบชมิดท์แคสซิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
อันดับความสว่าง 5.8 อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู (Sagittarius)
ฟิล์ม Kodak multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที


สัญลักษณ์ของดวงอาทิตย์   -------------->>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>            

ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ชั้น G2  เป็นเพียงสมาชิกหนึ่งในบรรดาดาวฤกษ์หนึ่งแสนล้านดวง ในกาแล๊กซี่ทางช้างเผือก

เส้นผ่านศูนย์กลาง: 1,390,000 ก.ม.
มวล: 1.989 x 1030 ก.ก.
อุณหภูมิ: 5800 เคลวิน (พื้นผิว) 15,600,000 K (แกน)

ดวงอาทิตย์ เป็นเทหวัตถุ ที่ใหญ่ที่สุด ในระบบสุริยะ คิดเป็นมวลมากกว่า 99.8% ของมวลทั้งระบบ (ที่เหลือเกือบทั้งหมดเป็น
ดาวพฤหัสบด )

ด วงอาทิตย์ มีชื่อเรียกหลายชื่อในเทพนิยาย: กรีกเรียกว่า เฮลิออส โรมันเรียกว่า ซอล

ในปัจจุบันดวงอาทิตย์ประกอบด้วย ไฮโดรเจน 75% และ ฮีเลียม 25% นับโดยมวล (ไฮโดรเจน 92.1% และฮีเลียม 7.8% นับโดยจำนวนอะตอม) ที่เหลือจำนวน 0.1% เป็น "โลหะ"  X ส่วนเหล่านี้เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ โดยดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจนในแกนของมันให้กลายเป็นฮีเลียม

ชั้นนอกของดวงอาทิตย์มีการเคลื่อนที่แบบ differential rotation กล่าวคือ ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตร หมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบใช้เวลา 25.4 วัน แต่บริเวณขั้ว หมุนหนึ่งรอบใช้เวลาถึง 36 วัน พฤติกรรมเช่นนี้แสดงว่าดวงอาทิตย์มิได้เป็นของแข็ง (solid body) เฉกเข่นโลก แต่คล้ายกับ ดาวเคราะห์แก๊ส ลักษณะการหมุนเช่นนี้เกิดขึ้นในแนวลึกลงไปด้วย ยกเว้นตรงแกนของดวงอาทิตย์ หมุนรอบตัวในลักษณะแบบของแข็ง

แกนของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิสูงถึง 15.6 ล้านเคลวิน และมีความกดดัน 250 พันล้าน หน่วยบรรยากาศ แก๊สที่แกนกลางถูกอัดตัวให้มีความหนาแน่นมากกว่าน้ำถึง 150 เท่า

พลังงานของดวงอาทิตย์  ผลิตโดยปฏิกริยา นิวเคลียร์ฟิวชั่น ทุก ๆ หนึ่งวินาที ดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจน 700,000,000 ตัน ให้กลายเป็นฮีเลียม 695,000,000 ตัน และพลังงานในรูปของรังสีแกมม่าอีกจำนวน 5,000,000 ตัน พุ่งตรงมายังพื้นผิว จากนั้นพลังงานถูกดูดกลืนเข้าไปและเปล่งออกอีก ทำให้อุณหภูมิลดต่ำลงเมื่อถึงพื้นผิว กลายเป็นแสงที่เรามองเห็นได้; ณ ข่วง 20% สุดท้ายก่อนที่จะถึงพื้นผิว พลังงานส่วนใหญ่ม้วนตัวกลับ ( convection ) มากกว่าที่จะแผ่รังสีออก

 พื้นผิวของดวงอาทิตย์เรียกว่า ชั้นโฟโตสเฟียร์ มีอุณหภมิประมาณ 5,800 เคลวิน; จุดบนดวงอาทิตย์ (Sunspots) เป็นย่านที่อุณหภูมิต่ำเพียง 3,800 เคลวิน (มันดูมืดเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณรอบ ๆ) จุดบนดวงอาทิตย์อาจมีขนาดใหญ่ถึง 50,000 ก.ม. มันเกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สลับซับซ้อน และยังไม่เข้าใจดีนัก ว่าเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์อย่างไร

เหนือขึ้นมาจากชั้นโฟโตสเฟียร์ มีชั้นเล็ก ๆ เรียกว่า โครโมสเฟียร์

 ชั้นที่อยู่เหนือโครโมสเฟียร์ เราเรียกว่า โคโรน่า มันแผ่ออกไปในอวกาศหลายล้านกิโลเมตร แต่จะมองเห็นได้เฉพาะเวลาที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงเท่านั้น โคโคน่ามีอุณหภูมิสูงมากกว่า 1,000,000 เคลวิน

ส นามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์มีความเข้มและซับซ้อนมาก เขต แมกเนโตสเฟียร์ (ซึ่งบางทีเรียกว่า เฮลิโอสเฟียร์) แผ่ขยายออกไปไกลกว่า ดาวพลูโต

 นอกเหนือจากความร้อนและแสง ดวงอาทิตย์แพร่อนุภาคความหนาแน่นต่ำ (ส่วนมากเป็นอิเล็กตรอนและโปรตอน) ซึ่งรู้จักกันในนามของลมสุริยะ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 450 ก.ม./วินาที ลมสุริยะและอนุภาคซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า ถูกพ่นออกโดย solar flares สามารถรบกวนสายไฟฟ้าแรงสูง คลื่นวิทยุะ และทำให้เกิดปรากฏการณ์แสงเหนือแสงใต้ที่งดงาม

 ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณ 4.5 ล้านปี นับตั้งแต่กำเนิดมามันได้เผาผลาญไฮโดรเจนในแกนของมันไปประมาณครึ่งหนึ่ง มันยังคงแผ่รังสีอย่างสงบต่อไปอีกประมาณ 5 ล้านปี (ความสว่างจะมากขึ้นเป็นสองเท่าเมื่อถึงเวลานั้น) และเมื่อไฮโดรเจนหมดลง ขนาดของมันจะใหญ่ขึ้นจนกลืนโลกเข้าไป 

ดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์น้อยเป็นเทห์วัตถุ บนท้องฟ้า อีกชนิดหนึ่ง และเป็นบริวาร ที่โคจรรอบ ดวงอาทิตย์คล้ายๆ ดาวเคราะห์ แต่มักมีขนาดเล็ก โดยส่วนใหญ่ จะโคจรอยู่ในบริเวณ ระหว่าง ดาวอังคาร และดาวพฤหัส ข้อมูลปัจจุบัน ประมาณว่า มีดาวเคราะห์น้อย อยู่ประมาณ 30,000 ดวง ถึง 50,000 ดวง แต่มีเพียงไม่กี่ดวง ที่สามารถใช้ กล้องโทรทัศน์ขนาดเล็ก ส่องดูได้ ดาวเคราะห์น้อย บางดวงมีวงโคจร เปลี่ยนไป เปลี่ยนมา เมื่อโคจรผ่านดาวเคราะห์ ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัส จะถูกแรงดึงดูด รบกวนจน ทำให้วงโคจร ของดาวเคราะห์น้อย แปรเปลี่ยนไป ซึ่งบางดวง อาจโคจร เข้ามาใกล้โลกของเรา และอาจจะเกิด อันตรายต่อโลก ของเราได้ แต่มีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยมาก แต่ก็มีการนำเรื่อง ดังกล่าว ไปสร้าง เป็นภาพยนตร์ ที่หลายคน อาจจะได้ดูเมื่อ เร็วๆนี้ คือเรื่อง "Armageddon" ที่ทำเงิน จากการฉายทั่วโลกได้มากมาย   อืมเรื่องนี้ไม่มีรูปประกอบนะหาไม่ได้อ่ะ

ดาวหาง

ดาวหางเป็นเทหวัตถุมีมวลน้อยมาก หมุนอยู่รอบดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกับสมาชิกอื่นๆในระบบสุริยจักรวาลของเรา รูปร่างและความสว่างของดาวหางแต่ละดวงมีความแตกต่างกันออกไปตามระยะทางที่มันอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์ ดาวหางดวงที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นระยะทางไกลๆจะมีความสว่างน้อยมาก มองเห็นคล้ายๆว่าเป็นดวงดาวดวงหนึ่งเท่านั้น ส่วนประกอบสำคัญของดาวหางคือเทหวัตถุขนาดเล็กๆอยู่ในบริเวณตอนหัวของมันเรียกว่า นิวเคลียส

ปรากฏการณ์ของดาวหาง

ในอดีตมนุษย์มักจะมีความหวาดกลัวปรากฏการณ์ของดาวหางทั้งนี้เพราะมองเห็นว่าดาวหางปรากฏตัวขึ้นมาอย่าง กะทันหัน และมีแสงสุกใสมีเส้นทางโคจรลึกลับและบางครั้งดาวหางก็เปลี่ยนแปลงรูปร่างของมันไปอย่างรวดเร็ว

การโคจรของดาวหาง

วงโคจรของมันจะมีรูปทรงกรวยโดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลาง ชนิดของรูปทรงกรวยขึ้นอยู่กับลักษณะ การโคจรไม่เป็นวงกลมของมันคือ 2 และขึ้นอยู่กับความเร็วของดาวหางที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ใกล้ที่สุดคือระยะทาง เส้นทางโคจรของดาวหางมีความซับซ้อนมากกว่าที่กล่าวมาแล้วเพราะว่าดาวหางจะถูกรบกวนขณะเดินทางจากแรงดึงดูด ของดาวเคราะห์ ซึ่งบางครั้งมีผลกระทบต่อเส้นทางโคจรของมันเพียงเล็กน้อย แต่บางครั้งก็จะมีผลกระทบต่อเส้นทางเดินของดาวหาง ดวงนั้นเป็นอย่างมาก ดาวหางยิ่งเดินทางผ่านดาวเคราะห์มากเท่าใด ดาวหางดวงนั้นย่อมได้รัยอิทธิพลจากแรงดึงดูดของดาวเคราะห์ ดวงนั้นมากเท่านั้น ยิ่งดาวพฤหัสบดีซึ่งมีมวลมากส่งผลกระทบต่อวงโคจรของดาวหางมาก

The FireBall-The Meteor

                              อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

                              สะเก็ดดาวหรือดาวตก มองเห็นวิ่งผ่านชั้นบรรยากาศของโลกเป็นแสงสว่างแล้วก็หายไป สะเก็ดดาวตกอาจเป็นวัตถุแข็งๆ มีขนาดไม่โตกว่าเม็ดทรายหรืออาจมีขนาดเท่าๆกับเม็ดถั่วลิสงเท่านั้น แสงสว่างเกิดขึ้นมาเพราะการเสียดสีระหว่างอะตอมของสะเก็ดดาวตก กับโมเลกุลของอากาศของโลก สะเก็ดดาวตกเช่นนั้นมองเห็นมีแสงสว่างสะเก็ดดาวตกเช่นนั้นจะหายไปใน บรรยากาศของโลกในระดับความสูงประมาณ 60 ไมล์(95 กิโลเมตร) เทห์แข็งๆของสะเก็ดดาวบางครั้งมีมวลเพียงไม่กี่ออนซ์ จนถึงมีนำหนักหลายตันอาจหล่นมาถึงผิวโลกเรียกว่า อุกกาบาต สะเก็ดดาวบางครั้งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงไม่กี่ไมครอน วิ่งผ่านบรรยากาศและหล่นมาถึงผิวโลก เหลือเป็นอนุภาคเล็กๆ เมื่อโคจรผ่านสะเก็ดดาว ซึ่งเคลื่อนไหว ในวงโคจรรอบๆดวงอาทิตย์ จะมีจำนวนดาวตก จำนวนมากวิ่งผ่านเข้ามาในบรรยากาศของโลกชั่วโมง หนึ่งหลายสิบครั้ง บางครั้งกลุ่มสะเก็ดดาวปรากฏตัวอยู่บนท้องฟ้า เป็นแผ่นหนาเหมือนหิมะกลุ่มละอองสะเก็ดดาวในวงโคจรบางครั้งมีลักษณะเหมือนกลุ่มละออง สะเก็ดดาวในดาวหาง เรื่องนี้เป็นหลักฐานแสดง ให้เห็นว่าดาวหางและกลุ่มสะเก็ดดาวมีความเกี่ยวพันกันนักดาราศาสตร์มีความเห็นว่าสสาร ของสะเก็ดดาว คือส่วนที่หลงเหลือจากการสลายตัวของดาวหางบางดวง

               ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอุกกาบาต เช่น
ฝนอุกกาบาต(meteor showers) คือขณะที่โลกโคจรไปพบอุกกาบาตที่มาด้วยกันเป็นกลุ่มใหญ่อุกกาบาตนี้จะตกลงมาในเวลาอันรวดเร็ว                                                         เป็นจำนวนมาก
กลุ่มอุกกาบาต(meteor warm)   คืออุกกาบาตซึ่งโคจรเป็นกลุ่มมีวงโคจรเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์ไม่หนาแน่น ประมาณ 14 ชิ้น/2ล้านลูกบาศก์ไมล์
ธารอุกกาบาต(meteor steam)   คือกลุ่มอุกกาบาตที่แผ่กระจายออกมาตามความโค้งวงทางโคจรทำให้ดูเหมือนว่าอุกกาบาตนั้นเคลื่อนที่ในอวกาศ                                                        เป็นสายธาร

The Nebula

                            คำว่า"เนบิวลา"นักดาราศาสตร์ใช้เรียกสิ่งที่ปรากฏเป็นเมฆหมอกฝ้าอยู่คงที่ในท่ามกลางดวงดาว บนท้องฟ้า อาจจะปรากฏเป็นแสงสว่างเรือง หรือ มืดสนิทก็ได้ เรามองเห็นเนบิวลาได้ยาก เพราะแม้ชนิดที่สว่างก็มีแสงจาง แผ่กรจายไม่รวมกันเข้มเป็นจุดสว่างดังเช่นดาวฤกษ์ เราจึงสามารถเห็นเนบิวลาบนท้องฟ้าด้วยตาเปล่าได้เพียง 4 แห่ง ในขณะที่สามารถเห็นดาวฤกษ์ด้วยตาเปล่าถึงราว 5,000 ดวง ความจริงเนบิวลามีอยู๋เป็นปริมาณมากมายไม่น้อย การที่เราจะตรวจพบหรือไม่ขึ้นอยู่กับความไวของอุปกรณ์ที่ใช้สำรวจ เนบิวลาที่อยู๋ในระบบทางช้างเผือกของเรา เรียกว่า กาแลคติคเนบิวลา Galaxtic Nebula ซึ่งเป็นกลุ่มก๊าซที่มีความสัมพันธ์ทางใดทางหนึ่งกับดาวฤกษ์ หรือกลุ่มดาวในกาแลกซี ซึ่งดวงอาทิตย์ของเราเป็นสมาชิกหน่วยหนึ่ง ตัวอย่างของ Galaxtic Nebulaชนิดแผ่กระจายได้แก่ กลุ่มที่อยู๋ในหมู่ดาว ออไรน นับเป็นกลุ่มก๊าซและฝุ่นซึ่งใหญ่โตกลุ่มหนึ่งในกาแลกซี กินอาณาเขตกว้างขวางในอวกาศ แผ่คลุมดาวฤกษ์อยู่ภายในองค์ประกอบสำคัญ คือ Hydrogen Helium มากที่สุด และนอกนั้นก็มี Oxygen และ Nitrogen เป็นต้น เนบิวลานี้เรืองเสงเพราะถูกกระตุ้นด้วยUVจากดาวฤกษืซึ่งอยู่ภายใน และบางส่วนของก๊าซและฝุ่นที่อยู่เบื้องหลังไกลออกไป จึงปรากฏเป็นเนบิวลามืด กาแลคติคเนบิวลาชนิดเป็นดวง นั้นเป็นกลุ่มก๊าซรูปทรงกลมซึ่งแผ่กระจายออกมาจากการระเบิดของดาวฤกษ์ และปรากฏให้เห็นหลายดวงบนท้องฟ้า เช่นที่เรียกกันว่า เนบิวลาวงแหวน เนบิวลาปู เนบิวลานกฮูก เป็นต้น ตามความคล้ายคลึงกับรูปสิ่งของ สัตว์ที่มนุษย์คุ้นเคยกันทั่วไป

                    เนบิวลานอกกาแลกซี หรือ สไปราลเนบิวลา นั้นเป็นวัตถุจำพวกที่อยู๋ห่างไกลออกไปนอกกาแลกซีของเรา เป็นต้นว่า เมฆแมคเยลแลน ซึ่งเห็นได้ด้วยตาเปล่าบนท้องฟ้าของซีกโลกภาคใต้ อยู่ห่างไป 150,000 ปีแสง หรืออาจจะมากกว่านั้นก็เป็นได้เช่น สไปราลเนบิวลา ที่อยู่ในทิศทางของหมู่ดาวอันโดรเมดาซึ่งอยู่ห่างออกไปถึง 2,200,000 ปีแสง ข้างล่างจะเป็นลักษณะของเนบิวลานะ

: 10 มิถุนายน 2540 เวลา 0.33 น. กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสสิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล Losmandy G-11 เนบิวลาอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ตำแหน่ง R.A. 18h 02m Dec -23o02' อันดับความสว่าง 8.5 ฟิล์ม Kodak Multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 45 นาที

: 4 มิถุนายน 2540 เวลา 2.03 น.
ใช้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสซิเกรน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที ฟิล์ม Kodak Multispeed ตำแหน่ง 18h20m, -16o11'
อันดับความสว่าง 7.6 อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู (Ophiuchus)

: 15 มีนาคม 2540 เวลา 3.00 น.
กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง แบบชมิดท์แคสซิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
อันดับความสว่าง 5.8 อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู (Sagittarius)
ฟิล์ม Kodak multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที
-ดาวพุธเล็กที่สุด,ดาวพฤหัสใหญ่ที่สุด
-ดาวพุธ,ดาวศุกร์ 2 ดวงนี้รูปร่างเกือบเป็นวงกลมเหมือนดวงจันทร์และดวงอาทิตย์
-ดางศุกร์,ดาวเนปจูนมีวงทางโคจรรอบดวงอาทิตย์เกือบเป็นวงกลม
-โลกเป็นดาวที่มีมนุษย์อาศัยอยู่


                                      


มวลของสมาชิกในระบบสุริยะ
ดวงอาทิตย์ 99.85 %
เหล่าดาวเคราะห์ 0.135 %
เหล่าดาวหาง 0.01 %
บริวารของดาวเคราะห์ 0.00005 %
ดาวเคราะห์น้อย 0.0000002 %
อุกกาบาต 0.0000001 %

องค์ประกอบของระบบสุริยะ
ระบบสุริยะประกอบด้วยดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางและเหล่าสมาชิกโคจรโดยรอบ คือ ดาวเคราะห์ 9 ดวง บริวารของดาวเคราะห์ ดาวหาง ดาวเคราะห์น้อยและอุกกาบาต เมื่อเปรียบเทียบมวลของสมาชิกในระบบสุริยะ ดวงอาทิตย์มีมวลมากที่สุดถึง 99.85% ขณะที่ดาวเคราะห์ทุกดวงรวมกันมีมวลเพียง 0.01355 % ซึ่งดาวพฤหัสบดีมีมวลสูงเป็น 2.5 เท่าของมวลดาวเคราะห์อื่น ๆ ทุกดวงรวมกัน
ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งกำเนิดพลังงานที่ใหญ่ที่สุดแผ่พลังงานออกไปในระบบสุริยะโดยรอบในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

ขนาดของระบบสุริยจักรวาล
การวัดระยะทางภายในระบบสุริยจักรวาลใช้ระบบการวัดหลายระบบด้วยกัน ส่วนใหญ่จะใช้หน่วยวัดเป็นไมล์ ระยะทาง จากดวงอาทิตย์ไปยังดาวเคราะห์ที่ไกลที่สุดที่ค้นพบว่ามีอยู่ปัจจุบัน คือ ดาวเคราะห์พลูโต มีระยะทาง 39.4 หน่วยดาราศาสตร์ในขณะดวงดาว(ดาวฤกษ์)ที่อยู่ ใกล้เรามากที่สุดห่างออกไป 1.33 พาร์เซค (4.35 ปีแสง) วงโคจรของดาวหาง ซึ่งเป็นวงยาวรืมากจะเป็นวงจรอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ไกลออกไปหลายร้อยหรือหลายพัน หน่วยดาราศาสตร์ แต่บริเวณเลยดาวเคราะห์พลูโตออกไป เป็นบริเวณกว้างใหญ่ไพศาลของอวกาศที่มีแต่ความว่างเปล่า ดังนั้นสมาชิกของระบบสุริยจักรวาล จึงห้อมล้อม ด้วยอวกาศและเมื่อเปรียบขนาดของสุริยจักรวาลกับขนาดของกาแลคซี่ทางช้างเผือกซึ่งสุริยจักรวาลของเราเป็นสมาชิกอยู่ ระบบสุริยจักรวาลจะเป็นเพียงจุดเล็กๆจุดหนึ่ง ที่ปราศจากความสำคัญใดๆและจะกลายเป็นเรื่องยากลำบากยิ่ง ในการค้นหาระบบสุริยจักรวาลของเราให้พบเมื่อสังเกตการณ์จากดวงดาวที่อยู่ใกล้สุริยจักรวาลที่สุด ยกเว้น แต่จะมองเห็นดวงอาทิตย์ของเราเพียงดวงเดียวเท่านั้น

ตำแหน่งของระบบสุริยะในกาแล็กซีทางช้างเผือก
ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ดวงหนึ่ง อยู่ในอาณาจักแห่งดวงดาว ที่เรียกว่า กาแล็กซีทางช้างเผือก (The milky Way) หรือ กาแล็กซีของเรา ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกดาวฤกษ์มากมายประมาณ 2 แสนล้านดวง มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 แสนปีแสง ระบบสุริยะอยู่ห่างจากศูนย์กลางราว 32600 ปีแสง ดวงอาทิตย์พาเหล่าบริวารโคจรครบรอบกาแล็กซีในเวลา 225 ล้านปี
เมื่อมองจากอวกาศเหนือขั้วโลกเหนือของดวงอาทิตย์ สมาชิกในระบบสุริยะโคจรรอบดวงอาทิตย์ในทิศทาง ทวนเข็มนาฬิกาไปทางเดียวกัน
ดาวเคราะห์ทั้งหลายต่างโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่ในระนาบใกล้เคียงกัน กับระนาบที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ซึ่งเรียกว่า ระนาบสุริยวิถี (Ecliptic) มีแต่ดาวพลูโตดวงเดียวที่มีวงโคจรรีมาก และเอียงออกจากระนาบสุริยวิถีมากถึง 18 องศา

กำเนิดระบบสุริยะ
สันนิษฐานว่าระบบสุริยะมีกำเนิดมาจากกลุ่มก๊าซและฝุ่นขนาดมหึมาที่หมุนรอบศูนย์กลางเมื่อประมาณ 5000 ล้านปีก่อน มวลสารหมุนวนทำให้มีลักษณะเป็นจานแบนเมื่ออุณหภูมิรอบนอกค่อย ๆเย็นตัวลง มวลสารรวมตัวกันเกิดเป็นดาวเคราะห์และสมาชิกบริวารโคจรรอบดวงอาทิตย์ไปทางเดียวกันและอยู่ในระนาบใกล้เคียงกัน เช่นทุกวันนี้

ประเภทของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ
ดาวเคราะห์ชั้นใน (Inner Planets)
เป็นกลุ่มดาวเคราะห์ทีมีลักษณะคล้ายโลก (The Terrestrial Planet) คือมีพื้นผิวเป็นหินแข็งอย่างโลก ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคาร ขณะที่ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคารมีบรรยากาศห่อหุ้มชัดเจน แต่ดาวพุธเกือบไม่มีบรรยากาศเลย

ดาวเคราะห์ชั้นนอก (Outer Planets)
เป็นกลุ่มดาวเคราะห์ที่มีลักษณะคล้ายดาวพฤหัสบดี (The Jovian Planets) คือเป็นดาวเคราะห์ก๊าซซึ่งอาจมีแกนแข็งขนาดเล็กอยู่ที่ใจกลางและ มีขนาดใหญ่มากเมื่อเทียบกับโลกได้แก่ ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน

ดาวพลูโตดวงโดดเดี่ยว
ดาวพลูโตเป็นดาวเคราะห์ที่มีลักษณะพิเศษประกอบด้วยหินและน้ำแข็งจึงมีลักษณะคล้ายโลก แต่วงโคจรไกลเลยจากวงโคจรของดาวเนปจูนออกไป มนุษย์ยังมีความรรู้เรื่องดาวพลูโตน้อยมาก เนื่องจากวงโคจรของดาวพลูโตเอียงออกจากระนาบของ สุริยวิถีมากจึงมีบางช่วงนานราว 20 ปี ที่ดาวพลูโตโคจรอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าดาวเนปจูน บรรยากาศอาจเกิดจากมีเทนแข็งระเหิด ขณะเมื่อพลูโตเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ แต่เมื่ออยู่ไกลจากดวงอาทิตย์ตามปกติ ดาวพลูโตอาจเย็นจัดเป็นก้อนน้ำแข็งและไม่มีบรรยากาศก็เป็นได้


สัญลักษณ์ของดวงอาทิตย์   -------------->>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>            

ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ชั้น G2  เป็นเพียงสมาชิกหนึ่งในบรรดาดาวฤกษ์หนึ่งแสนล้านดวง ในกาแล๊กซี่ทางช้างเผือก

เส้นผ่านศูนย์กลาง: 1,390,000 ก.ม.
มวล: 1.989 x 1030 ก.ก.
อุณหภูมิ: 5800 เคลวิน (พื้นผิว) 15,600,000 K (แกน)

ดวงอาทิตย์ เป็นเทหวัตถุ ที่ใหญ่ที่สุด ในระบบสุริยะ คิดเป็นมวลมากกว่า 99.8% ของมวลทั้งระบบ (ที่เหลือเกือบทั้งหมดเป็น
ดาวพฤหัสบด )

ด วงอาทิตย์ มีชื่อเรียกหลายชื่อในเทพนิยาย: กรีกเรียกว่า เฮลิออส โรมันเรียกว่า ซอล

ในปัจจุบันดวงอาทิตย์ประกอบด้วย ไฮโดรเจน 75% และ ฮีเลียม 25% นับโดยมวล (ไฮโดรเจน 92.1% และฮีเลียม 7.8% นับโดยจำนวนอะตอม) ที่เหลือจำนวน 0.1% เป็น "โลหะ"  X ส่วนเหล่านี้เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ โดยดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจนในแกนของมันให้กลายเป็นฮีเลียม

ชั้นนอกของดวงอาทิตย์มีการเคลื่อนที่แบบ differential rotation กล่าวคือ ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตร หมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบใช้เวลา 25.4 วัน แต่บริเวณขั้ว หมุนหนึ่งรอบใช้เวลาถึง 36 วัน พฤติกรรมเช่นนี้แสดงว่าดวงอาทิตย์มิได้เป็นของแข็ง (solid body) เฉกเข่นโลก แต่คล้ายกับ ดาวเคราะห์แก๊ส ลักษณะการหมุนเช่นนี้เกิดขึ้นในแนวลึกลงไปด้วย ยกเว้นตรงแกนของดวงอาทิตย์ หมุนรอบตัวในลักษณะแบบของแข็ง

แกนของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิสูงถึง 15.6 ล้านเคลวิน และมีความกดดัน 250 พันล้าน หน่วยบรรยากาศ แก๊สที่แกนกลางถูกอัดตัวให้มีความหนาแน่นมากกว่าน้ำถึง 150 เท่า

พลังงานของดวงอาทิตย์  ผลิตโดยปฏิกริยา นิวเคลียร์ฟิวชั่น ทุก ๆ หนึ่งวินาที ดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจน 700,000,000 ตัน ให้กลายเป็นฮีเลียม 695,000,000 ตัน และพลังงานในรูปของรังสีแกมม่าอีกจำนวน 5,000,000 ตัน พุ่งตรงมายังพื้นผิว จากนั้นพลังงานถูกดูดกลืนเข้าไปและเปล่งออกอีก ทำให้อุณหภูมิลดต่ำลงเมื่อถึงพื้นผิว กลายเป็นแสงที่เรามองเห็นได้; ณ ข่วง 20% สุดท้ายก่อนที่จะถึงพื้นผิว พลังงานส่วนใหญ่ม้วนตัวกลับ ( convection ) มากกว่าที่จะแผ่รังสีออก

 พื้นผิวของดวงอาทิตย์เรียกว่า ชั้นโฟโตสเฟียร์ มีอุณหภมิประมาณ 5,800 เคลวิน; จุดบนดวงอาทิตย์ (Sunspots) เป็นย่านที่อุณหภูมิต่ำเพียง 3,800 เคลวิน (มันดูมืดเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณรอบ ๆ) จุดบนดวงอาทิตย์อาจมีขนาดใหญ่ถึง 50,000 ก.ม. มันเกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สลับซับซ้อน และยังไม่เข้าใจดีนัก ว่าเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์อย่างไร

เหนือขึ้นมาจากชั้นโฟโตสเฟียร์ มีชั้นเล็ก ๆ เรียกว่า โครโมสเฟียร์

 ชั้นที่อยู่เหนือโครโมสเฟียร์ เราเรียกว่า โคโรน่า มันแผ่ออกไปในอวกาศหลายล้านกิโลเมตร แต่จะมองเห็นได้เฉพาะเวลาที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงเท่านั้น โคโคน่ามีอุณหภูมิสูงมากกว่า 1,000,000 เคลวิน

ส นามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์มีความเข้มและซับซ้อนมาก เขต แมกเนโตสเฟียร์ (ซึ่งบางทีเรียกว่า เฮลิโอสเฟียร์) แผ่ขยายออกไปไกลกว่า ดาวพลูโต

 นอกเหนือจากความร้อนและแสง ดวงอาทิตย์แพร่อนุภาคความหนาแน่นต่ำ (ส่วนมากเป็นอิเล็กตรอนและโปรตอน) ซึ่งรู้จักกันในนามของลมสุริยะ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 450 ก.ม./วินาที ลมสุริยะและอนุภาคซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า ถูกพ่นออกโดย solar flares สามารถรบกวนสายไฟฟ้าแรงสูง คลื่นวิทยุะ และทำให้เกิดปรากฏการณ์แสงเหนือแสงใต้ที่งดงาม

 ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณ 4.5 ล้านปี นับตั้งแต่กำเนิดมามันได้เผาผลาญไฮโดรเจนในแกนของมันไปประมาณครึ่งหนึ่ง มันยังคงแผ่รังสีอย่างสงบต่อไปอีกประมาณ 5 ล้านปี (ความสว่างจะมากขึ้นเป็นสองเท่าเมื่อถึงเวลานั้น) และเมื่อไฮโดรเจนหมดลง ขนาดของมันจะใหญ่ขึ้นจนกลืนโลกเข้าไป 

ดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์น้อยเป็นเทห์วัตถุ บนท้องฟ้า อีกชนิดหนึ่ง และเป็นบริวาร ที่โคจรรอบ ดวงอาทิตย์คล้ายๆ ดาวเคราะห์ แต่มักมีขนาดเล็ก โดยส่วนใหญ่ จะโคจรอยู่ในบริเวณ ระหว่าง ดาวอังคาร และดาวพฤหัส ข้อมูลปัจจุบัน ประมาณว่า มีดาวเคราะห์น้อย อยู่ประมาณ 30,000 ดวง ถึง 50,000 ดวง แต่มีเพียงไม่กี่ดวง ที่สามารถใช้ กล้องโทรทัศน์ขนาดเล็ก ส่องดูได้ ดาวเคราะห์น้อย บางดวงมีวงโคจร เปลี่ยนไป เปลี่ยนมา เมื่อโคจรผ่านดาวเคราะห์ ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัส จะถูกแรงดึงดูด รบกวนจน ทำให้วงโคจร ของดาวเคราะห์น้อย แปรเปลี่ยนไป ซึ่งบางดวง อาจโคจร เข้ามาใกล้โลกของเรา และอาจจะเกิด อันตรายต่อโลก ของเราได้ แต่มีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยมาก แต่ก็มีการนำเรื่อง ดังกล่าว ไปสร้าง เป็นภาพยนตร์ ที่หลายคน อาจจะได้ดูเมื่อ เร็วๆนี้ คือเรื่อง "Armageddon" ที่ทำเงิน จากการฉายทั่วโลกได้มากมาย   อืมเรื่องนี้ไม่มีรูปประกอบนะหาไม่ได้อ่ะ

ดาวหาง

ดาวหางเป็นเทหวัตถุมีมวลน้อยมาก หมุนอยู่รอบดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกับสมาชิกอื่นๆในระบบสุริยจักรวาลของเรา รูปร่างและความสว่างของดาวหางแต่ละดวงมีความแตกต่างกันออกไปตามระยะทางที่มันอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์ ดาวหางดวงที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นระยะทางไกลๆจะมีความสว่างน้อยมาก มองเห็นคล้ายๆว่าเป็นดวงดาวดวงหนึ่งเท่านั้น ส่วนประกอบสำคัญของดาวหางคือเทหวัตถุขนาดเล็กๆอยู่ในบริเวณตอนหัวของมันเรียกว่า นิวเคลียส

ปรากฏการณ์ของดาวหาง

ในอดีตมนุษย์มักจะมีความหวาดกลัวปรากฏการณ์ของดาวหางทั้งนี้เพราะมองเห็นว่าดาวหางปรากฏตัวขึ้นมาอย่าง กะทันหัน และมีแสงสุกใสมีเส้นทางโคจรลึกลับและบางครั้งดาวหางก็เปลี่ยนแปลงรูปร่างของมันไปอย่างรวดเร็ว

การโคจรของดาวหาง

วงโคจรของมันจะมีรูปทรงกรวยโดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลาง ชนิดของรูปทรงกรวยขึ้นอยู่กับลักษณะ การโคจรไม่เป็นวงกลมของมันคือ 2 และขึ้นอยู่กับความเร็วของดาวหางที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ใกล้ที่สุดคือระยะทาง เส้นทางโคจรของดาวหางมีความซับซ้อนมากกว่าที่กล่าวมาแล้วเพราะว่าดาวหางจะถูกรบกวนขณะเดินทางจากแรงดึงดูด ของดาวเคราะห์ ซึ่งบางครั้งมีผลกระทบต่อเส้นทางโคจรของมันเพียงเล็กน้อย แต่บางครั้งก็จะมีผลกระทบต่อเส้นทางเดินของดาวหาง ดวงนั้นเป็นอย่างมาก ดาวหางยิ่งเดินทางผ่านดาวเคราะห์มากเท่าใด ดาวหางดวงนั้นย่อมได้รัยอิทธิพลจากแรงดึงดูดของดาวเคราะห์ ดวงนั้นมากเท่านั้น ยิ่งดาวพฤหัสบดีซึ่งมีมวลมากส่งผลกระทบต่อวงโคจรของดาวหางมาก

The FireBall-The Meteor

                              อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

                              สะเก็ดดาวหรือดาวตก มองเห็นวิ่งผ่านชั้นบรรยากาศของโลกเป็นแสงสว่างแล้วก็หายไป สะเก็ดดาวตกอาจเป็นวัตถุแข็งๆ มีขนาดไม่โตกว่าเม็ดทรายหรืออาจมีขนาดเท่าๆกับเม็ดถั่วลิสงเท่านั้น แสงสว่างเกิดขึ้นมาเพราะการเสียดสีระหว่างอะตอมของสะเก็ดดาวตก กับโมเลกุลของอากาศของโลก สะเก็ดดาวตกเช่นนั้นมองเห็นมีแสงสว่างสะเก็ดดาวตกเช่นนั้นจะหายไปใน บรรยากาศของโลกในระดับความสูงประมาณ 60 ไมล์(95 กิโลเมตร) เทห์แข็งๆของสะเก็ดดาวบางครั้งมีมวลเพียงไม่กี่ออนซ์ จนถึงมีนำหนักหลายตันอาจหล่นมาถึงผิวโลกเรียกว่า อุกกาบาต สะเก็ดดาวบางครั้งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงไม่กี่ไมครอน วิ่งผ่านบรรยากาศและหล่นมาถึงผิวโลก เหลือเป็นอนุภาคเล็กๆ เมื่อโคจรผ่านสะเก็ดดาว ซึ่งเคลื่อนไหว ในวงโคจรรอบๆดวงอาทิตย์ จะมีจำนวนดาวตก จำนวนมากวิ่งผ่านเข้ามาในบรรยากาศของโลกชั่วโมง หนึ่งหลายสิบครั้ง บางครั้งกลุ่มสะเก็ดดาวปรากฏตัวอยู่บนท้องฟ้า เป็นแผ่นหนาเหมือนหิมะกลุ่มละอองสะเก็ดดาวในวงโคจรบางครั้งมีลักษณะเหมือนกลุ่มละออง สะเก็ดดาวในดาวหาง เรื่องนี้เป็นหลักฐานแสดง ให้เห็นว่าดาวหางและกลุ่มสะเก็ดดาวมีความเกี่ยวพันกันนักดาราศาสตร์มีความเห็นว่าสสาร ของสะเก็ดดาว คือส่วนที่หลงเหลือจากการสลายตัวของดาวหางบางดวง

               ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอุกกาบาต เช่น
ฝนอุกกาบาต(meteor showers) คือขณะที่โลกโคจรไปพบอุกกาบาตที่มาด้วยกันเป็นกลุ่มใหญ่อุกกาบาตนี้จะตกลงมาในเวลาอันรวดเร็ว                                                         เป็นจำนวนมาก
กลุ่มอุกกาบาต(meteor warm)   คืออุกกาบาตซึ่งโคจรเป็นกลุ่มมีวงโคจรเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์ไม่หนาแน่น ประมาณ 14 ชิ้น/2ล้านลูกบาศก์ไมล์
ธารอุกกาบาต(meteor steam)   คือกลุ่มอุกกาบาตที่แผ่กระจายออกมาตามความโค้งวงทางโคจรทำให้ดูเหมือนว่าอุกกาบาตนั้นเคลื่อนที่ในอวกาศ                                                        เป็นสายธาร

The Nebula

                            คำว่า"เนบิวลา"นักดาราศาสตร์ใช้เรียกสิ่งที่ปรากฏเป็นเมฆหมอกฝ้าอยู่คงที่ในท่ามกลางดวงดาว บนท้องฟ้า อาจจะปรากฏเป็นแสงสว่างเรือง หรือ มืดสนิทก็ได้ เรามองเห็นเนบิวลาได้ยาก เพราะแม้ชนิดที่สว่างก็มีแสงจาง แผ่กรจายไม่รวมกันเข้มเป็นจุดสว่างดังเช่นดาวฤกษ์ เราจึงสามารถเห็นเนบิวลาบนท้องฟ้าด้วยตาเปล่าได้เพียง 4 แห่ง ในขณะที่สามารถเห็นดาวฤกษ์ด้วยตาเปล่าถึงราว 5,000 ดวง ความจริงเนบิวลามีอยู๋เป็นปริมาณมากมายไม่น้อย การที่เราจะตรวจพบหรือไม่ขึ้นอยู่กับความไวของอุปกรณ์ที่ใช้สำรวจ เนบิวลาที่อยู๋ในระบบทางช้างเผือกของเรา เรียกว่า กาแลคติคเนบิวลา Galaxtic Nebula ซึ่งเป็นกลุ่มก๊าซที่มีความสัมพันธ์ทางใดทางหนึ่งกับดาวฤกษ์ หรือกลุ่มดาวในกาแลกซี ซึ่งดวงอาทิตย์ของเราเป็นสมาชิกหน่วยหนึ่ง ตัวอย่างของ Galaxtic Nebulaชนิดแผ่กระจายได้แก่ กลุ่มที่อยู๋ในหมู่ดาว ออไรน นับเป็นกลุ่มก๊าซและฝุ่นซึ่งใหญ่โตกลุ่มหนึ่งในกาแลกซี กินอาณาเขตกว้างขวางในอวกาศ แผ่คลุมดาวฤกษ์อยู่ภายในองค์ประกอบสำคัญ คือ Hydrogen Helium มากที่สุด และนอกนั้นก็มี Oxygen และ Nitrogen เป็นต้น เนบิวลานี้เรืองเสงเพราะถูกกระตุ้นด้วยUVจากดาวฤกษืซึ่งอยู่ภายใน และบางส่วนของก๊าซและฝุ่นที่อยู่เบื้องหลังไกลออกไป จึงปรากฏเป็นเนบิวลามืด กาแลคติคเนบิวลาชนิดเป็นดวง นั้นเป็นกลุ่มก๊าซรูปทรงกลมซึ่งแผ่กระจายออกมาจากการระเบิดของดาวฤกษ์ และปรากฏให้เห็นหลายดวงบนท้องฟ้า เช่นที่เรียกกันว่า เนบิวลาวงแหวน เนบิวลาปู เนบิวลานกฮูก เป็นต้น ตามความคล้ายคลึงกับรูปสิ่งของ สัตว์ที่มนุษย์คุ้นเคยกันทั่วไป

                    เนบิวลานอกกาแลกซี หรือ สไปราลเนบิวลา นั้นเป็นวัตถุจำพวกที่อยู๋ห่างไกลออกไปนอกกาแลกซีของเรา เป็นต้นว่า เมฆแมคเยลแลน ซึ่งเห็นได้ด้วยตาเปล่าบนท้องฟ้าของซีกโลกภาคใต้ อยู่ห่างไป 150,000 ปีแสง หรืออาจจะมากกว่านั้นก็เป็นได้เช่น สไปราลเนบิวลา ที่อยู่ในทิศทางของหมู่ดาวอันโดรเมดาซึ่งอยู่ห่างออกไปถึง 2,200,000 ปีแสง ข้างล่างจะเป็นลักษณะของเนบิวลานะ

: 10 มิถุนายน 2540 เวลา 0.33 น. กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสสิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล Losmandy G-11 เนบิวลาอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ตำแหน่ง R.A. 18h 02m Dec -23o02' อันดับความสว่าง 8.5 ฟิล์ม Kodak Multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 45 นาที

: 4 มิถุนายน 2540 เวลา 2.03 น.
ใช้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสซิเกรน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที ฟิล์ม Kodak Multispeed ตำแหน่ง 18h20m, -16o11'
อันดับความสว่าง 7.6 อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู (Ophiuchus)

: 15 มีนาคม 2540 เวลา 3.00 น.
กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง แบบชมิดท์แคสซิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
อันดับความสว่าง 5.8 อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู (Sagittarius)
ฟิล์ม Kodak multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที


สัญลักษณ์ของดวงอาทิตย์   -------------->>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>            

ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ชั้น G2  เป็นเพียงสมาชิกหนึ่งในบรรดาดาวฤกษ์หนึ่งแสนล้านดวง ในกาแล๊กซี่ทางช้างเผือก

เส้นผ่านศูนย์กลาง: 1,390,000 ก.ม.
มวล: 1.989 x 1030 ก.ก.
อุณหภูมิ: 5800 เคลวิน (พื้นผิว) 15,600,000 K (แกน)

ดวงอาทิตย์ เป็นเทหวัตถุ ที่ใหญ่ที่สุด ในระบบสุริยะ คิดเป็นมวลมากกว่า 99.8% ของมวลทั้งระบบ (ที่เหลือเกือบทั้งหมดเป็น
ดาวพฤหัสบด )

ด วงอาทิตย์ มีชื่อเรียกหลายชื่อในเทพนิยาย: กรีกเรียกว่า เฮลิออส โรมันเรียกว่า ซอล

ในปัจจุบันดวงอาทิตย์ประกอบด้วย ไฮโดรเจน 75% และ ฮีเลียม 25% นับโดยมวล (ไฮโดรเจน 92.1% และฮีเลียม 7.8% นับโดยจำนวนอะตอม) ที่เหลือจำนวน 0.1% เป็น "โลหะ"  X ส่วนเหล่านี้เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ โดยดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจนในแกนของมันให้กลายเป็นฮีเลียม

ชั้นนอกของดวงอาทิตย์มีการเคลื่อนที่แบบ differential rotation กล่าวคือ ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตร หมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบใช้เวลา 25.4 วัน แต่บริเวณขั้ว หมุนหนึ่งรอบใช้เวลาถึง 36 วัน พฤติกรรมเช่นนี้แสดงว่าดวงอาทิตย์มิได้เป็นของแข็ง (solid body) เฉกเข่นโลก แต่คล้ายกับ ดาวเคราะห์แก๊ส ลักษณะการหมุนเช่นนี้เกิดขึ้นในแนวลึกลงไปด้วย ยกเว้นตรงแกนของดวงอาทิตย์ หมุนรอบตัวในลักษณะแบบของแข็ง

แกนของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิสูงถึง 15.6 ล้านเคลวิน และมีความกดดัน 250 พันล้าน หน่วยบรรยากาศ แก๊สที่แกนกลางถูกอัดตัวให้มีความหนาแน่นมากกว่าน้ำถึง 150 เท่า

พลังงานของดวงอาทิตย์  ผลิตโดยปฏิกริยา นิวเคลียร์ฟิวชั่น ทุก ๆ หนึ่งวินาที ดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจน 700,000,000 ตัน ให้กลายเป็นฮีเลียม 695,000,000 ตัน และพลังงานในรูปของรังสีแกมม่าอีกจำนวน 5,000,000 ตัน พุ่งตรงมายังพื้นผิว จากนั้นพลังงานถูกดูดกลืนเข้าไปและเปล่งออกอีก ทำให้อุณหภูมิลดต่ำลงเมื่อถึงพื้นผิว กลายเป็นแสงที่เรามองเห็นได้; ณ ข่วง 20% สุดท้ายก่อนที่จะถึงพื้นผิว พลังงานส่วนใหญ่ม้วนตัวกลับ ( convection ) มากกว่าที่จะแผ่รังสีออก

 พื้นผิวของดวงอาทิตย์เรียกว่า ชั้นโฟโตสเฟียร์ มีอุณหภมิประมาณ 5,800 เคลวิน; จุดบนดวงอาทิตย์ (Sunspots) เป็นย่านที่อุณหภูมิต่ำเพียง 3,800 เคลวิน (มันดูมืดเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณรอบ ๆ) จุดบนดวงอาทิตย์อาจมีขนาดใหญ่ถึง 50,000 ก.ม. มันเกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สลับซับซ้อน และยังไม่เข้าใจดีนัก ว่าเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์อย่างไร

เหนือขึ้นมาจากชั้นโฟโตสเฟียร์ มีชั้นเล็ก ๆ เรียกว่า โครโมสเฟียร์

 ชั้นที่อยู่เหนือโครโมสเฟียร์ เราเรียกว่า โคโรน่า มันแผ่ออกไปในอวกาศหลายล้านกิโลเมตร แต่จะมองเห็นได้เฉพาะเวลาที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงเท่านั้น โคโคน่ามีอุณหภูมิสูงมากกว่า 1,000,000 เคลวิน

ส นามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์มีความเข้มและซับซ้อนมาก เขต แมกเนโตสเฟียร์ (ซึ่งบางทีเรียกว่า เฮลิโอสเฟียร์) แผ่ขยายออกไปไกลกว่า ดาวพลูโต

 นอกเหนือจากความร้อนและแสง ดวงอาทิตย์แพร่อนุภาคความหนาแน่นต่ำ (ส่วนมากเป็นอิเล็กตรอนและโปรตอน) ซึ่งรู้จักกันในนามของลมสุริยะ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 450 ก.ม./วินาที ลมสุริยะและอนุภาคซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า ถูกพ่นออกโดย solar flares สามารถรบกวนสายไฟฟ้าแรงสูง คลื่นวิทยุะ และทำให้เกิดปรากฏการณ์แสงเหนือแสงใต้ที่งดงาม

 ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณ 4.5 ล้านปี นับตั้งแต่กำเนิดมามันได้เผาผลาญไฮโดรเจนในแกนของมันไปประมาณครึ่งหนึ่ง มันยังคงแผ่รังสีอย่างสงบต่อไปอีกประมาณ 5 ล้านปี (ความสว่างจะมากขึ้นเป็นสองเท่าเมื่อถึงเวลานั้น) และเมื่อไฮโดรเจนหมดลง ขนาดของมันจะใหญ่ขึ้นจนกลืนโลกเข้าไป 

ดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์น้อยเป็นเทห์วัตถุ บนท้องฟ้า อีกชนิดหนึ่ง และเป็นบริวาร ที่โคจรรอบ ดวงอาทิตย์คล้ายๆ ดาวเคราะห์ แต่มักมีขนาดเล็ก โดยส่วนใหญ่ จะโคจรอยู่ในบริเวณ ระหว่าง ดาวอังคาร และดาวพฤหัส ข้อมูลปัจจุบัน ประมาณว่า มีดาวเคราะห์น้อย อยู่ประมาณ 30,000 ดวง ถึง 50,000 ดวง แต่มีเพียงไม่กี่ดวง ที่สามารถใช้ กล้องโทรทัศน์ขนาดเล็ก ส่องดูได้ ดาวเคราะห์น้อย บางดวงมีวงโคจร เปลี่ยนไป เปลี่ยนมา เมื่อโคจรผ่านดาวเคราะห์ ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัส จะถูกแรงดึงดูด รบกวนจน ทำให้วงโคจร ของดาวเคราะห์น้อย แปรเปลี่ยนไป ซึ่งบางดวง อาจโคจร เข้ามาใกล้โลกของเรา และอาจจะเกิด อันตรายต่อโลก ของเราได้ แต่มีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยมาก แต่ก็มีการนำเรื่อง ดังกล่าว ไปสร้าง เป็นภาพยนตร์ ที่หลายคน อาจจะได้ดูเมื่อ เร็วๆนี้ คือเรื่อง "Armageddon" ที่ทำเงิน จากการฉายทั่วโลกได้มากมาย   อืมเรื่องนี้ไม่มีรูปประกอบนะหาไม่ได้อ่ะ

ดาวหาง

ดาวหางเป็นเทหวัตถุมีมวลน้อยมาก หมุนอยู่รอบดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกับสมาชิกอื่นๆในระบบสุริยจักรวาลของเรา รูปร่างและความสว่างของดาวหางแต่ละดวงมีความแตกต่างกันออกไปตามระยะทางที่มันอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์ ดาวหางดวงที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นระยะทางไกลๆจะมีความสว่างน้อยมาก มองเห็นคล้ายๆว่าเป็นดวงดาวดวงหนึ่งเท่านั้น ส่วนประกอบสำคัญของดาวหางคือเทหวัตถุขนาดเล็กๆอยู่ในบริเวณตอนหัวของมันเรียกว่า นิวเคลียส

ปรากฏการณ์ของดาวหาง

ในอดีตมนุษย์มักจะมีความหวาดกลัวปรากฏการณ์ของดาวหางทั้งนี้เพราะมองเห็นว่าดาวหางปรากฏตัวขึ้นมาอย่าง กะทันหัน และมีแสงสุกใสมีเส้นทางโคจรลึกลับและบางครั้งดาวหางก็เปลี่ยนแปลงรูปร่างของมันไปอย่างรวดเร็ว

การโคจรของดาวหาง

วงโคจรของมันจะมีรูปทรงกรวยโดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลาง ชนิดของรูปทรงกรวยขึ้นอยู่กับลักษณะ การโคจรไม่เป็นวงกลมของมันคือ 2 และขึ้นอยู่กับความเร็วของดาวหางที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ใกล้ที่สุดคือระยะทาง เส้นทางโคจรของดาวหางมีความซับซ้อนมากกว่าที่กล่าวมาแล้วเพราะว่าดาวหางจะถูกรบกวนขณะเดินทางจากแรงดึงดูด ของดาวเคราะห์ ซึ่งบางครั้งมีผลกระทบต่อเส้นทางโคจรของมันเพียงเล็กน้อย แต่บางครั้งก็จะมีผลกระทบต่อเส้นทางเดินของดาวหาง ดวงนั้นเป็นอย่างมาก ดาวหางยิ่งเดินทางผ่านดาวเคราะห์มากเท่าใด ดาวหางดวงนั้นย่อมได้รัยอิทธิพลจากแรงดึงดูดของดาวเคราะห์ ดวงนั้นมากเท่านั้น ยิ่งดาวพฤหัสบดีซึ่งมีมวลมากส่งผลกระทบต่อวงโคจรของดาวหางมาก

The FireBall-The Meteor

                              อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

                              สะเก็ดดาวหรือดาวตก มองเห็นวิ่งผ่านชั้นบรรยากาศของโลกเป็นแสงสว่างแล้วก็หายไป สะเก็ดดาวตกอาจเป็นวัตถุแข็งๆ มีขนาดไม่โตกว่าเม็ดทรายหรืออาจมีขนาดเท่าๆกับเม็ดถั่วลิสงเท่านั้น แสงสว่างเกิดขึ้นมาเพราะการเสียดสีระหว่างอะตอมของสะเก็ดดาวตก กับโมเลกุลของอากาศของโลก สะเก็ดดาวตกเช่นนั้นมองเห็นมีแสงสว่างสะเก็ดดาวตกเช่นนั้นจะหายไปใน บรรยากาศของโลกในระดับความสูงประมาณ 60 ไมล์(95 กิโลเมตร) เทห์แข็งๆของสะเก็ดดาวบางครั้งมีมวลเพียงไม่กี่ออนซ์ จนถึงมีนำหนักหลายตันอาจหล่นมาถึงผิวโลกเรียกว่า อุกกาบาต สะเก็ดดาวบางครั้งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงไม่กี่ไมครอน วิ่งผ่านบรรยากาศและหล่นมาถึงผิวโลก เหลือเป็นอนุภาคเล็กๆ เมื่อโคจรผ่านสะเก็ดดาว ซึ่งเคลื่อนไหว ในวงโคจรรอบๆดวงอาทิตย์ จะมีจำนวนดาวตก จำนวนมากวิ่งผ่านเข้ามาในบรรยากาศของโลกชั่วโมง หนึ่งหลายสิบครั้ง บางครั้งกลุ่มสะเก็ดดาวปรากฏตัวอยู่บนท้องฟ้า เป็นแผ่นหนาเหมือนหิมะกลุ่มละอองสะเก็ดดาวในวงโคจรบางครั้งมีลักษณะเหมือนกลุ่มละออง สะเก็ดดาวในดาวหาง เรื่องนี้เป็นหลักฐานแสดง ให้เห็นว่าดาวหางและกลุ่มสะเก็ดดาวมีความเกี่ยวพันกันนักดาราศาสตร์มีความเห็นว่าสสาร ของสะเก็ดดาว คือส่วนที่หลงเหลือจากการสลายตัวของดาวหางบางดวง

               ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอุกกาบาต เช่น
ฝนอุกกาบาต(meteor showers) คือขณะที่โลกโคจรไปพบอุกกาบาตที่มาด้วยกันเป็นกลุ่มใหญ่อุกกาบาตนี้จะตกลงมาในเวลาอันรวดเร็ว                                                         เป็นจำนวนมาก
กลุ่มอุกกาบาต(meteor warm)   คืออุกกาบาตซึ่งโคจรเป็นกลุ่มมีวงโคจรเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์ไม่หนาแน่น ประมาณ 14 ชิ้น/2ล้านลูกบาศก์ไมล์
ธารอุกกาบาต(meteor steam)   คือกลุ่มอุกกาบาตที่แผ่กระจายออกมาตามความโค้งวงทางโคจรทำให้ดูเหมือนว่าอุกกาบาตนั้นเคลื่อนที่ในอวกาศ                                                        เป็นสายธาร

The Nebula

                            คำว่า"เนบิวลา"นักดาราศาสตร์ใช้เรียกสิ่งที่ปรากฏเป็นเมฆหมอกฝ้าอยู่คงที่ในท่ามกลางดวงดาว บนท้องฟ้า อาจจะปรากฏเป็นแสงสว่างเรือง หรือ มืดสนิทก็ได้ เรามองเห็นเนบิวลาได้ยาก เพราะแม้ชนิดที่สว่างก็มีแสงจาง แผ่กรจายไม่รวมกันเข้มเป็นจุดสว่างดังเช่นดาวฤกษ์ เราจึงสามารถเห็นเนบิวลาบนท้องฟ้าด้วยตาเปล่าได้เพียง 4 แห่ง ในขณะที่สามารถเห็นดาวฤกษ์ด้วยตาเปล่าถึงราว 5,000 ดวง ความจริงเนบิวลามีอยู๋เป็นปริมาณมากมายไม่น้อย การที่เราจะตรวจพบหรือไม่ขึ้นอยู่กับความไวของอุปกรณ์ที่ใช้สำรวจ เนบิวลาที่อยู๋ในระบบทางช้างเผือกของเรา เรียกว่า กาแลคติคเนบิวลา Galaxtic Nebula ซึ่งเป็นกลุ่มก๊าซที่มีความสัมพันธ์ทางใดทางหนึ่งกับดาวฤกษ์ หรือกลุ่มดาวในกาแลกซี ซึ่งดวงอาทิตย์ของเราเป็นสมาชิกหน่วยหนึ่ง ตัวอย่างของ Galaxtic Nebulaชนิดแผ่กระจายได้แก่ กลุ่มที่อยู๋ในหมู่ดาว ออไรน นับเป็นกลุ่มก๊าซและฝุ่นซึ่งใหญ่โตกลุ่มหนึ่งในกาแลกซี กินอาณาเขตกว้างขวางในอวกาศ แผ่คลุมดาวฤกษ์อยู่ภายในองค์ประกอบสำคัญ คือ Hydrogen Helium มากที่สุด และนอกนั้นก็มี Oxygen และ Nitrogen เป็นต้น เนบิวลานี้เรืองเสงเพราะถูกกระตุ้นด้วยUVจากดาวฤกษืซึ่งอยู่ภายใน และบางส่วนของก๊าซและฝุ่นที่อยู่เบื้องหลังไกลออกไป จึงปรากฏเป็นเนบิวลามืด กาแลคติคเนบิวลาชนิดเป็นดวง นั้นเป็นกลุ่มก๊าซรูปทรงกลมซึ่งแผ่กระจายออกมาจากการระเบิดของดาวฤกษ์ และปรากฏให้เห็นหลายดวงบนท้องฟ้า เช่นที่เรียกกันว่า เนบิวลาวงแหวน เนบิวลาปู เนบิวลานกฮูก เป็นต้น ตามความคล้ายคลึงกับรูปสิ่งของ สัตว์ที่มนุษย์คุ้นเคยกันทั่วไป

                    เนบิวลานอกกาแลกซี หรือ สไปราลเนบิวลา นั้นเป็นวัตถุจำพวกที่อยู๋ห่างไกลออกไปนอกกาแลกซีของเรา เป็นต้นว่า เมฆแมคเยลแลน ซึ่งเห็นได้ด้วยตาเปล่าบนท้องฟ้าของซีกโลกภาคใต้ อยู่ห่างไป 150,000 ปีแสง หรืออาจจะมากกว่านั้นก็เป็นได้เช่น สไปราลเนบิวลา ที่อยู่ในทิศทางของหมู่ดาวอันโดรเมดาซึ่งอยู่ห่างออกไปถึง 2,200,000 ปีแสง ข้างล่างจะเป็นลักษณะของเนบิวลานะ

: 10 มิถุนายน 2540 เวลา 0.33 น. กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสสิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล Losmandy G-11 เนบิวลาอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ตำแหน่ง R.A. 18h 02m Dec -23o02' อันดับความสว่าง 8.5 ฟิล์ม Kodak Multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 45 นาที

: 4 มิถุนายน 2540 เวลา 2.03 น.
ใช้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสซิเกรน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที ฟิล์ม Kodak Multispeed ตำแหน่ง 18h20m, -16o11'
อันดับความสว่าง 7.6 อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู (Ophiuchus)

: 15 มีนาคม 2540 เวลา 3.00 น.
กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง แบบชมิดท์แคสซิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
อันดับความสว่าง 5.8 อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู (Sagittarius)
ฟิล์ม Kodak multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที

 
การจำแนกดาวเคราะห์ที่เป็นบริวารของดวงอาทิตย์
1.ใช้ตำแหน่งโลกเป็นหลัก ดาวเคราะห์ใดมีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่ในวงโคจรโลก เรียกว่า"ดาวเคราะห์วงใน(Inferior Planets)  ดาวเคราะห์ใดมีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์นอกวงโคจรโลก เรียกว่า"ดาวเคราะห์วงนอก(Superior Planets)"
2.ใช้ตำแหน่งดาวเคราะห ์น้อยเป็นหลัก โดยแบ่งเป็น 2 พวก คือดาวเคราะห์ที่มีวงโคจรของดาวเคราะห์น้อยเรียกว่า"ดาวเคราะห์ใน(inner planets)"ดาวเคราะห์ที่มีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่นอกวงโคจรดาวเคราะห์น้อยเรียกว่า"ดาวเคราะห์นอก(super planets)"
3.ใช้สมบัติทางฟิสิกส์ ดาวเคราะห์ใดมีสมบัติทางฟิสิกส์คล้ายกับโลกเช่น มีขนาดเล็กเรียก Terrestrid Planetsดาวเคราะห์ที่คล้ายดาวเคราะห์ขนาดใหญ่เรียกว่า Jovian Planets
 วิเคราะห์ลักษณะเด่นของดาวเคราะห์บริวารของดวงอาทิตย์
-ดาวพุธเล็กที่สุด,ดาวพฤหัสใหญ่ที่สุด
-ดาวพุธ,ดาวศุกร์ 2 ดวงนี้รูปร่างเกือบเป็นวงกลมเหมือนดวงจันทร์และดวงอาทิตย์
-ดางศุกร์,ดาวเนปจูนมีวงทางโคจรรอบดวงอาทิตย์เกือบเป็นวงกลม
-โลกเป็นดาวที่มีมนุษย์อาศัยอยู่


                                      


มวลของสมาชิกในระบบสุริยะ
ดวงอาทิตย์ 99.85 %
เหล่าดาวเคราะห์ 0.135 %
เหล่าดาวหาง 0.01 %
บริวารของดาวเคราะห์ 0.00005 %
ดาวเคราะห์น้อย 0.0000002 %
อุกกาบาต 0.0000001 %

องค์ประกอบของระบบสุริยะ
ระบบสุริยะประกอบด้วยดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางและเหล่าสมาชิกโคจรโดยรอบ คือ ดาวเคราะห์ 9 ดวง บริวารของดาวเคราะห์ ดาวหาง ดาวเคราะห์น้อยและอุกกาบาต เมื่อเปรียบเทียบมวลของสมาชิกในระบบสุริยะ ดวงอาทิตย์มีมวลมากที่สุดถึง 99.85% ขณะที่ดาวเคราะห์ทุกดวงรวมกันมีมวลเพียง 0.01355 % ซึ่งดาวพฤหัสบดีมีมวลสูงเป็น 2.5 เท่าของมวลดาวเคราะห์อื่น ๆ ทุกดวงรวมกัน
ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งกำเนิดพลังงานที่ใหญ่ที่สุดแผ่พลังงานออกไปในระบบสุริยะโดยรอบในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

ขนาดของระบบสุริยจักรวาล
การวัดระยะทางภายในระบบสุริยจักรวาลใช้ระบบการวัดหลายระบบด้วยกัน ส่วนใหญ่จะใช้หน่วยวัดเป็นไมล์ ระยะทาง จากดวงอาทิตย์ไปยังดาวเคราะห์ที่ไกลที่สุดที่ค้นพบว่ามีอยู่ปัจจุบัน คือ ดาวเคราะห์พลูโต มีระยะทาง 39.4 หน่วยดาราศาสตร์ในขณะดวงดาว(ดาวฤกษ์)ที่อยู่ ใกล้เรามากที่สุดห่างออกไป 1.33 พาร์เซค (4.35 ปีแสง) วงโคจรของดาวหาง ซึ่งเป็นวงยาวรืมากจะเป็นวงจรอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ไกลออกไปหลายร้อยหรือหลายพัน หน่วยดาราศาสตร์ แต่บริเวณเลยดาวเคราะห์พลูโตออกไป เป็นบริเวณกว้างใหญ่ไพศาลของอวกาศที่มีแต่ความว่างเปล่า ดังนั้นสมาชิกของระบบสุริยจักรวาล จึงห้อมล้อม ด้วยอวกาศและเมื่อเปรียบขนาดของสุริยจักรวาลกับขนาดของกาแลคซี่ทางช้างเผือกซึ่งสุริยจักรวาลของเราเป็นสมาชิกอยู่ ระบบสุริยจักรวาลจะเป็นเพียงจุดเล็กๆจุดหนึ่ง ที่ปราศจากความสำคัญใดๆและจะกลายเป็นเรื่องยากลำบากยิ่ง ในการค้นหาระบบสุริยจักรวาลของเราให้พบเมื่อสังเกตการณ์จากดวงดาวที่อยู่ใกล้สุริยจักรวาลที่สุด ยกเว้น แต่จะมองเห็นดวงอาทิตย์ของเราเพียงดวงเดียวเท่านั้น

ตำแหน่งของระบบสุริยะในกาแล็กซีทางช้างเผือก
ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ดวงหนึ่ง อยู่ในอาณาจักแห่งดวงดาว ที่เรียกว่า กาแล็กซีทางช้างเผือก (The milky Way) หรือ กาแล็กซีของเรา ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกดาวฤกษ์มากมายประมาณ 2 แสนล้านดวง มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 แสนปีแสง ระบบสุริยะอยู่ห่างจากศูนย์กลางราว 32600 ปีแสง ดวงอาทิตย์พาเหล่าบริวารโคจรครบรอบกาแล็กซีในเวลา 225 ล้านปี
เมื่อมองจากอวกาศเหนือขั้วโลกเหนือของดวงอาทิตย์ สมาชิกในระบบสุริยะโคจรรอบดวงอาทิตย์ในทิศทาง ทวนเข็มนาฬิกาไปทางเดียวกัน
ดาวเคราะห์ทั้งหลายต่างโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่ในระนาบใกล้เคียงกัน กับระนาบที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ซึ่งเรียกว่า ระนาบสุริยวิถี (Ecliptic) มีแต่ดาวพลูโตดวงเดียวที่มีวงโคจรรีมาก และเอียงออกจากระนาบสุริยวิถีมากถึง 18 องศา

กำเนิดระบบสุริยะ
สันนิษฐานว่าระบบสุริยะมีกำเนิดมาจากกลุ่มก๊าซและฝุ่นขนาดมหึมาที่หมุนรอบศูนย์กลางเมื่อประมาณ 5000 ล้านปีก่อน มวลสารหมุนวนทำให้มีลักษณะเป็นจานแบนเมื่ออุณหภูมิรอบนอกค่อย ๆเย็นตัวลง มวลสารรวมตัวกันเกิดเป็นดาวเคราะห์และสมาชิกบริวารโคจรรอบดวงอาทิตย์ไปทางเดียวกันและอยู่ในระนาบใกล้เคียงกัน เช่นทุกวันนี้

ประเภทของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ
ดาวเคราะห์ชั้นใน (Inner Planets)
เป็นกลุ่มดาวเคราะห์ทีมีลักษณะคล้ายโลก (The Terrestrial Planet) คือมีพื้นผิวเป็นหินแข็งอย่างโลก ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคาร ขณะที่ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคารมีบรรยากาศห่อหุ้มชัดเจน แต่ดาวพุธเกือบไม่มีบรรยากาศเลย

ดาวเคราะห์ชั้นนอก (Outer Planets)
เป็นกลุ่มดาวเคราะห์ที่มีลักษณะคล้ายดาวพฤหัสบดี (The Jovian Planets) คือเป็นดาวเคราะห์ก๊าซซึ่งอาจมีแกนแข็งขนาดเล็กอยู่ที่ใจกลางและ มีขนาดใหญ่มากเมื่อเทียบกับโลกได้แก่ ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน

ดาวพลูโตดวงโดดเดี่ยว
ดาวพลูโตเป็นดาวเคราะห์ที่มีลักษณะพิเศษประกอบด้วยหินและน้ำแข็งจึงมีลักษณะคล้ายโลก แต่วงโคจรไกลเลยจากวงโคจรของดาวเนปจูนออกไป มนุษย์ยังมีความรรู้เรื่องดาวพลูโตน้อยมาก เนื่องจากวงโคจรของดาวพลูโตเอียงออกจากระนาบของ สุริยวิถีมากจึงมีบางช่วงนานราว 20 ปี ที่ดาวพลูโตโคจรอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าดาวเนปจูน บรรยากาศอาจเกิดจากมีเทนแข็งระเหิด ขณะเมื่อพลูโตเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ แต่เมื่ออยู่ไกลจากดวงอาทิตย์ตามปกติ ดาวพลูโตอาจเย็นจัดเป็นก้อนน้ำแข็งและไม่มีบรรยากาศก็เป็นได้


สัญลักษณ์ของดวงอาทิตย์   -------------->>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>            

ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ชั้น G2  เป็นเพียงสมาชิกหนึ่งในบรรดาดาวฤกษ์หนึ่งแสนล้านดวง ในกาแล๊กซี่ทางช้างเผือก

เส้นผ่านศูนย์กลาง: 1,390,000 ก.ม.
มวล: 1.989 x 1030 ก.ก.
อุณหภูมิ: 5800 เคลวิน (พื้นผิว) 15,600,000 K (แกน)

ดวงอาทิตย์ เป็นเทหวัตถุ ที่ใหญ่ที่สุด ในระบบสุริยะ คิดเป็นมวลมากกว่า 99.8% ของมวลทั้งระบบ (ที่เหลือเกือบทั้งหมดเป็น
ดาวพฤหัสบด )

ด วงอาทิตย์ มีชื่อเรียกหลายชื่อในเทพนิยาย: กรีกเรียกว่า เฮลิออส โรมันเรียกว่า ซอล

ในปัจจุบันดวงอาทิตย์ประกอบด้วย ไฮโดรเจน 75% และ ฮีเลียม 25% นับโดยมวล (ไฮโดรเจน 92.1% และฮีเลียม 7.8% นับโดยจำนวนอะตอม) ที่เหลือจำนวน 0.1% เป็น "โลหะ"  X ส่วนเหล่านี้เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ โดยดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจนในแกนของมันให้กลายเป็นฮีเลียม

ชั้นนอกของดวงอาทิตย์มีการเคลื่อนที่แบบ differential rotation กล่าวคือ ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตร หมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบใช้เวลา 25.4 วัน แต่บริเวณขั้ว หมุนหนึ่งรอบใช้เวลาถึง 36 วัน พฤติกรรมเช่นนี้แสดงว่าดวงอาทิตย์มิได้เป็นของแข็ง (solid body) เฉกเข่นโลก แต่คล้ายกับ ดาวเคราะห์แก๊ส ลักษณะการหมุนเช่นนี้เกิดขึ้นในแนวลึกลงไปด้วย ยกเว้นตรงแกนของดวงอาทิตย์ หมุนรอบตัวในลักษณะแบบของแข็ง

แกนของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิสูงถึง 15.6 ล้านเคลวิน และมีความกดดัน 250 พันล้าน หน่วยบรรยากาศ แก๊สที่แกนกลางถูกอัดตัวให้มีความหนาแน่นมากกว่าน้ำถึง 150 เท่า

พลังงานของดวงอาทิตย์  ผลิตโดยปฏิกริยา นิวเคลียร์ฟิวชั่น ทุก ๆ หนึ่งวินาที ดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจน 700,000,000 ตัน ให้กลายเป็นฮีเลียม 695,000,000 ตัน และพลังงานในรูปของรังสีแกมม่าอีกจำนวน 5,000,000 ตัน พุ่งตรงมายังพื้นผิว จากนั้นพลังงานถูกดูดกลืนเข้าไปและเปล่งออกอีก ทำให้อุณหภูมิลดต่ำลงเมื่อถึงพื้นผิว กลายเป็นแสงที่เรามองเห็นได้; ณ ข่วง 20% สุดท้ายก่อนที่จะถึงพื้นผิว พลังงานส่วนใหญ่ม้วนตัวกลับ ( convection ) มากกว่าที่จะแผ่รังสีออก

 พื้นผิวของดวงอาทิตย์เรียกว่า ชั้นโฟโตสเฟียร์ มีอุณหภมิประมาณ 5,800 เคลวิน; จุดบนดวงอาทิตย์ (Sunspots) เป็นย่านที่อุณหภูมิต่ำเพียง 3,800 เคลวิน (มันดูมืดเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณรอบ ๆ) จุดบนดวงอาทิตย์อาจมีขนาดใหญ่ถึง 50,000 ก.ม. มันเกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สลับซับซ้อน และยังไม่เข้าใจดีนัก ว่าเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์อย่างไร

เหนือขึ้นมาจากชั้นโฟโตสเฟียร์ มีชั้นเล็ก ๆ เรียกว่า โครโมสเฟียร์

 ชั้นที่อยู่เหนือโครโมสเฟียร์ เราเรียกว่า โคโรน่า มันแผ่ออกไปในอวกาศหลายล้านกิโลเมตร แต่จะมองเห็นได้เฉพาะเวลาที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงเท่านั้น โคโคน่ามีอุณหภูมิสูงมากกว่า 1,000,000 เคลวิน

ส นามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์มีความเข้มและซับซ้อนมาก เขต แมกเนโตสเฟียร์ (ซึ่งบางทีเรียกว่า เฮลิโอสเฟียร์) แผ่ขยายออกไปไกลกว่า ดาวพลูโต

 นอกเหนือจากความร้อนและแสง ดวงอาทิตย์แพร่อนุภาคความหนาแน่นต่ำ (ส่วนมากเป็นอิเล็กตรอนและโปรตอน) ซึ่งรู้จักกันในนามของลมสุริยะ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 450 ก.ม./วินาที ลมสุริยะและอนุภาคซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า ถูกพ่นออกโดย solar flares สามารถรบกวนสายไฟฟ้าแรงสูง คลื่นวิทยุะ และทำให้เกิดปรากฏการณ์แสงเหนือแสงใต้ที่งดงาม

 ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณ 4.5 ล้านปี นับตั้งแต่กำเนิดมามันได้เผาผลาญไฮโดรเจนในแกนของมันไปประมาณครึ่งหนึ่ง มันยังคงแผ่รังสีอย่างสงบต่อไปอีกประมาณ 5 ล้านปี (ความสว่างจะมากขึ้นเป็นสองเท่าเมื่อถึงเวลานั้น) และเมื่อไฮโดรเจนหมดลง ขนาดของมันจะใหญ่ขึ้นจนกลืนโลกเข้าไป 

ดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์น้อยเป็นเทห์วัตถุ บนท้องฟ้า อีกชนิดหนึ่ง และเป็นบริวาร ที่โคจรรอบ ดวงอาทิตย์คล้ายๆ ดาวเคราะห์ แต่มักมีขนาดเล็ก โดยส่วนใหญ่ จะโคจรอยู่ในบริเวณ ระหว่าง ดาวอังคาร และดาวพฤหัส ข้อมูลปัจจุบัน ประมาณว่า มีดาวเคราะห์น้อย อยู่ประมาณ 30,000 ดวง ถึง 50,000 ดวง แต่มีเพียงไม่กี่ดวง ที่สามารถใช้ กล้องโทรทัศน์ขนาดเล็ก ส่องดูได้ ดาวเคราะห์น้อย บางดวงมีวงโคจร เปลี่ยนไป เปลี่ยนมา เมื่อโคจรผ่านดาวเคราะห์ ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัส จะถูกแรงดึงดูด รบกวนจน ทำให้วงโคจร ของดาวเคราะห์น้อย แปรเปลี่ยนไป ซึ่งบางดวง อาจโคจร เข้ามาใกล้โลกของเรา และอาจจะเกิด อันตรายต่อโลก ของเราได้ แต่มีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยมาก แต่ก็มีการนำเรื่อง ดังกล่าว ไปสร้าง เป็นภาพยนตร์ ที่หลายคน อาจจะได้ดูเมื่อ เร็วๆนี้ คือเรื่อง "Armageddon" ที่ทำเงิน จากการฉายทั่วโลกได้มากมาย   อืมเรื่องนี้ไม่มีรูปประกอบนะหาไม่ได้อ่ะ

ดาวหาง

ดาวหางเป็นเทหวัตถุมีมวลน้อยมาก หมุนอยู่รอบดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกับสมาชิกอื่นๆในระบบสุริยจักรวาลของเรา รูปร่างและความสว่างของดาวหางแต่ละดวงมีความแตกต่างกันออกไปตามระยะทางที่มันอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์ ดาวหางดวงที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นระยะทางไกลๆจะมีความสว่างน้อยมาก มองเห็นคล้ายๆว่าเป็นดวงดาวดวงหนึ่งเท่านั้น ส่วนประกอบสำคัญของดาวหางคือเทหวัตถุขนาดเล็กๆอยู่ในบริเวณตอนหัวของมันเรียกว่า นิวเคลียส

ปรากฏการณ์ของดาวหาง

ในอดีตมนุษย์มักจะมีความหวาดกลัวปรากฏการณ์ของดาวหางทั้งนี้เพราะมองเห็นว่าดาวหางปรากฏตัวขึ้นมาอย่าง กะทันหัน และมีแสงสุกใสมีเส้นทางโคจรลึกลับและบางครั้งดาวหางก็เปลี่ยนแปลงรูปร่างของมันไปอย่างรวดเร็ว

การโคจรของดาวหาง

วงโคจรของมันจะมีรูปทรงกรวยโดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลาง ชนิดของรูปทรงกรวยขึ้นอยู่กับลักษณะ การโคจรไม่เป็นวงกลมของมันคือ 2 และขึ้นอยู่กับความเร็วของดาวหางที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ใกล้ที่สุดคือระยะทาง เส้นทางโคจรของดาวหางมีความซับซ้อนมากกว่าที่กล่าวมาแล้วเพราะว่าดาวหางจะถูกรบกวนขณะเดินทางจากแรงดึงดูด ของดาวเคราะห์ ซึ่งบางครั้งมีผลกระทบต่อเส้นทางโคจรของมันเพียงเล็กน้อย แต่บางครั้งก็จะมีผลกระทบต่อเส้นทางเดินของดาวหาง ดวงนั้นเป็นอย่างมาก ดาวหางยิ่งเดินทางผ่านดาวเคราะห์มากเท่าใด ดาวหางดวงนั้นย่อมได้รัยอิทธิพลจากแรงดึงดูดของดาวเคราะห์ ดวงนั้นมากเท่านั้น ยิ่งดาวพฤหัสบดีซึ่งมีมวลมากส่งผลกระทบต่อวงโคจรของดาวหางมาก

The FireBall-The Meteor

                              อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

                              สะเก็ดดาวหรือดาวตก มองเห็นวิ่งผ่านชั้นบรรยากาศของโลกเป็นแสงสว่างแล้วก็หายไป สะเก็ดดาวตกอาจเป็นวัตถุแข็งๆ มีขนาดไม่โตกว่าเม็ดทรายหรืออาจมีขนาดเท่าๆกับเม็ดถั่วลิสงเท่านั้น แสงสว่างเกิดขึ้นมาเพราะการเสียดสีระหว่างอะตอมของสะเก็ดดาวตก กับโมเลกุลของอากาศของโลก สะเก็ดดาวตกเช่นนั้นมองเห็นมีแสงสว่างสะเก็ดดาวตกเช่นนั้นจะหายไปใน บรรยากาศของโลกในระดับความสูงประมาณ 60 ไมล์(95 กิโลเมตร) เทห์แข็งๆของสะเก็ดดาวบางครั้งมีมวลเพียงไม่กี่ออนซ์ จนถึงมีนำหนักหลายตันอาจหล่นมาถึงผิวโลกเรียกว่า อุกกาบาต สะเก็ดดาวบางครั้งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงไม่กี่ไมครอน วิ่งผ่านบรรยากาศและหล่นมาถึงผิวโลก เหลือเป็นอนุภาคเล็กๆ เมื่อโคจรผ่านสะเก็ดดาว ซึ่งเคลื่อนไหว ในวงโคจรรอบๆดวงอาทิตย์ จะมีจำนวนดาวตก จำนวนมากวิ่งผ่านเข้ามาในบรรยากาศของโลกชั่วโมง หนึ่งหลายสิบครั้ง บางครั้งกลุ่มสะเก็ดดาวปรากฏตัวอยู่บนท้องฟ้า เป็นแผ่นหนาเหมือนหิมะกลุ่มละอองสะเก็ดดาวในวงโคจรบางครั้งมีลักษณะเหมือนกลุ่มละออง สะเก็ดดาวในดาวหาง เรื่องนี้เป็นหลักฐานแสดง ให้เห็นว่าดาวหางและกลุ่มสะเก็ดดาวมีความเกี่ยวพันกันนักดาราศาสตร์มีความเห็นว่าสสาร ของสะเก็ดดาว คือส่วนที่หลงเหลือจากการสลายตัวของดาวหางบางดวง

               ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอุกกาบาต เช่น
ฝนอุกกาบาต(meteor showers) คือขณะที่โลกโคจรไปพบอุกกาบาตที่มาด้วยกันเป็นกลุ่มใหญ่อุกกาบาตนี้จะตกลงมาในเวลาอันรวดเร็ว                                                         เป็นจำนวนมาก
กลุ่มอุกกาบาต(meteor warm)   คืออุกกาบาตซึ่งโคจรเป็นกลุ่มมีวงโคจรเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์ไม่หนาแน่น ประมาณ 14 ชิ้น/2ล้านลูกบาศก์ไมล์
ธารอุกกาบาต(meteor steam)   คือกลุ่มอุกกาบาตที่แผ่กระจายออกมาตามความโค้งวงทางโคจรทำให้ดูเหมือนว่าอุกกาบาตนั้นเคลื่อนที่ในอวกาศ                                                        เป็นสายธาร

The Nebula

                            คำว่า"เนบิวลา"นักดาราศาสตร์ใช้เรียกสิ่งที่ปรากฏเป็นเมฆหมอกฝ้าอยู่คงที่ในท่ามกลางดวงดาว บนท้องฟ้า อาจจะปรากฏเป็นแสงสว่างเรือง หรือ มืดสนิทก็ได้ เรามองเห็นเนบิวลาได้ยาก เพราะแม้ชนิดที่สว่างก็มีแสงจาง แผ่กรจายไม่รวมกันเข้มเป็นจุดสว่างดังเช่นดาวฤกษ์ เราจึงสามารถเห็นเนบิวลาบนท้องฟ้าด้วยตาเปล่าได้เพียง 4 แห่ง ในขณะที่สามารถเห็นดาวฤกษ์ด้วยตาเปล่าถึงราว 5,000 ดวง ความจริงเนบิวลามีอยู๋เป็นปริมาณมากมายไม่น้อย การที่เราจะตรวจพบหรือไม่ขึ้นอยู่กับความไวของอุปกรณ์ที่ใช้สำรวจ เนบิวลาที่อยู๋ในระบบทางช้างเผือกของเรา เรียกว่า กาแลคติคเนบิวลา Galaxtic Nebula ซึ่งเป็นกลุ่มก๊าซที่มีความสัมพันธ์ทางใดทางหนึ่งกับดาวฤกษ์ หรือกลุ่มดาวในกาแลกซี ซึ่งดวงอาทิตย์ของเราเป็นสมาชิกหน่วยหนึ่ง ตัวอย่างของ Galaxtic Nebulaชนิดแผ่กระจายได้แก่ กลุ่มที่อยู๋ในหมู่ดาว ออไรน นับเป็นกลุ่มก๊าซและฝุ่นซึ่งใหญ่โตกลุ่มหนึ่งในกาแลกซี กินอาณาเขตกว้างขวางในอวกาศ แผ่คลุมดาวฤกษ์อยู่ภายในองค์ประกอบสำคัญ คือ Hydrogen Helium มากที่สุด และนอกนั้นก็มี Oxygen และ Nitrogen เป็นต้น เนบิวลานี้เรืองเสงเพราะถูกกระตุ้นด้วยUVจากดาวฤกษืซึ่งอยู่ภายใน และบางส่วนของก๊าซและฝุ่นที่อยู่เบื้องหลังไกลออกไป จึงปรากฏเป็นเนบิวลามืด กาแลคติคเนบิวลาชนิดเป็นดวง นั้นเป็นกลุ่มก๊าซรูปทรงกลมซึ่งแผ่กระจายออกมาจากการระเบิดของดาวฤกษ์ และปรากฏให้เห็นหลายดวงบนท้องฟ้า เช่นที่เรียกกันว่า เนบิวลาวงแหวน เนบิวลาปู เนบิวลานกฮูก เป็นต้น ตามความคล้ายคลึงกับรูปสิ่งของ สัตว์ที่มนุษย์คุ้นเคยกันทั่วไป

                    เนบิวลานอกกาแลกซี หรือ สไปราลเนบิวลา นั้นเป็นวัตถุจำพวกที่อยู๋ห่างไกลออกไปนอกกาแลกซีของเรา เป็นต้นว่า เมฆแมคเยลแลน ซึ่งเห็นได้ด้วยตาเปล่าบนท้องฟ้าของซีกโลกภาคใต้ อยู่ห่างไป 150,000 ปีแสง หรืออาจจะมากกว่านั้นก็เป็นได้เช่น สไปราลเนบิวลา ที่อยู่ในทิศทางของหมู่ดาวอันโดรเมดาซึ่งอยู่ห่างออกไปถึง 2,200,000 ปีแสง ข้างล่างจะเป็นลักษณะของเนบิวลานะ

: 10 มิถุนายน 2540 เวลา 0.33 น. กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสสิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล Losmandy G-11 เนบิวลาอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ตำแหน่ง R.A. 18h 02m Dec -23o02' อันดับความสว่าง 8.5 ฟิล์ม Kodak Multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 45 นาที

: 4 มิถุนายน 2540 เวลา 2.03 น.
ใช้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสซิเกรน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที ฟิล์ม Kodak Multispeed ตำแหน่ง 18h20m, -16o11'
อันดับความสว่าง 7.6 อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู (Ophiuchus)

: 15 มีนาคม 2540 เวลา 3.00 น.
กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง แบบชมิดท์แคสซิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
อันดับความสว่าง 5.8 อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู (Sagittarius)
ฟิล์ม Kodak multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที


สัญลักษณ์ของดวงอาทิตย์   -------------->>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>            

ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ชั้น G2  เป็นเพียงสมาชิกหนึ่งในบรรดาดาวฤกษ์หนึ่งแสนล้านดวง ในกาแล๊กซี่ทางช้างเผือก

เส้นผ่านศูนย์กลาง: 1,390,000 ก.ม.
มวล: 1.989 x 1030 ก.ก.
อุณหภูมิ: 5800 เคลวิน (พื้นผิว) 15,600,000 K (แกน)

ดวงอาทิตย์ เป็นเทหวัตถุ ที่ใหญ่ที่สุด ในระบบสุริยะ คิดเป็นมวลมากกว่า 99.8% ของมวลทั้งระบบ (ที่เหลือเกือบทั้งหมดเป็น
ดาวพฤหัสบด )

ด วงอาทิตย์ มีชื่อเรียกหลายชื่อในเทพนิยาย: กรีกเรียกว่า เฮลิออส โรมันเรียกว่า ซอล

ในปัจจุบันดวงอาทิตย์ประกอบด้วย ไฮโดรเจน 75% และ ฮีเลียม 25% นับโดยมวล (ไฮโดรเจน 92.1% และฮีเลียม 7.8% นับโดยจำนวนอะตอม) ที่เหลือจำนวน 0.1% เป็น "โลหะ"  X ส่วนเหล่านี้เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ โดยดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจนในแกนของมันให้กลายเป็นฮีเลียม

ชั้นนอกของดวงอาทิตย์มีการเคลื่อนที่แบบ differential rotation กล่าวคือ ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตร หมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบใช้เวลา 25.4 วัน แต่บริเวณขั้ว หมุนหนึ่งรอบใช้เวลาถึง 36 วัน พฤติกรรมเช่นนี้แสดงว่าดวงอาทิตย์มิได้เป็นของแข็ง (solid body) เฉกเข่นโลก แต่คล้ายกับ ดาวเคราะห์แก๊ส ลักษณะการหมุนเช่นนี้เกิดขึ้นในแนวลึกลงไปด้วย ยกเว้นตรงแกนของดวงอาทิตย์ หมุนรอบตัวในลักษณะแบบของแข็ง

แกนของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิสูงถึง 15.6 ล้านเคลวิน และมีความกดดัน 250 พันล้าน หน่วยบรรยากาศ แก๊สที่แกนกลางถูกอัดตัวให้มีความหนาแน่นมากกว่าน้ำถึง 150 เท่า

พลังงานของดวงอาทิตย์  ผลิตโดยปฏิกริยา นิวเคลียร์ฟิวชั่น ทุก ๆ หนึ่งวินาที ดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจน 700,000,000 ตัน ให้กลายเป็นฮีเลียม 695,000,000 ตัน และพลังงานในรูปของรังสีแกมม่าอีกจำนวน 5,000,000 ตัน พุ่งตรงมายังพื้นผิว จากนั้นพลังงานถูกดูดกลืนเข้าไปและเปล่งออกอีก ทำให้อุณหภูมิลดต่ำลงเมื่อถึงพื้นผิว กลายเป็นแสงที่เรามองเห็นได้; ณ ข่วง 20% สุดท้ายก่อนที่จะถึงพื้นผิว พลังงานส่วนใหญ่ม้วนตัวกลับ ( convection ) มากกว่าที่จะแผ่รังสีออก

 พื้นผิวของดวงอาทิตย์เรียกว่า ชั้นโฟโตสเฟียร์ มีอุณหภมิประมาณ 5,800 เคลวิน; จุดบนดวงอาทิตย์ (Sunspots) เป็นย่านที่อุณหภูมิต่ำเพียง 3,800 เคลวิน (มันดูมืดเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณรอบ ๆ) จุดบนดวงอาทิตย์อาจมีขนาดใหญ่ถึง 50,000 ก.ม. มันเกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สลับซับซ้อน และยังไม่เข้าใจดีนัก ว่าเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์อย่างไร

เหนือขึ้นมาจากชั้นโฟโตสเฟียร์ มีชั้นเล็ก ๆ เรียกว่า โครโมสเฟียร์

 ชั้นที่อยู่เหนือโครโมสเฟียร์ เราเรียกว่า โคโรน่า มันแผ่ออกไปในอวกาศหลายล้านกิโลเมตร แต่จะมองเห็นได้เฉพาะเวลาที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงเท่านั้น โคโคน่ามีอุณหภูมิสูงมากกว่า 1,000,000 เคลวิน

ส นามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์มีความเข้มและซับซ้อนมาก เขต แมกเนโตสเฟียร์ (ซึ่งบางทีเรียกว่า เฮลิโอสเฟียร์) แผ่ขยายออกไปไกลกว่า ดาวพลูโต

 นอกเหนือจากความร้อนและแสง ดวงอาทิตย์แพร่อนุภาคความหนาแน่นต่ำ (ส่วนมากเป็นอิเล็กตรอนและโปรตอน) ซึ่งรู้จักกันในนามของลมสุริยะ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 450 ก.ม./วินาที ลมสุริยะและอนุภาคซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า ถูกพ่นออกโดย solar flares สามารถรบกวนสายไฟฟ้าแรงสูง คลื่นวิทยุะ และทำให้เกิดปรากฏการณ์แสงเหนือแสงใต้ที่งดงาม

 ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณ 4.5 ล้านปี นับตั้งแต่กำเนิดมามันได้เผาผลาญไฮโดรเจนในแกนของมันไปประมาณครึ่งหนึ่ง มันยังคงแผ่รังสีอย่างสงบต่อไปอีกประมาณ 5 ล้านปี (ความสว่างจะมากขึ้นเป็นสองเท่าเมื่อถึงเวลานั้น) และเมื่อไฮโดรเจนหมดลง ขนาดของมันจะใหญ่ขึ้นจนกลืนโลกเข้าไป 

ดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์น้อยเป็นเทห์วัตถุ บนท้องฟ้า อีกชนิดหนึ่ง และเป็นบริวาร ที่โคจรรอบ ดวงอาทิตย์คล้ายๆ ดาวเคราะห์ แต่มักมีขนาดเล็ก โดยส่วนใหญ่ จะโคจรอยู่ในบริเวณ ระหว่าง ดาวอังคาร และดาวพฤหัส ข้อมูลปัจจุบัน ประมาณว่า มีดาวเคราะห์น้อย อยู่ประมาณ 30,000 ดวง ถึง 50,000 ดวง แต่มีเพียงไม่กี่ดวง ที่สามารถใช้ กล้องโทรทัศน์ขนาดเล็ก ส่องดูได้ ดาวเคราะห์น้อย บางดวงมีวงโคจร เปลี่ยนไป เปลี่ยนมา เมื่อโคจรผ่านดาวเคราะห์ ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัส จะถูกแรงดึงดูด รบกวนจน ทำให้วงโคจร ของดาวเคราะห์น้อย แปรเปลี่ยนไป ซึ่งบางดวง อาจโคจร เข้ามาใกล้โลกของเรา และอาจจะเกิด อันตรายต่อโลก ของเราได้ แต่มีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยมาก แต่ก็มีการนำเรื่อง ดังกล่าว ไปสร้าง เป็นภาพยนตร์ ที่หลายคน อาจจะได้ดูเมื่อ เร็วๆนี้ คือเรื่อง "Armageddon" ที่ทำเงิน จากการฉายทั่วโลกได้มากมาย   อืมเรื่องนี้ไม่มีรูปประกอบนะหาไม่ได้อ่ะ

ดาวหาง

ดาวหางเป็นเทหวัตถุมีมวลน้อยมาก หมุนอยู่รอบดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกับสมาชิกอื่นๆในระบบสุริยจักรวาลของเรา รูปร่างและความสว่างของดาวหางแต่ละดวงมีความแตกต่างกันออกไปตามระยะทางที่มันอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์ ดาวหางดวงที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นระยะทางไกลๆจะมีความสว่างน้อยมาก มองเห็นคล้ายๆว่าเป็นดวงดาวดวงหนึ่งเท่านั้น ส่วนประกอบสำคัญของดาวหางคือเทหวัตถุขนาดเล็กๆอยู่ในบริเวณตอนหัวของมันเรียกว่า นิวเคลียส

ปรากฏการณ์ของดาวหาง

ในอดีตมนุษย์มักจะมีความหวาดกลัวปรากฏการณ์ของดาวหางทั้งนี้เพราะมองเห็นว่าดาวหางปรากฏตัวขึ้นมาอย่าง กะทันหัน และมีแสงสุกใสมีเส้นทางโคจรลึกลับและบางครั้งดาวหางก็เปลี่ยนแปลงรูปร่างของมันไปอย่างรวดเร็ว

การโคจรของดาวหาง

วงโคจรของมันจะมีรูปทรงกรวยโดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลาง ชนิดของรูปทรงกรวยขึ้นอยู่กับลักษณะ การโคจรไม่เป็นวงกลมของมันคือ 2 และขึ้นอยู่กับความเร็วของดาวหางที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ใกล้ที่สุดคือระยะทาง เส้นทางโคจรของดาวหางมีความซับซ้อนมากกว่าที่กล่าวมาแล้วเพราะว่าดาวหางจะถูกรบกวนขณะเดินทางจากแรงดึงดูด ของดาวเคราะห์ ซึ่งบางครั้งมีผลกระทบต่อเส้นทางโคจรของมันเพียงเล็กน้อย แต่บางครั้งก็จะมีผลกระทบต่อเส้นทางเดินของดาวหาง ดวงนั้นเป็นอย่างมาก ดาวหางยิ่งเดินทางผ่านดาวเคราะห์มากเท่าใด ดาวหางดวงนั้นย่อมได้รัยอิทธิพลจากแรงดึงดูดของดาวเคราะห์ ดวงนั้นมากเท่านั้น ยิ่งดาวพฤหัสบดีซึ่งมีมวลมากส่งผลกระทบต่อวงโคจรของดาวหางมาก

The FireBall-The Meteor

                              อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

                              สะเก็ดดาวหรือดาวตก มองเห็นวิ่งผ่านชั้นบรรยากาศของโลกเป็นแสงสว่างแล้วก็หายไป สะเก็ดดาวตกอาจเป็นวัตถุแข็งๆ มีขนาดไม่โตกว่าเม็ดทรายหรืออาจมีขนาดเท่าๆกับเม็ดถั่วลิสงเท่านั้น แสงสว่างเกิดขึ้นมาเพราะการเสียดสีระหว่างอะตอมของสะเก็ดดาวตก กับโมเลกุลของอากาศของโลก สะเก็ดดาวตกเช่นนั้นมองเห็นมีแสงสว่างสะเก็ดดาวตกเช่นนั้นจะหายไปใน บรรยากาศของโลกในระดับความสูงประมาณ 60 ไมล์(95 กิโลเมตร) เทห์แข็งๆของสะเก็ดดาวบางครั้งมีมวลเพียงไม่กี่ออนซ์ จนถึงมีนำหนักหลายตันอาจหล่นมาถึงผิวโลกเรียกว่า อุกกาบาต สะเก็ดดาวบางครั้งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงไม่กี่ไมครอน วิ่งผ่านบรรยากาศและหล่นมาถึงผิวโลก เหลือเป็นอนุภาคเล็กๆ เมื่อโคจรผ่านสะเก็ดดาว ซึ่งเคลื่อนไหว ในวงโคจรรอบๆดวงอาทิตย์ จะมีจำนวนดาวตก จำนวนมากวิ่งผ่านเข้ามาในบรรยากาศของโลกชั่วโมง หนึ่งหลายสิบครั้ง บางครั้งกลุ่มสะเก็ดดาวปรากฏตัวอยู่บนท้องฟ้า เป็นแผ่นหนาเหมือนหิมะกลุ่มละอองสะเก็ดดาวในวงโคจรบางครั้งมีลักษณะเหมือนกลุ่มละออง สะเก็ดดาวในดาวหาง เรื่องนี้เป็นหลักฐานแสดง ให้เห็นว่าดาวหางและกลุ่มสะเก็ดดาวมีความเกี่ยวพันกันนักดาราศาสตร์มีความเห็นว่าสสาร ของสะเก็ดดาว คือส่วนที่หลงเหลือจากการสลายตัวของดาวหางบางดวง

               ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอุกกาบาต เช่น
ฝนอุกกาบาต(meteor showers) คือขณะที่โลกโคจรไปพบอุกกาบาตที่มาด้วยกันเป็นกลุ่มใหญ่อุกกาบาตนี้จะตกลงมาในเวลาอันรวดเร็ว                                                         เป็นจำนวนมาก
กลุ่มอุกกาบาต(meteor warm)   คืออุกกาบาตซึ่งโคจรเป็นกลุ่มมีวงโคจรเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์ไม่หนาแน่น ประมาณ 14 ชิ้น/2ล้านลูกบาศก์ไมล์
ธารอุกกาบาต(meteor steam)   คือกลุ่มอุกกาบาตที่แผ่กระจายออกมาตามความโค้งวงทางโคจรทำให้ดูเหมือนว่าอุกกาบาตนั้นเคลื่อนที่ในอวกาศ                                                        เป็นสายธาร

The Nebula

                            คำว่า"เนบิวลา"นักดาราศาสตร์ใช้เรียกสิ่งที่ปรากฏเป็นเมฆหมอกฝ้าอยู่คงที่ในท่ามกลางดวงดาว บนท้องฟ้า อาจจะปรากฏเป็นแสงสว่างเรือง หรือ มืดสนิทก็ได้ เรามองเห็นเนบิวลาได้ยาก เพราะแม้ชนิดที่สว่างก็มีแสงจาง แผ่กรจายไม่รวมกันเข้มเป็นจุดสว่างดังเช่นดาวฤกษ์ เราจึงสามารถเห็นเนบิวลาบนท้องฟ้าด้วยตาเปล่าได้เพียง 4 แห่ง ในขณะที่สามารถเห็นดาวฤกษ์ด้วยตาเปล่าถึงราว 5,000 ดวง ความจริงเนบิวลามีอยู๋เป็นปริมาณมากมายไม่น้อย การที่เราจะตรวจพบหรือไม่ขึ้นอยู่กับความไวของอุปกรณ์ที่ใช้สำรวจ เนบิวลาที่อยู๋ในระบบทางช้างเผือกของเรา เรียกว่า กาแลคติคเนบิวลา Galaxtic Nebula ซึ่งเป็นกลุ่มก๊าซที่มีความสัมพันธ์ทางใดทางหนึ่งกับดาวฤกษ์ หรือกลุ่มดาวในกาแลกซี ซึ่งดวงอาทิตย์ของเราเป็นสมาชิกหน่วยหนึ่ง ตัวอย่างของ Galaxtic Nebulaชนิดแผ่กระจายได้แก่ กลุ่มที่อยู๋ในหมู่ดาว ออไรน นับเป็นกลุ่มก๊าซและฝุ่นซึ่งใหญ่โตกลุ่มหนึ่งในกาแลกซี กินอาณาเขตกว้างขวางในอวกาศ แผ่คลุมดาวฤกษ์อยู่ภายในองค์ประกอบสำคัญ คือ Hydrogen Helium มากที่สุด และนอกนั้นก็มี Oxygen และ Nitrogen เป็นต้น เนบิวลานี้เรืองเสงเพราะถูกกระตุ้นด้วยUVจากดาวฤกษืซึ่งอยู่ภายใน และบางส่วนของก๊าซและฝุ่นที่อยู่เบื้องหลังไกลออกไป จึงปรากฏเป็นเนบิวลามืด กาแลคติคเนบิวลาชนิดเป็นดวง นั้นเป็นกลุ่มก๊าซรูปทรงกลมซึ่งแผ่กระจายออกมาจากการระเบิดของดาวฤกษ์ และปรากฏให้เห็นหลายดวงบนท้องฟ้า เช่นที่เรียกกันว่า เนบิวลาวงแหวน เนบิวลาปู เนบิวลานกฮูก เป็นต้น ตามความคล้ายคลึงกับรูปสิ่งของ สัตว์ที่มนุษย์คุ้นเคยกันทั่วไป

                    เนบิวลานอกกาแลกซี หรือ สไปราลเนบิวลา นั้นเป็นวัตถุจำพวกที่อยู๋ห่างไกลออกไปนอกกาแลกซีของเรา เป็นต้นว่า เมฆแมคเยลแลน ซึ่งเห็นได้ด้วยตาเปล่าบนท้องฟ้าของซีกโลกภาคใต้ อยู่ห่างไป 150,000 ปีแสง หรืออาจจะมากกว่านั้นก็เป็นได้เช่น สไปราลเนบิวลา ที่อยู่ในทิศทางของหมู่ดาวอันโดรเมดาซึ่งอยู่ห่างออกไปถึง 2,200,000 ปีแสง ข้างล่างจะเป็นลักษณะของเนบิวลานะ

: 10 มิถุนายน 2540 เวลา 0.33 น. กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสสิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล Losmandy G-11 เนบิวลาอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ตำแหน่ง R.A. 18h 02m Dec -23o02' อันดับความสว่าง 8.5 ฟิล์ม Kodak Multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 45 นาที

: 4 มิถุนายน 2540 เวลา 2.03 น.
ใช้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสซิเกรน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที ฟิล์ม Kodak Multispeed ตำแหน่ง 18h20m, -16o11'
อันดับความสว่าง 7.6 อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู (Ophiuchus)

: 15 มีนาคม 2540 เวลา 3.00 น.
กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง แบบชมิดท์แคสซิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
อันดับความสว่าง 5.8 อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู (Sagittarius)
ฟิล์ม Kodak multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที
2.ใช้ตำแหน่งดาวเคราะห ์น้อยเป็นหลัก โดยแบ่งเป็น 2 พวก คือดาวเคราะห์ที่มีวงโคจรของดาวเคราะห์น้อยเรียกว่า"ดาวเคราะห์ใน(inner planets)"ดาวเคราะห์ที่มีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่นอกวงโคจรดาวเคราะห์น้อยเรียกว่า"ดาวเคราะห์นอก(super planets)"
3.ใช้สมบัติทางฟิสิกส์ ดาวเคราะห์ใดมีสมบัติทางฟิสิกส์คล้ายกับโลกเช่น มีขนาดเล็กเรียก Terrestrid Planetsดาวเคราะห์ที่คล้ายดาวเคราะห์ขนาดใหญ่เรียกว่า Jovian Planets
 วิเคราะห์ลักษณะเด่นของดาวเคราะห์บริวารของดวงอาทิตย์
-ดาวพุธเล็กที่สุด,ดาวพฤหัสใหญ่ที่สุด
-ดาวพุธ,ดาวศุกร์ 2 ดวงนี้รูปร่างเกือบเป็นวงกลมเหมือนดวงจันทร์และดวงอาทิตย์
-ดางศุกร์,ดาวเนปจูนมีวงทางโคจรรอบดวงอาทิตย์เกือบเป็นวงกลม
-โลกเป็นดาวที่มีมนุษย์อาศัยอยู่


                                      


มวลของสมาชิกในระบบสุริยะ
ดวงอาทิตย์ 99.85 %
เหล่าดาวเคราะห์ 0.135 %
เหล่าดาวหาง 0.01 %
บริวารของดาวเคราะห์ 0.00005 %
ดาวเคราะห์น้อย 0.0000002 %
อุกกาบาต 0.0000001 %

องค์ประกอบของระบบสุริยะ
ระบบสุริยะประกอบด้วยดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางและเหล่าสมาชิกโคจรโดยรอบ คือ ดาวเคราะห์ 9 ดวง บริวารของดาวเคราะห์ ดาวหาง ดาวเคราะห์น้อยและอุกกาบาต เมื่อเปรียบเทียบมวลของสมาชิกในระบบสุริยะ ดวงอาทิตย์มีมวลมากที่สุดถึง 99.85% ขณะที่ดาวเคราะห์ทุกดวงรวมกันมีมวลเพียง 0.01355 % ซึ่งดาวพฤหัสบดีมีมวลสูงเป็น 2.5 เท่าของมวลดาวเคราะห์อื่น ๆ ทุกดวงรวมกัน
ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งกำเนิดพลังงานที่ใหญ่ที่สุดแผ่พลังงานออกไปในระบบสุริยะโดยรอบในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

ขนาดของระบบสุริยจักรวาล
การวัดระยะทางภายในระบบสุริยจักรวาลใช้ระบบการวัดหลายระบบด้วยกัน ส่วนใหญ่จะใช้หน่วยวัดเป็นไมล์ ระยะทาง จากดวงอาทิตย์ไปยังดาวเคราะห์ที่ไกลที่สุดที่ค้นพบว่ามีอยู่ปัจจุบัน คือ ดาวเคราะห์พลูโต มีระยะทาง 39.4 หน่วยดาราศาสตร์ในขณะดวงดาว(ดาวฤกษ์)ที่อยู่ ใกล้เรามากที่สุดห่างออกไป 1.33 พาร์เซค (4.35 ปีแสง) วงโคจรของดาวหาง ซึ่งเป็นวงยาวรืมากจะเป็นวงจรอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ไกลออกไปหลายร้อยหรือหลายพัน หน่วยดาราศาสตร์ แต่บริเวณเลยดาวเคราะห์พลูโตออกไป เป็นบริเวณกว้างใหญ่ไพศาลของอวกาศที่มีแต่ความว่างเปล่า ดังนั้นสมาชิกของระบบสุริยจักรวาล จึงห้อมล้อม ด้วยอวกาศและเมื่อเปรียบขนาดของสุริยจักรวาลกับขนาดของกาแลคซี่ทางช้างเผือกซึ่งสุริยจักรวาลของเราเป็นสมาชิกอยู่ ระบบสุริยจักรวาลจะเป็นเพียงจุดเล็กๆจุดหนึ่ง ที่ปราศจากความสำคัญใดๆและจะกลายเป็นเรื่องยากลำบากยิ่ง ในการค้นหาระบบสุริยจักรวาลของเราให้พบเมื่อสังเกตการณ์จากดวงดาวที่อยู่ใกล้สุริยจักรวาลที่สุด ยกเว้น แต่จะมองเห็นดวงอาทิตย์ของเราเพียงดวงเดียวเท่านั้น

ตำแหน่งของระบบสุริยะในกาแล็กซีทางช้างเผือก
ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ดวงหนึ่ง อยู่ในอาณาจักแห่งดวงดาว ที่เรียกว่า กาแล็กซีทางช้างเผือก (The milky Way) หรือ กาแล็กซีของเรา ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกดาวฤกษ์มากมายประมาณ 2 แสนล้านดวง มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 แสนปีแสง ระบบสุริยะอยู่ห่างจากศูนย์กลางราว 32600 ปีแสง ดวงอาทิตย์พาเหล่าบริวารโคจรครบรอบกาแล็กซีในเวลา 225 ล้านปี
เมื่อมองจากอวกาศเหนือขั้วโลกเหนือของดวงอาทิตย์ สมาชิกในระบบสุริยะโคจรรอบดวงอาทิตย์ในทิศทาง ทวนเข็มนาฬิกาไปทางเดียวกัน
ดาวเคราะห์ทั้งหลายต่างโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่ในระนาบใกล้เคียงกัน กับระนาบที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ซึ่งเรียกว่า ระนาบสุริยวิถี (Ecliptic) มีแต่ดาวพลูโตดวงเดียวที่มีวงโคจรรีมาก และเอียงออกจากระนาบสุริยวิถีมากถึง 18 องศา

กำเนิดระบบสุริยะ
สันนิษฐานว่าระบบสุริยะมีกำเนิดมาจากกลุ่มก๊าซและฝุ่นขนาดมหึมาที่หมุนรอบศูนย์กลางเมื่อประมาณ 5000 ล้านปีก่อน มวลสารหมุนวนทำให้มีลักษณะเป็นจานแบนเมื่ออุณหภูมิรอบนอกค่อย ๆเย็นตัวลง มวลสารรวมตัวกันเกิดเป็นดาวเคราะห์และสมาชิกบริวารโคจรรอบดวงอาทิตย์ไปทางเดียวกันและอยู่ในระนาบใกล้เคียงกัน เช่นทุกวันนี้

ประเภทของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ
ดาวเคราะห์ชั้นใน (Inner Planets)
เป็นกลุ่มดาวเคราะห์ทีมีลักษณะคล้ายโลก (The Terrestrial Planet) คือมีพื้นผิวเป็นหินแข็งอย่างโลก ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคาร ขณะที่ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคารมีบรรยากาศห่อหุ้มชัดเจน แต่ดาวพุธเกือบไม่มีบรรยากาศเลย

ดาวเคราะห์ชั้นนอก (Outer Planets)
เป็นกลุ่มดาวเคราะห์ที่มีลักษณะคล้ายดาวพฤหัสบดี (The Jovian Planets) คือเป็นดาวเคราะห์ก๊าซซึ่งอาจมีแกนแข็งขนาดเล็กอยู่ที่ใจกลางและ มีขนาดใหญ่มากเมื่อเทียบกับโลกได้แก่ ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน

ดาวพลูโตดวงโดดเดี่ยว
ดาวพลูโตเป็นดาวเคราะห์ที่มีลักษณะพิเศษประกอบด้วยหินและน้ำแข็งจึงมีลักษณะคล้ายโลก แต่วงโคจรไกลเลยจากวงโคจรของดาวเนปจูนออกไป มนุษย์ยังมีความรรู้เรื่องดาวพลูโตน้อยมาก เนื่องจากวงโคจรของดาวพลูโตเอียงออกจากระนาบของ สุริยวิถีมากจึงมีบางช่วงนานราว 20 ปี ที่ดาวพลูโตโคจรอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าดาวเนปจูน บรรยากาศอาจเกิดจากมีเทนแข็งระเหิด ขณะเมื่อพลูโตเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ แต่เมื่ออยู่ไกลจากดวงอาทิตย์ตามปกติ ดาวพลูโตอาจเย็นจัดเป็นก้อนน้ำแข็งและไม่มีบรรยากาศก็เป็นได้


สัญลักษณ์ของดวงอาทิตย์   -------------->>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>            

ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ชั้น G2  เป็นเพียงสมาชิกหนึ่งในบรรดาดาวฤกษ์หนึ่งแสนล้านดวง ในกาแล๊กซี่ทางช้างเผือก

เส้นผ่านศูนย์กลาง: 1,390,000 ก.ม.
มวล: 1.989 x 1030 ก.ก.
อุณหภูมิ: 5800 เคลวิน (พื้นผิว) 15,600,000 K (แกน)

ดวงอาทิตย์ เป็นเทหวัตถุ ที่ใหญ่ที่สุด ในระบบสุริยะ คิดเป็นมวลมากกว่า 99.8% ของมวลทั้งระบบ (ที่เหลือเกือบทั้งหมดเป็น
ดาวพฤหัสบด )

ด วงอาทิตย์ มีชื่อเรียกหลายชื่อในเทพนิยาย: กรีกเรียกว่า เฮลิออส โรมันเรียกว่า ซอล

ในปัจจุบันดวงอาทิตย์ประกอบด้วย ไฮโดรเจน 75% และ ฮีเลียม 25% นับโดยมวล (ไฮโดรเจน 92.1% และฮีเลียม 7.8% นับโดยจำนวนอะตอม) ที่เหลือจำนวน 0.1% เป็น "โลหะ"  X ส่วนเหล่านี้เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ โดยดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจนในแกนของมันให้กลายเป็นฮีเลียม

ชั้นนอกของดวงอาทิตย์มีการเคลื่อนที่แบบ differential rotation กล่าวคือ ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตร หมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบใช้เวลา 25.4 วัน แต่บริเวณขั้ว หมุนหนึ่งรอบใช้เวลาถึง 36 วัน พฤติกรรมเช่นนี้แสดงว่าดวงอาทิตย์มิได้เป็นของแข็ง (solid body) เฉกเข่นโลก แต่คล้ายกับ ดาวเคราะห์แก๊ส ลักษณะการหมุนเช่นนี้เกิดขึ้นในแนวลึกลงไปด้วย ยกเว้นตรงแกนของดวงอาทิตย์ หมุนรอบตัวในลักษณะแบบของแข็ง

แกนของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิสูงถึง 15.6 ล้านเคลวิน และมีความกดดัน 250 พันล้าน หน่วยบรรยากาศ แก๊สที่แกนกลางถูกอัดตัวให้มีความหนาแน่นมากกว่าน้ำถึง 150 เท่า

พลังงานของดวงอาทิตย์  ผลิตโดยปฏิกริยา นิวเคลียร์ฟิวชั่น ทุก ๆ หนึ่งวินาที ดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจน 700,000,000 ตัน ให้กลายเป็นฮีเลียม 695,000,000 ตัน และพลังงานในรูปของรังสีแกมม่าอีกจำนวน 5,000,000 ตัน พุ่งตรงมายังพื้นผิว จากนั้นพลังงานถูกดูดกลืนเข้าไปและเปล่งออกอีก ทำให้อุณหภูมิลดต่ำลงเมื่อถึงพื้นผิว กลายเป็นแสงที่เรามองเห็นได้; ณ ข่วง 20% สุดท้ายก่อนที่จะถึงพื้นผิว พลังงานส่วนใหญ่ม้วนตัวกลับ ( convection ) มากกว่าที่จะแผ่รังสีออก

 พื้นผิวของดวงอาทิตย์เรียกว่า ชั้นโฟโตสเฟียร์ มีอุณหภมิประมาณ 5,800 เคลวิน; จุดบนดวงอาทิตย์ (Sunspots) เป็นย่านที่อุณหภูมิต่ำเพียง 3,800 เคลวิน (มันดูมืดเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณรอบ ๆ) จุดบนดวงอาทิตย์อาจมีขนาดใหญ่ถึง 50,000 ก.ม. มันเกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สลับซับซ้อน และยังไม่เข้าใจดีนัก ว่าเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์อย่างไร

เหนือขึ้นมาจากชั้นโฟโตสเฟียร์ มีชั้นเล็ก ๆ เรียกว่า โครโมสเฟียร์

 ชั้นที่อยู่เหนือโครโมสเฟียร์ เราเรียกว่า โคโรน่า มันแผ่ออกไปในอวกาศหลายล้านกิโลเมตร แต่จะมองเห็นได้เฉพาะเวลาที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงเท่านั้น โคโคน่ามีอุณหภูมิสูงมากกว่า 1,000,000 เคลวิน

ส นามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์มีความเข้มและซับซ้อนมาก เขต แมกเนโตสเฟียร์ (ซึ่งบางทีเรียกว่า เฮลิโอสเฟียร์) แผ่ขยายออกไปไกลกว่า ดาวพลูโต

 นอกเหนือจากความร้อนและแสง ดวงอาทิตย์แพร่อนุภาคความหนาแน่นต่ำ (ส่วนมากเป็นอิเล็กตรอนและโปรตอน) ซึ่งรู้จักกันในนามของลมสุริยะ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 450 ก.ม./วินาที ลมสุริยะและอนุภาคซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า ถูกพ่นออกโดย solar flares สามารถรบกวนสายไฟฟ้าแรงสูง คลื่นวิทยุะ และทำให้เกิดปรากฏการณ์แสงเหนือแสงใต้ที่งดงาม

 ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณ 4.5 ล้านปี นับตั้งแต่กำเนิดมามันได้เผาผลาญไฮโดรเจนในแกนของมันไปประมาณครึ่งหนึ่ง มันยังคงแผ่รังสีอย่างสงบต่อไปอีกประมาณ 5 ล้านปี (ความสว่างจะมากขึ้นเป็นสองเท่าเมื่อถึงเวลานั้น) และเมื่อไฮโดรเจนหมดลง ขนาดของมันจะใหญ่ขึ้นจนกลืนโลกเข้าไป 

ดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์น้อยเป็นเทห์วัตถุ บนท้องฟ้า อีกชนิดหนึ่ง และเป็นบริวาร ที่โคจรรอบ ดวงอาทิตย์คล้ายๆ ดาวเคราะห์ แต่มักมีขนาดเล็ก โดยส่วนใหญ่ จะโคจรอยู่ในบริเวณ ระหว่าง ดาวอังคาร และดาวพฤหัส ข้อมูลปัจจุบัน ประมาณว่า มีดาวเคราะห์น้อย อยู่ประมาณ 30,000 ดวง ถึง 50,000 ดวง แต่มีเพียงไม่กี่ดวง ที่สามารถใช้ กล้องโทรทัศน์ขนาดเล็ก ส่องดูได้ ดาวเคราะห์น้อย บางดวงมีวงโคจร เปลี่ยนไป เปลี่ยนมา เมื่อโคจรผ่านดาวเคราะห์ ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัส จะถูกแรงดึงดูด รบกวนจน ทำให้วงโคจร ของดาวเคราะห์น้อย แปรเปลี่ยนไป ซึ่งบางดวง อาจโคจร เข้ามาใกล้โลกของเรา และอาจจะเกิด อันตรายต่อโลก ของเราได้ แต่มีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยมาก แต่ก็มีการนำเรื่อง ดังกล่าว ไปสร้าง เป็นภาพยนตร์ ที่หลายคน อาจจะได้ดูเมื่อ เร็วๆนี้ คือเรื่อง "Armageddon" ที่ทำเงิน จากการฉายทั่วโลกได้มากมาย   อืมเรื่องนี้ไม่มีรูปประกอบนะหาไม่ได้อ่ะ

ดาวหาง

ดาวหางเป็นเทหวัตถุมีมวลน้อยมาก หมุนอยู่รอบดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกับสมาชิกอื่นๆในระบบสุริยจักรวาลของเรา รูปร่างและความสว่างของดาวหางแต่ละดวงมีความแตกต่างกันออกไปตามระยะทางที่มันอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์ ดาวหางดวงที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นระยะทางไกลๆจะมีความสว่างน้อยมาก มองเห็นคล้ายๆว่าเป็นดวงดาวดวงหนึ่งเท่านั้น ส่วนประกอบสำคัญของดาวหางคือเทหวัตถุขนาดเล็กๆอยู่ในบริเวณตอนหัวของมันเรียกว่า นิวเคลียส

ปรากฏการณ์ของดาวหาง

ในอดีตมนุษย์มักจะมีความหวาดกลัวปรากฏการณ์ของดาวหางทั้งนี้เพราะมองเห็นว่าดาวหางปรากฏตัวขึ้นมาอย่าง กะทันหัน และมีแสงสุกใสมีเส้นทางโคจรลึกลับและบางครั้งดาวหางก็เปลี่ยนแปลงรูปร่างของมันไปอย่างรวดเร็ว

การโคจรของดาวหาง

วงโคจรของมันจะมีรูปทรงกรวยโดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลาง ชนิดของรูปทรงกรวยขึ้นอยู่กับลักษณะ การโคจรไม่เป็นวงกลมของมันคือ 2 และขึ้นอยู่กับความเร็วของดาวหางที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ใกล้ที่สุดคือระยะทาง เส้นทางโคจรของดาวหางมีความซับซ้อนมากกว่าที่กล่าวมาแล้วเพราะว่าดาวหางจะถูกรบกวนขณะเดินทางจากแรงดึงดูด ของดาวเคราะห์ ซึ่งบางครั้งมีผลกระทบต่อเส้นทางโคจรของมันเพียงเล็กน้อย แต่บางครั้งก็จะมีผลกระทบต่อเส้นทางเดินของดาวหาง ดวงนั้นเป็นอย่างมาก ดาวหางยิ่งเดินทางผ่านดาวเคราะห์มากเท่าใด ดาวหางดวงนั้นย่อมได้รัยอิทธิพลจากแรงดึงดูดของดาวเคราะห์ ดวงนั้นมากเท่านั้น ยิ่งดาวพฤหัสบดีซึ่งมีมวลมากส่งผลกระทบต่อวงโคจรของดาวหางมาก

The FireBall-The Meteor

                              อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

                              สะเก็ดดาวหรือดาวตก มองเห็นวิ่งผ่านชั้นบรรยากาศของโลกเป็นแสงสว่างแล้วก็หายไป สะเก็ดดาวตกอาจเป็นวัตถุแข็งๆ มีขนาดไม่โตกว่าเม็ดทรายหรืออาจมีขนาดเท่าๆกับเม็ดถั่วลิสงเท่านั้น แสงสว่างเกิดขึ้นมาเพราะการเสียดสีระหว่างอะตอมของสะเก็ดดาวตก กับโมเลกุลของอากาศของโลก สะเก็ดดาวตกเช่นนั้นมองเห็นมีแสงสว่างสะเก็ดดาวตกเช่นนั้นจะหายไปใน บรรยากาศของโลกในระดับความสูงประมาณ 60 ไมล์(95 กิโลเมตร) เทห์แข็งๆของสะเก็ดดาวบางครั้งมีมวลเพียงไม่กี่ออนซ์ จนถึงมีนำหนักหลายตันอาจหล่นมาถึงผิวโลกเรียกว่า อุกกาบาต สะเก็ดดาวบางครั้งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงไม่กี่ไมครอน วิ่งผ่านบรรยากาศและหล่นมาถึงผิวโลก เหลือเป็นอนุภาคเล็กๆ เมื่อโคจรผ่านสะเก็ดดาว ซึ่งเคลื่อนไหว ในวงโคจรรอบๆดวงอาทิตย์ จะมีจำนวนดาวตก จำนวนมากวิ่งผ่านเข้ามาในบรรยากาศของโลกชั่วโมง หนึ่งหลายสิบครั้ง บางครั้งกลุ่มสะเก็ดดาวปรากฏตัวอยู่บนท้องฟ้า เป็นแผ่นหนาเหมือนหิมะกลุ่มละอองสะเก็ดดาวในวงโคจรบางครั้งมีลักษณะเหมือนกลุ่มละออง สะเก็ดดาวในดาวหาง เรื่องนี้เป็นหลักฐานแสดง ให้เห็นว่าดาวหางและกลุ่มสะเก็ดดาวมีความเกี่ยวพันกันนักดาราศาสตร์มีความเห็นว่าสสาร ของสะเก็ดดาว คือส่วนที่หลงเหลือจากการสลายตัวของดาวหางบางดวง

               ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอุกกาบาต เช่น
ฝนอุกกาบาต(meteor showers) คือขณะที่โลกโคจรไปพบอุกกาบาตที่มาด้วยกันเป็นกลุ่มใหญ่อุกกาบาตนี้จะตกลงมาในเวลาอันรวดเร็ว                                                         เป็นจำนวนมาก
กลุ่มอุกกาบาต(meteor warm)   คืออุกกาบาตซึ่งโคจรเป็นกลุ่มมีวงโคจรเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์ไม่หนาแน่น ประมาณ 14 ชิ้น/2ล้านลูกบาศก์ไมล์
ธารอุกกาบาต(meteor steam)   คือกลุ่มอุกกาบาตที่แผ่กระจายออกมาตามความโค้งวงทางโคจรทำให้ดูเหมือนว่าอุกกาบาตนั้นเคลื่อนที่ในอวกาศ                                                        เป็นสายธาร

The Nebula

                            คำว่า"เนบิวลา"นักดาราศาสตร์ใช้เรียกสิ่งที่ปรากฏเป็นเมฆหมอกฝ้าอยู่คงที่ในท่ามกลางดวงดาว บนท้องฟ้า อาจจะปรากฏเป็นแสงสว่างเรือง หรือ มืดสนิทก็ได้ เรามองเห็นเนบิวลาได้ยาก เพราะแม้ชนิดที่สว่างก็มีแสงจาง แผ่กรจายไม่รวมกันเข้มเป็นจุดสว่างดังเช่นดาวฤกษ์ เราจึงสามารถเห็นเนบิวลาบนท้องฟ้าด้วยตาเปล่าได้เพียง 4 แห่ง ในขณะที่สามารถเห็นดาวฤกษ์ด้วยตาเปล่าถึงราว 5,000 ดวง ความจริงเนบิวลามีอยู๋เป็นปริมาณมากมายไม่น้อย การที่เราจะตรวจพบหรือไม่ขึ้นอยู่กับความไวของอุปกรณ์ที่ใช้สำรวจ เนบิวลาที่อยู๋ในระบบทางช้างเผือกของเรา เรียกว่า กาแลคติคเนบิวลา Galaxtic Nebula ซึ่งเป็นกลุ่มก๊าซที่มีความสัมพันธ์ทางใดทางหนึ่งกับดาวฤกษ์ หรือกลุ่มดาวในกาแลกซี ซึ่งดวงอาทิตย์ของเราเป็นสมาชิกหน่วยหนึ่ง ตัวอย่างของ Galaxtic Nebulaชนิดแผ่กระจายได้แก่ กลุ่มที่อยู๋ในหมู่ดาว ออไรน นับเป็นกลุ่มก๊าซและฝุ่นซึ่งใหญ่โตกลุ่มหนึ่งในกาแลกซี กินอาณาเขตกว้างขวางในอวกาศ แผ่คลุมดาวฤกษ์อยู่ภายในองค์ประกอบสำคัญ คือ Hydrogen Helium มากที่สุด และนอกนั้นก็มี Oxygen และ Nitrogen เป็นต้น เนบิวลานี้เรืองเสงเพราะถูกกระตุ้นด้วยUVจากดาวฤกษืซึ่งอยู่ภายใน และบางส่วนของก๊าซและฝุ่นที่อยู่เบื้องหลังไกลออกไป จึงปรากฏเป็นเนบิวลามืด กาแลคติคเนบิวลาชนิดเป็นดวง นั้นเป็นกลุ่มก๊าซรูปทรงกลมซึ่งแผ่กระจายออกมาจากการระเบิดของดาวฤกษ์ และปรากฏให้เห็นหลายดวงบนท้องฟ้า เช่นที่เรียกกันว่า เนบิวลาวงแหวน เนบิวลาปู เนบิวลานกฮูก เป็นต้น ตามความคล้ายคลึงกับรูปสิ่งของ สัตว์ที่มนุษย์คุ้นเคยกันทั่วไป

                    เนบิวลานอกกาแลกซี หรือ สไปราลเนบิวลา นั้นเป็นวัตถุจำพวกที่อยู๋ห่างไกลออกไปนอกกาแลกซีของเรา เป็นต้นว่า เมฆแมคเยลแลน ซึ่งเห็นได้ด้วยตาเปล่าบนท้องฟ้าของซีกโลกภาคใต้ อยู่ห่างไป 150,000 ปีแสง หรืออาจจะมากกว่านั้นก็เป็นได้เช่น สไปราลเนบิวลา ที่อยู่ในทิศทางของหมู่ดาวอันโดรเมดาซึ่งอยู่ห่างออกไปถึง 2,200,000 ปีแสง ข้างล่างจะเป็นลักษณะของเนบิวลานะ

: 10 มิถุนายน 2540 เวลา 0.33 น. กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสสิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล Losmandy G-11 เนบิวลาอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ตำแหน่ง R.A. 18h 02m Dec -23o02' อันดับความสว่าง 8.5 ฟิล์ม Kodak Multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 45 นาที

: 4 มิถุนายน 2540 เวลา 2.03 น.
ใช้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสซิเกรน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที ฟิล์ม Kodak Multispeed ตำแหน่ง 18h20m, -16o11'
อันดับความสว่าง 7.6 อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู (Ophiuchus)

: 15 มีนาคม 2540 เวลา 3.00 น.
กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง แบบชมิดท์แคสซิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
อันดับความสว่าง 5.8 อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู (Sagittarius)
ฟิล์ม Kodak multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที


สัญลักษณ์ของดวงอาทิตย์   -------------->>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>            

ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ชั้น G2  เป็นเพียงสมาชิกหนึ่งในบรรดาดาวฤกษ์หนึ่งแสนล้านดวง ในกาแล๊กซี่ทางช้างเผือก

เส้นผ่านศูนย์กลาง: 1,390,000 ก.ม.
มวล: 1.989 x 1030 ก.ก.
อุณหภูมิ: 5800 เคลวิน (พื้นผิว) 15,600,000 K (แกน)

ดวงอาทิตย์ เป็นเทหวัตถุ ที่ใหญ่ที่สุด ในระบบสุริยะ คิดเป็นมวลมากกว่า 99.8% ของมวลทั้งระบบ (ที่เหลือเกือบทั้งหมดเป็น
ดาวพฤหัสบด )

ด วงอาทิตย์ มีชื่อเรียกหลายชื่อในเทพนิยาย: กรีกเรียกว่า เฮลิออส โรมันเรียกว่า ซอล

ในปัจจุบันดวงอาทิตย์ประกอบด้วย ไฮโดรเจน 75% และ ฮีเลียม 25% นับโดยมวล (ไฮโดรเจน 92.1% และฮีเลียม 7.8% นับโดยจำนวนอะตอม) ที่เหลือจำนวน 0.1% เป็น "โลหะ"  X ส่วนเหล่านี้เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ โดยดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจนในแกนของมันให้กลายเป็นฮีเลียม

ชั้นนอกของดวงอาทิตย์มีการเคลื่อนที่แบบ differential rotation กล่าวคือ ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตร หมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบใช้เวลา 25.4 วัน แต่บริเวณขั้ว หมุนหนึ่งรอบใช้เวลาถึง 36 วัน พฤติกรรมเช่นนี้แสดงว่าดวงอาทิตย์มิได้เป็นของแข็ง (solid body) เฉกเข่นโลก แต่คล้ายกับ ดาวเคราะห์แก๊ส ลักษณะการหมุนเช่นนี้เกิดขึ้นในแนวลึกลงไปด้วย ยกเว้นตรงแกนของดวงอาทิตย์ หมุนรอบตัวในลักษณะแบบของแข็ง

แกนของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิสูงถึง 15.6 ล้านเคลวิน และมีความกดดัน 250 พันล้าน หน่วยบรรยากาศ แก๊สที่แกนกลางถูกอัดตัวให้มีความหนาแน่นมากกว่าน้ำถึง 150 เท่า

พลังงานของดวงอาทิตย์  ผลิตโดยปฏิกริยา นิวเคลียร์ฟิวชั่น ทุก ๆ หนึ่งวินาที ดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจน 700,000,000 ตัน ให้กลายเป็นฮีเลียม 695,000,000 ตัน และพลังงานในรูปของรังสีแกมม่าอีกจำนวน 5,000,000 ตัน พุ่งตรงมายังพื้นผิว จากนั้นพลังงานถูกดูดกลืนเข้าไปและเปล่งออกอีก ทำให้อุณหภูมิลดต่ำลงเมื่อถึงพื้นผิว กลายเป็นแสงที่เรามองเห็นได้; ณ ข่วง 20% สุดท้ายก่อนที่จะถึงพื้นผิว พลังงานส่วนใหญ่ม้วนตัวกลับ ( convection ) มากกว่าที่จะแผ่รังสีออก

 พื้นผิวของดวงอาทิตย์เรียกว่า ชั้นโฟโตสเฟียร์ มีอุณหภมิประมาณ 5,800 เคลวิน; จุดบนดวงอาทิตย์ (Sunspots) เป็นย่านที่อุณหภูมิต่ำเพียง 3,800 เคลวิน (มันดูมืดเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณรอบ ๆ) จุดบนดวงอาทิตย์อาจมีขนาดใหญ่ถึง 50,000 ก.ม. มันเกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สลับซับซ้อน และยังไม่เข้าใจดีนัก ว่าเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์อย่างไร

เหนือขึ้นมาจากชั้นโฟโตสเฟียร์ มีชั้นเล็ก ๆ เรียกว่า โครโมสเฟียร์

 ชั้นที่อยู่เหนือโครโมสเฟียร์ เราเรียกว่า โคโรน่า มันแผ่ออกไปในอวกาศหลายล้านกิโลเมตร แต่จะมองเห็นได้เฉพาะเวลาที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงเท่านั้น โคโคน่ามีอุณหภูมิสูงมากกว่า 1,000,000 เคลวิน

ส นามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์มีความเข้มและซับซ้อนมาก เขต แมกเนโตสเฟียร์ (ซึ่งบางทีเรียกว่า เฮลิโอสเฟียร์) แผ่ขยายออกไปไกลกว่า ดาวพลูโต

 นอกเหนือจากความร้อนและแสง ดวงอาทิตย์แพร่อนุภาคความหนาแน่นต่ำ (ส่วนมากเป็นอิเล็กตรอนและโปรตอน) ซึ่งรู้จักกันในนามของลมสุริยะ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 450 ก.ม./วินาที ลมสุริยะและอนุภาคซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า ถูกพ่นออกโดย solar flares สามารถรบกวนสายไฟฟ้าแรงสูง คลื่นวิทยุะ และทำให้เกิดปรากฏการณ์แสงเหนือแสงใต้ที่งดงาม

 ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณ 4.5 ล้านปี นับตั้งแต่กำเนิดมามันได้เผาผลาญไฮโดรเจนในแกนของมันไปประมาณครึ่งหนึ่ง มันยังคงแผ่รังสีอย่างสงบต่อไปอีกประมาณ 5 ล้านปี (ความสว่างจะมากขึ้นเป็นสองเท่าเมื่อถึงเวลานั้น) และเมื่อไฮโดรเจนหมดลง ขนาดของมันจะใหญ่ขึ้นจนกลืนโลกเข้าไป 

ดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์น้อยเป็นเทห์วัตถุ บนท้องฟ้า อีกชนิดหนึ่ง และเป็นบริวาร ที่โคจรรอบ ดวงอาทิตย์คล้ายๆ ดาวเคราะห์ แต่มักมีขนาดเล็ก โดยส่วนใหญ่ จะโคจรอยู่ในบริเวณ ระหว่าง ดาวอังคาร และดาวพฤหัส ข้อมูลปัจจุบัน ประมาณว่า มีดาวเคราะห์น้อย อยู่ประมาณ 30,000 ดวง ถึง 50,000 ดวง แต่มีเพียงไม่กี่ดวง ที่สามารถใช้ กล้องโทรทัศน์ขนาดเล็ก ส่องดูได้ ดาวเคราะห์น้อย บางดวงมีวงโคจร เปลี่ยนไป เปลี่ยนมา เมื่อโคจรผ่านดาวเคราะห์ ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัส จะถูกแรงดึงดูด รบกวนจน ทำให้วงโคจร ของดาวเคราะห์น้อย แปรเปลี่ยนไป ซึ่งบางดวง อาจโคจร เข้ามาใกล้โลกของเรา และอาจจะเกิด อันตรายต่อโลก ของเราได้ แต่มีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยมาก แต่ก็มีการนำเรื่อง ดังกล่าว ไปสร้าง เป็นภาพยนตร์ ที่หลายคน อาจจะได้ดูเมื่อ เร็วๆนี้ คือเรื่อง "Armageddon" ที่ทำเงิน จากการฉายทั่วโลกได้มากมาย   อืมเรื่องนี้ไม่มีรูปประกอบนะหาไม่ได้อ่ะ

ดาวหาง

ดาวหางเป็นเทหวัตถุมีมวลน้อยมาก หมุนอยู่รอบดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกับสมาชิกอื่นๆในระบบสุริยจักรวาลของเรา รูปร่างและความสว่างของดาวหางแต่ละดวงมีความแตกต่างกันออกไปตามระยะทางที่มันอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์ ดาวหางดวงที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นระยะทางไกลๆจะมีความสว่างน้อยมาก มองเห็นคล้ายๆว่าเป็นดวงดาวดวงหนึ่งเท่านั้น ส่วนประกอบสำคัญของดาวหางคือเทหวัตถุขนาดเล็กๆอยู่ในบริเวณตอนหัวของมันเรียกว่า นิวเคลียส

ปรากฏการณ์ของดาวหาง

ในอดีตมนุษย์มักจะมีความหวาดกลัวปรากฏการณ์ของดาวหางทั้งนี้เพราะมองเห็นว่าดาวหางปรากฏตัวขึ้นมาอย่าง กะทันหัน และมีแสงสุกใสมีเส้นทางโคจรลึกลับและบางครั้งดาวหางก็เปลี่ยนแปลงรูปร่างของมันไปอย่างรวดเร็ว

การโคจรของดาวหาง

วงโคจรของมันจะมีรูปทรงกรวยโดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลาง ชนิดของรูปทรงกรวยขึ้นอยู่กับลักษณะ การโคจรไม่เป็นวงกลมของมันคือ 2 และขึ้นอยู่กับความเร็วของดาวหางที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ใกล้ที่สุดคือระยะทาง เส้นทางโคจรของดาวหางมีความซับซ้อนมากกว่าที่กล่าวมาแล้วเพราะว่าดาวหางจะถูกรบกวนขณะเดินทางจากแรงดึงดูด ของดาวเคราะห์ ซึ่งบางครั้งมีผลกระทบต่อเส้นทางโคจรของมันเพียงเล็กน้อย แต่บางครั้งก็จะมีผลกระทบต่อเส้นทางเดินของดาวหาง ดวงนั้นเป็นอย่างมาก ดาวหางยิ่งเดินทางผ่านดาวเคราะห์มากเท่าใด ดาวหางดวงนั้นย่อมได้รัยอิทธิพลจากแรงดึงดูดของดาวเคราะห์ ดวงนั้นมากเท่านั้น ยิ่งดาวพฤหัสบดีซึ่งมีมวลมากส่งผลกระทบต่อวงโคจรของดาวหางมาก

The FireBall-The Meteor

                              อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

                              สะเก็ดดาวหรือดาวตก มองเห็นวิ่งผ่านชั้นบรรยากาศของโลกเป็นแสงสว่างแล้วก็หายไป สะเก็ดดาวตกอาจเป็นวัตถุแข็งๆ มีขนาดไม่โตกว่าเม็ดทรายหรืออาจมีขนาดเท่าๆกับเม็ดถั่วลิสงเท่านั้น แสงสว่างเกิดขึ้นมาเพราะการเสียดสีระหว่างอะตอมของสะเก็ดดาวตก กับโมเลกุลของอากาศของโลก สะเก็ดดาวตกเช่นนั้นมองเห็นมีแสงสว่างสะเก็ดดาวตกเช่นนั้นจะหายไปใน บรรยากาศของโลกในระดับความสูงประมาณ 60 ไมล์(95 กิโลเมตร) เทห์แข็งๆของสะเก็ดดาวบางครั้งมีมวลเพียงไม่กี่ออนซ์ จนถึงมีนำหนักหลายตันอาจหล่นมาถึงผิวโลกเรียกว่า อุกกาบาต สะเก็ดดาวบางครั้งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงไม่กี่ไมครอน วิ่งผ่านบรรยากาศและหล่นมาถึงผิวโลก เหลือเป็นอนุภาคเล็กๆ เมื่อโคจรผ่านสะเก็ดดาว ซึ่งเคลื่อนไหว ในวงโคจรรอบๆดวงอาทิตย์ จะมีจำนวนดาวตก จำนวนมากวิ่งผ่านเข้ามาในบรรยากาศของโลกชั่วโมง หนึ่งหลายสิบครั้ง บางครั้งกลุ่มสะเก็ดดาวปรากฏตัวอยู่บนท้องฟ้า เป็นแผ่นหนาเหมือนหิมะกลุ่มละอองสะเก็ดดาวในวงโคจรบางครั้งมีลักษณะเหมือนกลุ่มละออง สะเก็ดดาวในดาวหาง เรื่องนี้เป็นหลักฐานแสดง ให้เห็นว่าดาวหางและกลุ่มสะเก็ดดาวมีความเกี่ยวพันกันนักดาราศาสตร์มีความเห็นว่าสสาร ของสะเก็ดดาว คือส่วนที่หลงเหลือจากการสลายตัวของดาวหางบางดวง

               ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอุกกาบาต เช่น
ฝนอุกกาบาต(meteor showers) คือขณะที่โลกโคจรไปพบอุกกาบาตที่มาด้วยกันเป็นกลุ่มใหญ่อุกกาบาตนี้จะตกลงมาในเวลาอันรวดเร็ว                                                         เป็นจำนวนมาก
กลุ่มอุกกาบาต(meteor warm)   คืออุกกาบาตซึ่งโคจรเป็นกลุ่มมีวงโคจรเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์ไม่หนาแน่น ประมาณ 14 ชิ้น/2ล้านลูกบาศก์ไมล์
ธารอุกกาบาต(meteor steam)   คือกลุ่มอุกกาบาตที่แผ่กระจายออกมาตามความโค้งวงทางโคจรทำให้ดูเหมือนว่าอุกกาบาตนั้นเคลื่อนที่ในอวกาศ                                                        เป็นสายธาร

The Nebula

                            คำว่า"เนบิวลา"นักดาราศาสตร์ใช้เรียกสิ่งที่ปรากฏเป็นเมฆหมอกฝ้าอยู่คงที่ในท่ามกลางดวงดาว บนท้องฟ้า อาจจะปรากฏเป็นแสงสว่างเรือง หรือ มืดสนิทก็ได้ เรามองเห็นเนบิวลาได้ยาก เพราะแม้ชนิดที่สว่างก็มีแสงจาง แผ่กรจายไม่รวมกันเข้มเป็นจุดสว่างดังเช่นดาวฤกษ์ เราจึงสามารถเห็นเนบิวลาบนท้องฟ้าด้วยตาเปล่าได้เพียง 4 แห่ง ในขณะที่สามารถเห็นดาวฤกษ์ด้วยตาเปล่าถึงราว 5,000 ดวง ความจริงเนบิวลามีอยู๋เป็นปริมาณมากมายไม่น้อย การที่เราจะตรวจพบหรือไม่ขึ้นอยู่กับความไวของอุปกรณ์ที่ใช้สำรวจ เนบิวลาที่อยู๋ในระบบทางช้างเผือกของเรา เรียกว่า กาแลคติคเนบิวลา Galaxtic Nebula ซึ่งเป็นกลุ่มก๊าซที่มีความสัมพันธ์ทางใดทางหนึ่งกับดาวฤกษ์ หรือกลุ่มดาวในกาแลกซี ซึ่งดวงอาทิตย์ของเราเป็นสมาชิกหน่วยหนึ่ง ตัวอย่างของ Galaxtic Nebulaชนิดแผ่กระจายได้แก่ กลุ่มที่อยู๋ในหมู่ดาว ออไรน นับเป็นกลุ่มก๊าซและฝุ่นซึ่งใหญ่โตกลุ่มหนึ่งในกาแลกซี กินอาณาเขตกว้างขวางในอวกาศ แผ่คลุมดาวฤกษ์อยู่ภายในองค์ประกอบสำคัญ คือ Hydrogen Helium มากที่สุด และนอกนั้นก็มี Oxygen และ Nitrogen เป็นต้น เนบิวลานี้เรืองเสงเพราะถูกกระตุ้นด้วยUVจากดาวฤกษืซึ่งอยู่ภายใน และบางส่วนของก๊าซและฝุ่นที่อยู่เบื้องหลังไกลออกไป จึงปรากฏเป็นเนบิวลามืด กาแลคติคเนบิวลาชนิดเป็นดวง นั้นเป็นกลุ่มก๊าซรูปทรงกลมซึ่งแผ่กระจายออกมาจากการระเบิดของดาวฤกษ์ และปรากฏให้เห็นหลายดวงบนท้องฟ้า เช่นที่เรียกกันว่า เนบิวลาวงแหวน เนบิวลาปู เนบิวลานกฮูก เป็นต้น ตามความคล้ายคลึงกับรูปสิ่งของ สัตว์ที่มนุษย์คุ้นเคยกันทั่วไป

                    เนบิวลานอกกาแลกซี หรือ สไปราลเนบิวลา นั้นเป็นวัตถุจำพวกที่อยู๋ห่างไกลออกไปนอกกาแลกซีของเรา เป็นต้นว่า เมฆแมคเยลแลน ซึ่งเห็นได้ด้วยตาเปล่าบนท้องฟ้าของซีกโลกภาคใต้ อยู่ห่างไป 150,000 ปีแสง หรืออาจจะมากกว่านั้นก็เป็นได้เช่น สไปราลเนบิวลา ที่อยู่ในทิศทางของหมู่ดาวอันโดรเมดาซึ่งอยู่ห่างออกไปถึง 2,200,000 ปีแสง ข้างล่างจะเป็นลักษณะของเนบิวลานะ

: 10 มิถุนายน 2540 เวลา 0.33 น. กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสสิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล Losmandy G-11 เนบิวลาอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ตำแหน่ง R.A. 18h 02m Dec -23o02' อันดับความสว่าง 8.5 ฟิล์ม Kodak Multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 45 นาที

: 4 มิถุนายน 2540 เวลา 2.03 น.
ใช้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสซิเกรน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที ฟิล์ม Kodak Multispeed ตำแหน่ง 18h20m, -16o11'
อันดับความสว่าง 7.6 อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู (Ophiuchus)

: 15 มีนาคม 2540 เวลา 3.00 น.
กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง แบบชมิดท์แคสซิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
อันดับความสว่าง 5.8 อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู (Sagittarius)
ฟิล์ม Kodak multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที
-ดาวพุธเล็กที่สุด,ดาวพฤหัสใหญ่ที่สุด
-ดาวพุธ,ดาวศุกร์ 2 ดวงนี้รูปร่างเกือบเป็นวงกลมเหมือนดวงจันทร์และดวงอาทิตย์
-ดางศุกร์,ดาวเนปจูนมีวงทางโคจรรอบดวงอาทิตย์เกือบเป็นวงกลม
-โลกเป็นดาวที่มีมนุษย์อาศัยอยู่


                                      


มวลของสมาชิกในระบบสุริยะ
ดวงอาทิตย์ 99.85 %
เหล่าดาวเคราะห์ 0.135 %
เหล่าดาวหาง 0.01 %
บริวารของดาวเคราะห์ 0.00005 %
ดาวเคราะห์น้อย 0.0000002 %
อุกกาบาต 0.0000001 %

องค์ประกอบของระบบสุริยะ
ระบบสุริยะประกอบด้วยดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางและเหล่าสมาชิกโคจรโดยรอบ คือ ดาวเคราะห์ 9 ดวง บริวารของดาวเคราะห์ ดาวหาง ดาวเคราะห์น้อยและอุกกาบาต เมื่อเปรียบเทียบมวลของสมาชิกในระบบสุริยะ ดวงอาทิตย์มีมวลมากที่สุดถึง 99.85% ขณะที่ดาวเคราะห์ทุกดวงรวมกันมีมวลเพียง 0.01355 % ซึ่งดาวพฤหัสบดีมีมวลสูงเป็น 2.5 เท่าของมวลดาวเคราะห์อื่น ๆ ทุกดวงรวมกัน
ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งกำเนิดพลังงานที่ใหญ่ที่สุดแผ่พลังงานออกไปในระบบสุริยะโดยรอบในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

ขนาดของระบบสุริยจักรวาล
การวัดระยะทางภายในระบบสุริยจักรวาลใช้ระบบการวัดหลายระบบด้วยกัน ส่วนใหญ่จะใช้หน่วยวัดเป็นไมล์ ระยะทาง จากดวงอาทิตย์ไปยังดาวเคราะห์ที่ไกลที่สุดที่ค้นพบว่ามีอยู่ปัจจุบัน คือ ดาวเคราะห์พลูโต มีระยะทาง 39.4 หน่วยดาราศาสตร์ในขณะดวงดาว(ดาวฤกษ์)ที่อยู่ ใกล้เรามากที่สุดห่างออกไป 1.33 พาร์เซค (4.35 ปีแสง) วงโคจรของดาวหาง ซึ่งเป็นวงยาวรืมากจะเป็นวงจรอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ไกลออกไปหลายร้อยหรือหลายพัน หน่วยดาราศาสตร์ แต่บริเวณเลยดาวเคราะห์พลูโตออกไป เป็นบริเวณกว้างใหญ่ไพศาลของอวกาศที่มีแต่ความว่างเปล่า ดังนั้นสมาชิกของระบบสุริยจักรวาล จึงห้อมล้อม ด้วยอวกาศและเมื่อเปรียบขนาดของสุริยจักรวาลกับขนาดของกาแลคซี่ทางช้างเผือกซึ่งสุริยจักรวาลของเราเป็นสมาชิกอยู่ ระบบสุริยจักรวาลจะเป็นเพียงจุดเล็กๆจุดหนึ่ง ที่ปราศจากความสำคัญใดๆและจะกลายเป็นเรื่องยากลำบากยิ่ง ในการค้นหาระบบสุริยจักรวาลของเราให้พบเมื่อสังเกตการณ์จากดวงดาวที่อยู่ใกล้สุริยจักรวาลที่สุด ยกเว้น แต่จะมองเห็นดวงอาทิตย์ของเราเพียงดวงเดียวเท่านั้น

ตำแหน่งของระบบสุริยะในกาแล็กซีทางช้างเผือก
ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ดวงหนึ่ง อยู่ในอาณาจักแห่งดวงดาว ที่เรียกว่า กาแล็กซีทางช้างเผือก (The milky Way) หรือ กาแล็กซีของเรา ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกดาวฤกษ์มากมายประมาณ 2 แสนล้านดวง มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 แสนปีแสง ระบบสุริยะอยู่ห่างจากศูนย์กลางราว 32600 ปีแสง ดวงอาทิตย์พาเหล่าบริวารโคจรครบรอบกาแล็กซีในเวลา 225 ล้านปี
เมื่อมองจากอวกาศเหนือขั้วโลกเหนือของดวงอาทิตย์ สมาชิกในระบบสุริยะโคจรรอบดวงอาทิตย์ในทิศทาง ทวนเข็มนาฬิกาไปทางเดียวกัน
ดาวเคราะห์ทั้งหลายต่างโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่ในระนาบใกล้เคียงกัน กับระนาบที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ซึ่งเรียกว่า ระนาบสุริยวิถี (Ecliptic) มีแต่ดาวพลูโตดวงเดียวที่มีวงโคจรรีมาก และเอียงออกจากระนาบสุริยวิถีมากถึง 18 องศา

กำเนิดระบบสุริยะ
สันนิษฐานว่าระบบสุริยะมีกำเนิดมาจากกลุ่มก๊าซและฝุ่นขนาดมหึมาที่หมุนรอบศูนย์กลางเมื่อประมาณ 5000 ล้านปีก่อน มวลสารหมุนวนทำให้มีลักษณะเป็นจานแบนเมื่ออุณหภูมิรอบนอกค่อย ๆเย็นตัวลง มวลสารรวมตัวกันเกิดเป็นดาวเคราะห์และสมาชิกบริวารโคจรรอบดวงอาทิตย์ไปทางเดียวกันและอยู่ในระนาบใกล้เคียงกัน เช่นทุกวันนี้

ประเภทของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ
ดาวเคราะห์ชั้นใน (Inner Planets)
เป็นกลุ่มดาวเคราะห์ทีมีลักษณะคล้ายโลก (The Terrestrial Planet) คือมีพื้นผิวเป็นหินแข็งอย่างโลก ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคาร ขณะที่ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคารมีบรรยากาศห่อหุ้มชัดเจน แต่ดาวพุธเกือบไม่มีบรรยากาศเลย

ดาวเคราะห์ชั้นนอก (Outer Planets)
เป็นกลุ่มดาวเคราะห์ที่มีลักษณะคล้ายดาวพฤหัสบดี (The Jovian Planets) คือเป็นดาวเคราะห์ก๊าซซึ่งอาจมีแกนแข็งขนาดเล็กอยู่ที่ใจกลางและ มีขนาดใหญ่มากเมื่อเทียบกับโลกได้แก่ ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน

ดาวพลูโตดวงโดดเดี่ยว
ดาวพลูโตเป็นดาวเคราะห์ที่มีลักษณะพิเศษประกอบด้วยหินและน้ำแข็งจึงมีลักษณะคล้ายโลก แต่วงโคจรไกลเลยจากวงโคจรของดาวเนปจูนออกไป มนุษย์ยังมีความรรู้เรื่องดาวพลูโตน้อยมาก เนื่องจากวงโคจรของดาวพลูโตเอียงออกจากระนาบของ สุริยวิถีมากจึงมีบางช่วงนานราว 20 ปี ที่ดาวพลูโตโคจรอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าดาวเนปจูน บรรยากาศอาจเกิดจากมีเทนแข็งระเหิด ขณะเมื่อพลูโตเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ แต่เมื่ออยู่ไกลจากดวงอาทิตย์ตามปกติ ดาวพลูโตอาจเย็นจัดเป็นก้อนน้ำแข็งและไม่มีบรรยากาศก็เป็นได้


สัญลักษณ์ของดวงอาทิตย์   -------------->>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>            

ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ชั้น G2  เป็นเพียงสมาชิกหนึ่งในบรรดาดาวฤกษ์หนึ่งแสนล้านดวง ในกาแล๊กซี่ทางช้างเผือก

เส้นผ่านศูนย์กลาง: 1,390,000 ก.ม.
มวล: 1.989 x 1030 ก.ก.
อุณหภูมิ: 5800 เคลวิน (พื้นผิว) 15,600,000 K (แกน)

ดวงอาทิตย์ เป็นเทหวัตถุ ที่ใหญ่ที่สุด ในระบบสุริยะ คิดเป็นมวลมากกว่า 99.8% ของมวลทั้งระบบ (ที่เหลือเกือบทั้งหมดเป็น
ดาวพฤหัสบด )

ด วงอาทิตย์ มีชื่อเรียกหลายชื่อในเทพนิยาย: กรีกเรียกว่า เฮลิออส โรมันเรียกว่า ซอล

ในปัจจุบันดวงอาทิตย์ประกอบด้วย ไฮโดรเจน 75% และ ฮีเลียม 25% นับโดยมวล (ไฮโดรเจน 92.1% และฮีเลียม 7.8% นับโดยจำนวนอะตอม) ที่เหลือจำนวน 0.1% เป็น "โลหะ"  X ส่วนเหล่านี้เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ โดยดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจนในแกนของมันให้กลายเป็นฮีเลียม

ชั้นนอกของดวงอาทิตย์มีการเคลื่อนที่แบบ differential rotation กล่าวคือ ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตร หมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบใช้เวลา 25.4 วัน แต่บริเวณขั้ว หมุนหนึ่งรอบใช้เวลาถึง 36 วัน พฤติกรรมเช่นนี้แสดงว่าดวงอาทิตย์มิได้เป็นของแข็ง (solid body) เฉกเข่นโลก แต่คล้ายกับ ดาวเคราะห์แก๊ส ลักษณะการหมุนเช่นนี้เกิดขึ้นในแนวลึกลงไปด้วย ยกเว้นตรงแกนของดวงอาทิตย์ หมุนรอบตัวในลักษณะแบบของแข็ง

แกนของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิสูงถึง 15.6 ล้านเคลวิน และมีความกดดัน 250 พันล้าน หน่วยบรรยากาศ แก๊สที่แกนกลางถูกอัดตัวให้มีความหนาแน่นมากกว่าน้ำถึง 150 เท่า

พลังงานของดวงอาทิตย์  ผลิตโดยปฏิกริยา นิวเคลียร์ฟิวชั่น ทุก ๆ หนึ่งวินาที ดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจน 700,000,000 ตัน ให้กลายเป็นฮีเลียม 695,000,000 ตัน และพลังงานในรูปของรังสีแกมม่าอีกจำนวน 5,000,000 ตัน พุ่งตรงมายังพื้นผิว จากนั้นพลังงานถูกดูดกลืนเข้าไปและเปล่งออกอีก ทำให้อุณหภูมิลดต่ำลงเมื่อถึงพื้นผิว กลายเป็นแสงที่เรามองเห็นได้; ณ ข่วง 20% สุดท้ายก่อนที่จะถึงพื้นผิว พลังงานส่วนใหญ่ม้วนตัวกลับ ( convection ) มากกว่าที่จะแผ่รังสีออก

 พื้นผิวของดวงอาทิตย์เรียกว่า ชั้นโฟโตสเฟียร์ มีอุณหภมิประมาณ 5,800 เคลวิน; จุดบนดวงอาทิตย์ (Sunspots) เป็นย่านที่อุณหภูมิต่ำเพียง 3,800 เคลวิน (มันดูมืดเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณรอบ ๆ) จุดบนดวงอาทิตย์อาจมีขนาดใหญ่ถึง 50,000 ก.ม. มันเกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สลับซับซ้อน และยังไม่เข้าใจดีนัก ว่าเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์อย่างไร

เหนือขึ้นมาจากชั้นโฟโตสเฟียร์ มีชั้นเล็ก ๆ เรียกว่า โครโมสเฟียร์

 ชั้นที่อยู่เหนือโครโมสเฟียร์ เราเรียกว่า โคโรน่า มันแผ่ออกไปในอวกาศหลายล้านกิโลเมตร แต่จะมองเห็นได้เฉพาะเวลาที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงเท่านั้น โคโคน่ามีอุณหภูมิสูงมากกว่า 1,000,000 เคลวิน

ส นามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์มีความเข้มและซับซ้อนมาก เขต แมกเนโตสเฟียร์ (ซึ่งบางทีเรียกว่า เฮลิโอสเฟียร์) แผ่ขยายออกไปไกลกว่า ดาวพลูโต

 นอกเหนือจากความร้อนและแสง ดวงอาทิตย์แพร่อนุภาคความหนาแน่นต่ำ (ส่วนมากเป็นอิเล็กตรอนและโปรตอน) ซึ่งรู้จักกันในนามของลมสุริยะ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 450 ก.ม./วินาที ลมสุริยะและอนุภาคซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า ถูกพ่นออกโดย solar flares สามารถรบกวนสายไฟฟ้าแรงสูง คลื่นวิทยุะ และทำให้เกิดปรากฏการณ์แสงเหนือแสงใต้ที่งดงาม

 ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณ 4.5 ล้านปี นับตั้งแต่กำเนิดมามันได้เผาผลาญไฮโดรเจนในแกนของมันไปประมาณครึ่งหนึ่ง มันยังคงแผ่รังสีอย่างสงบต่อไปอีกประมาณ 5 ล้านปี (ความสว่างจะมากขึ้นเป็นสองเท่าเมื่อถึงเวลานั้น) และเมื่อไฮโดรเจนหมดลง ขนาดของมันจะใหญ่ขึ้นจนกลืนโลกเข้าไป 

ดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์น้อยเป็นเทห์วัตถุ บนท้องฟ้า อีกชนิดหนึ่ง และเป็นบริวาร ที่โคจรรอบ ดวงอาทิตย์คล้ายๆ ดาวเคราะห์ แต่มักมีขนาดเล็ก โดยส่วนใหญ่ จะโคจรอยู่ในบริเวณ ระหว่าง ดาวอังคาร และดาวพฤหัส ข้อมูลปัจจุบัน ประมาณว่า มีดาวเคราะห์น้อย อยู่ประมาณ 30,000 ดวง ถึง 50,000 ดวง แต่มีเพียงไม่กี่ดวง ที่สามารถใช้ กล้องโทรทัศน์ขนาดเล็ก ส่องดูได้ ดาวเคราะห์น้อย บางดวงมีวงโคจร เปลี่ยนไป เปลี่ยนมา เมื่อโคจรผ่านดาวเคราะห์ ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัส จะถูกแรงดึงดูด รบกวนจน ทำให้วงโคจร ของดาวเคราะห์น้อย แปรเปลี่ยนไป ซึ่งบางดวง อาจโคจร เข้ามาใกล้โลกของเรา และอาจจะเกิด อันตรายต่อโลก ของเราได้ แต่มีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยมาก แต่ก็มีการนำเรื่อง ดังกล่าว ไปสร้าง เป็นภาพยนตร์ ที่หลายคน อาจจะได้ดูเมื่อ เร็วๆนี้ คือเรื่อง "Armageddon" ที่ทำเงิน จากการฉายทั่วโลกได้มากมาย   อืมเรื่องนี้ไม่มีรูปประกอบนะหาไม่ได้อ่ะ

ดาวหาง

ดาวหางเป็นเทหวัตถุมีมวลน้อยมาก หมุนอยู่รอบดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกับสมาชิกอื่นๆในระบบสุริยจักรวาลของเรา รูปร่างและความสว่างของดาวหางแต่ละดวงมีความแตกต่างกันออกไปตามระยะทางที่มันอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์ ดาวหางดวงที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นระยะทางไกลๆจะมีความสว่างน้อยมาก มองเห็นคล้ายๆว่าเป็นดวงดาวดวงหนึ่งเท่านั้น ส่วนประกอบสำคัญของดาวหางคือเทหวัตถุขนาดเล็กๆอยู่ในบริเวณตอนหัวของมันเรียกว่า นิวเคลียส

ปรากฏการณ์ของดาวหาง

ในอดีตมนุษย์มักจะมีความหวาดกลัวปรากฏการณ์ของดาวหางทั้งนี้เพราะมองเห็นว่าดาวหางปรากฏตัวขึ้นมาอย่าง กะทันหัน และมีแสงสุกใสมีเส้นทางโคจรลึกลับและบางครั้งดาวหางก็เปลี่ยนแปลงรูปร่างของมันไปอย่างรวดเร็ว

การโคจรของดาวหาง

วงโคจรของมันจะมีรูปทรงกรวยโดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลาง ชนิดของรูปทรงกรวยขึ้นอยู่กับลักษณะ การโคจรไม่เป็นวงกลมของมันคือ 2 และขึ้นอยู่กับความเร็วของดาวหางที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ใกล้ที่สุดคือระยะทาง เส้นทางโคจรของดาวหางมีความซับซ้อนมากกว่าที่กล่าวมาแล้วเพราะว่าดาวหางจะถูกรบกวนขณะเดินทางจากแรงดึงดูด ของดาวเคราะห์ ซึ่งบางครั้งมีผลกระทบต่อเส้นทางโคจรของมันเพียงเล็กน้อย แต่บางครั้งก็จะมีผลกระทบต่อเส้นทางเดินของดาวหาง ดวงนั้นเป็นอย่างมาก ดาวหางยิ่งเดินทางผ่านดาวเคราะห์มากเท่าใด ดาวหางดวงนั้นย่อมได้รัยอิทธิพลจากแรงดึงดูดของดาวเคราะห์ ดวงนั้นมากเท่านั้น ยิ่งดาวพฤหัสบดีซึ่งมีมวลมากส่งผลกระทบต่อวงโคจรของดาวหางมาก

The FireBall-The Meteor

                              อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

                              สะเก็ดดาวหรือดาวตก มองเห็นวิ่งผ่านชั้นบรรยากาศของโลกเป็นแสงสว่างแล้วก็หายไป สะเก็ดดาวตกอาจเป็นวัตถุแข็งๆ มีขนาดไม่โตกว่าเม็ดทรายหรืออาจมีขนาดเท่าๆกับเม็ดถั่วลิสงเท่านั้น แสงสว่างเกิดขึ้นมาเพราะการเสียดสีระหว่างอะตอมของสะเก็ดดาวตก กับโมเลกุลของอากาศของโลก สะเก็ดดาวตกเช่นนั้นมองเห็นมีแสงสว่างสะเก็ดดาวตกเช่นนั้นจะหายไปใน บรรยากาศของโลกในระดับความสูงประมาณ 60 ไมล์(95 กิโลเมตร) เทห์แข็งๆของสะเก็ดดาวบางครั้งมีมวลเพียงไม่กี่ออนซ์ จนถึงมีนำหนักหลายตันอาจหล่นมาถึงผิวโลกเรียกว่า อุกกาบาต สะเก็ดดาวบางครั้งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงไม่กี่ไมครอน วิ่งผ่านบรรยากาศและหล่นมาถึงผิวโลก เหลือเป็นอนุภาคเล็กๆ เมื่อโคจรผ่านสะเก็ดดาว ซึ่งเคลื่อนไหว ในวงโคจรรอบๆดวงอาทิตย์ จะมีจำนวนดาวตก จำนวนมากวิ่งผ่านเข้ามาในบรรยากาศของโลกชั่วโมง หนึ่งหลายสิบครั้ง บางครั้งกลุ่มสะเก็ดดาวปรากฏตัวอยู่บนท้องฟ้า เป็นแผ่นหนาเหมือนหิมะกลุ่มละอองสะเก็ดดาวในวงโคจรบางครั้งมีลักษณะเหมือนกลุ่มละออง สะเก็ดดาวในดาวหาง เรื่องนี้เป็นหลักฐานแสดง ให้เห็นว่าดาวหางและกลุ่มสะเก็ดดาวมีความเกี่ยวพันกันนักดาราศาสตร์มีความเห็นว่าสสาร ของสะเก็ดดาว คือส่วนที่หลงเหลือจากการสลายตัวของดาวหางบางดวง

               ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอุกกาบาต เช่น
ฝนอุกกาบาต(meteor showers) คือขณะที่โลกโคจรไปพบอุกกาบาตที่มาด้วยกันเป็นกลุ่มใหญ่อุกกาบาตนี้จะตกลงมาในเวลาอันรวดเร็ว                                                         เป็นจำนวนมาก
กลุ่มอุกกาบาต(meteor warm)   คืออุกกาบาตซึ่งโคจรเป็นกลุ่มมีวงโคจรเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์ไม่หนาแน่น ประมาณ 14 ชิ้น/2ล้านลูกบาศก์ไมล์
ธารอุกกาบาต(meteor steam)   คือกลุ่มอุกกาบาตที่แผ่กระจายออกมาตามความโค้งวงทางโคจรทำให้ดูเหมือนว่าอุกกาบาตนั้นเคลื่อนที่ในอวกาศ                                                        เป็นสายธาร

The Nebula

                            คำว่า"เนบิวลา"นักดาราศาสตร์ใช้เรียกสิ่งที่ปรากฏเป็นเมฆหมอกฝ้าอยู่คงที่ในท่ามกลางดวงดาว บนท้องฟ้า อาจจะปรากฏเป็นแสงสว่างเรือง หรือ มืดสนิทก็ได้ เรามองเห็นเนบิวลาได้ยาก เพราะแม้ชนิดที่สว่างก็มีแสงจาง แผ่กรจายไม่รวมกันเข้มเป็นจุดสว่างดังเช่นดาวฤกษ์ เราจึงสามารถเห็นเนบิวลาบนท้องฟ้าด้วยตาเปล่าได้เพียง 4 แห่ง ในขณะที่สามารถเห็นดาวฤกษ์ด้วยตาเปล่าถึงราว 5,000 ดวง ความจริงเนบิวลามีอยู๋เป็นปริมาณมากมายไม่น้อย การที่เราจะตรวจพบหรือไม่ขึ้นอยู่กับความไวของอุปกรณ์ที่ใช้สำรวจ เนบิวลาที่อยู๋ในระบบทางช้างเผือกของเรา เรียกว่า กาแลคติคเนบิวลา Galaxtic Nebula ซึ่งเป็นกลุ่มก๊าซที่มีความสัมพันธ์ทางใดทางหนึ่งกับดาวฤกษ์ หรือกลุ่มดาวในกาแลกซี ซึ่งดวงอาทิตย์ของเราเป็นสมาชิกหน่วยหนึ่ง ตัวอย่างของ Galaxtic Nebulaชนิดแผ่กระจายได้แก่ กลุ่มที่อยู๋ในหมู่ดาว ออไรน นับเป็นกลุ่มก๊าซและฝุ่นซึ่งใหญ่โตกลุ่มหนึ่งในกาแลกซี กินอาณาเขตกว้างขวางในอวกาศ แผ่คลุมดาวฤกษ์อยู่ภายในองค์ประกอบสำคัญ คือ Hydrogen Helium มากที่สุด และนอกนั้นก็มี Oxygen และ Nitrogen เป็นต้น เนบิวลานี้เรืองเสงเพราะถูกกระตุ้นด้วยUVจากดาวฤกษืซึ่งอยู่ภายใน และบางส่วนของก๊าซและฝุ่นที่อยู่เบื้องหลังไกลออกไป จึงปรากฏเป็นเนบิวลามืด กาแลคติคเนบิวลาชนิดเป็นดวง นั้นเป็นกลุ่มก๊าซรูปทรงกลมซึ่งแผ่กระจายออกมาจากการระเบิดของดาวฤกษ์ และปรากฏให้เห็นหลายดวงบนท้องฟ้า เช่นที่เรียกกันว่า เนบิวลาวงแหวน เนบิวลาปู เนบิวลานกฮูก เป็นต้น ตามความคล้ายคลึงกับรูปสิ่งของ สัตว์ที่มนุษย์คุ้นเคยกันทั่วไป

                    เนบิวลานอกกาแลกซี หรือ สไปราลเนบิวลา นั้นเป็นวัตถุจำพวกที่อยู๋ห่างไกลออกไปนอกกาแลกซีของเรา เป็นต้นว่า เมฆแมคเยลแลน ซึ่งเห็นได้ด้วยตาเปล่าบนท้องฟ้าของซีกโลกภาคใต้ อยู่ห่างไป 150,000 ปีแสง หรืออาจจะมากกว่านั้นก็เป็นได้เช่น สไปราลเนบิวลา ที่อยู่ในทิศทางของหมู่ดาวอันโดรเมดาซึ่งอยู่ห่างออกไปถึง 2,200,000 ปีแสง ข้างล่างจะเป็นลักษณะของเนบิวลานะ

: 10 มิถุนายน 2540 เวลา 0.33 น. กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสสิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล Losmandy G-11 เนบิวลาอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ตำแหน่ง R.A. 18h 02m Dec -23o02' อันดับความสว่าง 8.5 ฟิล์ม Kodak Multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 45 นาที

: 4 มิถุนายน 2540 เวลา 2.03 น.
ใช้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสซิเกรน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที ฟิล์ม Kodak Multispeed ตำแหน่ง 18h20m, -16o11'
อันดับความสว่าง 7.6 อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู (Ophiuchus)

: 15 มีนาคม 2540 เวลา 3.00 น.
กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง แบบชมิดท์แคสซิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
อันดับความสว่าง 5.8 อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู (Sagittarius)
ฟิล์ม Kodak multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที


สัญลักษณ์ของดวงอาทิตย์   -------------->>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>            

ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ชั้น G2  เป็นเพียงสมาชิกหนึ่งในบรรดาดาวฤกษ์หนึ่งแสนล้านดวง ในกาแล๊กซี่ทางช้างเผือก

เส้นผ่านศูนย์กลาง: 1,390,000 ก.ม.
มวล: 1.989 x 1030 ก.ก.
อุณหภูมิ: 5800 เคลวิน (พื้นผิว) 15,600,000 K (แกน)

ดวงอาทิตย์ เป็นเทหวัตถุ ที่ใหญ่ที่สุด ในระบบสุริยะ คิดเป็นมวลมากกว่า 99.8% ของมวลทั้งระบบ (ที่เหลือเกือบทั้งหมดเป็น
ดาวพฤหัสบด )

ด วงอาทิตย์ มีชื่อเรียกหลายชื่อในเทพนิยาย: กรีกเรียกว่า เฮลิออส โรมันเรียกว่า ซอล

ในปัจจุบันดวงอาทิตย์ประกอบด้วย ไฮโดรเจน 75% และ ฮีเลียม 25% นับโดยมวล (ไฮโดรเจน 92.1% และฮีเลียม 7.8% นับโดยจำนวนอะตอม) ที่เหลือจำนวน 0.1% เป็น "โลหะ"  X ส่วนเหล่านี้เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ โดยดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจนในแกนของมันให้กลายเป็นฮีเลียม

ชั้นนอกของดวงอาทิตย์มีการเคลื่อนที่แบบ differential rotation กล่าวคือ ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตร หมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบใช้เวลา 25.4 วัน แต่บริเวณขั้ว หมุนหนึ่งรอบใช้เวลาถึง 36 วัน พฤติกรรมเช่นนี้แสดงว่าดวงอาทิตย์มิได้เป็นของแข็ง (solid body) เฉกเข่นโลก แต่คล้ายกับ ดาวเคราะห์แก๊ส ลักษณะการหมุนเช่นนี้เกิดขึ้นในแนวลึกลงไปด้วย ยกเว้นตรงแกนของดวงอาทิตย์ หมุนรอบตัวในลักษณะแบบของแข็ง

แกนของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิสูงถึง 15.6 ล้านเคลวิน และมีความกดดัน 250 พันล้าน หน่วยบรรยากาศ แก๊สที่แกนกลางถูกอัดตัวให้มีความหนาแน่นมากกว่าน้ำถึง 150 เท่า

พลังงานของดวงอาทิตย์  ผลิตโดยปฏิกริยา นิวเคลียร์ฟิวชั่น ทุก ๆ หนึ่งวินาที ดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจน 700,000,000 ตัน ให้กลายเป็นฮีเลียม 695,000,000 ตัน และพลังงานในรูปของรังสีแกมม่าอีกจำนวน 5,000,000 ตัน พุ่งตรงมายังพื้นผิว จากนั้นพลังงานถูกดูดกลืนเข้าไปและเปล่งออกอีก ทำให้อุณหภูมิลดต่ำลงเมื่อถึงพื้นผิว กลายเป็นแสงที่เรามองเห็นได้; ณ ข่วง 20% สุดท้ายก่อนที่จะถึงพื้นผิว พลังงานส่วนใหญ่ม้วนตัวกลับ ( convection ) มากกว่าที่จะแผ่รังสีออก

 พื้นผิวของดวงอาทิตย์เรียกว่า ชั้นโฟโตสเฟียร์ มีอุณหภมิประมาณ 5,800 เคลวิน; จุดบนดวงอาทิตย์ (Sunspots) เป็นย่านที่อุณหภูมิต่ำเพียง 3,800 เคลวิน (มันดูมืดเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณรอบ ๆ) จุดบนดวงอาทิตย์อาจมีขนาดใหญ่ถึง 50,000 ก.ม. มันเกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สลับซับซ้อน และยังไม่เข้าใจดีนัก ว่าเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์อย่างไร

เหนือขึ้นมาจากชั้นโฟโตสเฟียร์ มีชั้นเล็ก ๆ เรียกว่า โครโมสเฟียร์

 ชั้นที่อยู่เหนือโครโมสเฟียร์ เราเรียกว่า โคโรน่า มันแผ่ออกไปในอวกาศหลายล้านกิโลเมตร แต่จะมองเห็นได้เฉพาะเวลาที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงเท่านั้น โคโคน่ามีอุณหภูมิสูงมากกว่า 1,000,000 เคลวิน

ส นามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์มีความเข้มและซับซ้อนมาก เขต แมกเนโตสเฟียร์ (ซึ่งบางทีเรียกว่า เฮลิโอสเฟียร์) แผ่ขยายออกไปไกลกว่า ดาวพลูโต

 นอกเหนือจากความร้อนและแสง ดวงอาทิตย์แพร่อนุภาคความหนาแน่นต่ำ (ส่วนมากเป็นอิเล็กตรอนและโปรตอน) ซึ่งรู้จักกันในนามของลมสุริยะ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 450 ก.ม./วินาที ลมสุริยะและอนุภาคซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า ถูกพ่นออกโดย solar flares สามารถรบกวนสายไฟฟ้าแรงสูง คลื่นวิทยุะ และทำให้เกิดปรากฏการณ์แสงเหนือแสงใต้ที่งดงาม

 ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณ 4.5 ล้านปี นับตั้งแต่กำเนิดมามันได้เผาผลาญไฮโดรเจนในแกนของมันไปประมาณครึ่งหนึ่ง มันยังคงแผ่รังสีอย่างสงบต่อไปอีกประมาณ 5 ล้านปี (ความสว่างจะมากขึ้นเป็นสองเท่าเมื่อถึงเวลานั้น) และเมื่อไฮโดรเจนหมดลง ขนาดของมันจะใหญ่ขึ้นจนกลืนโลกเข้าไป 

ดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์น้อยเป็นเทห์วัตถุ บนท้องฟ้า อีกชนิดหนึ่ง และเป็นบริวาร ที่โคจรรอบ ดวงอาทิตย์คล้ายๆ ดาวเคราะห์ แต่มักมีขนาดเล็ก โดยส่วนใหญ่ จะโคจรอยู่ในบริเวณ ระหว่าง ดาวอังคาร และดาวพฤหัส ข้อมูลปัจจุบัน ประมาณว่า มีดาวเคราะห์น้อย อยู่ประมาณ 30,000 ดวง ถึง 50,000 ดวง แต่มีเพียงไม่กี่ดวง ที่สามารถใช้ กล้องโทรทัศน์ขนาดเล็ก ส่องดูได้ ดาวเคราะห์น้อย บางดวงมีวงโคจร เปลี่ยนไป เปลี่ยนมา เมื่อโคจรผ่านดาวเคราะห์ ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัส จะถูกแรงดึงดูด รบกวนจน ทำให้วงโคจร ของดาวเคราะห์น้อย แปรเปลี่ยนไป ซึ่งบางดวง อาจโคจร เข้ามาใกล้โลกของเรา และอาจจะเกิด อันตรายต่อโลก ของเราได้ แต่มีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยมาก แต่ก็มีการนำเรื่อง ดังกล่าว ไปสร้าง เป็นภาพยนตร์ ที่หลายคน อาจจะได้ดูเมื่อ เร็วๆนี้ คือเรื่อง "Armageddon" ที่ทำเงิน จากการฉายทั่วโลกได้มากมาย   อืมเรื่องนี้ไม่มีรูปประกอบนะหาไม่ได้อ่ะ

ดาวหาง

ดาวหางเป็นเทหวัตถุมีมวลน้อยมาก หมุนอยู่รอบดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกับสมาชิกอื่นๆในระบบสุริยจักรวาลของเรา รูปร่างและความสว่างของดาวหางแต่ละดวงมีความแตกต่างกันออกไปตามระยะทางที่มันอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์ ดาวหางดวงที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นระยะทางไกลๆจะมีความสว่างน้อยมาก มองเห็นคล้ายๆว่าเป็นดวงดาวดวงหนึ่งเท่านั้น ส่วนประกอบสำคัญของดาวหางคือเทหวัตถุขนาดเล็กๆอยู่ในบริเวณตอนหัวของมันเรียกว่า นิวเคลียส

ปรากฏการณ์ของดาวหาง

ในอดีตมนุษย์มักจะมีความหวาดกลัวปรากฏการณ์ของดาวหางทั้งนี้เพราะมองเห็นว่าดาวหางปรากฏตัวขึ้นมาอย่าง กะทันหัน และมีแสงสุกใสมีเส้นทางโคจรลึกลับและบางครั้งดาวหางก็เปลี่ยนแปลงรูปร่างของมันไปอย่างรวดเร็ว

การโคจรของดาวหาง

วงโคจรของมันจะมีรูปทรงกรวยโดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลาง ชนิดของรูปทรงกรวยขึ้นอยู่กับลักษณะ การโคจรไม่เป็นวงกลมของมันคือ 2 และขึ้นอยู่กับความเร็วของดาวหางที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ใกล้ที่สุดคือระยะทาง เส้นทางโคจรของดาวหางมีความซับซ้อนมากกว่าที่กล่าวมาแล้วเพราะว่าดาวหางจะถูกรบกวนขณะเดินทางจากแรงดึงดูด ของดาวเคราะห์ ซึ่งบางครั้งมีผลกระทบต่อเส้นทางโคจรของมันเพียงเล็กน้อย แต่บางครั้งก็จะมีผลกระทบต่อเส้นทางเดินของดาวหาง ดวงนั้นเป็นอย่างมาก ดาวหางยิ่งเดินทางผ่านดาวเคราะห์มากเท่าใด ดาวหางดวงนั้นย่อมได้รัยอิทธิพลจากแรงดึงดูดของดาวเคราะห์ ดวงนั้นมากเท่านั้น ยิ่งดาวพฤหัสบดีซึ่งมีมวลมากส่งผลกระทบต่อวงโคจรของดาวหางมาก

The FireBall-The Meteor

                              อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

                              สะเก็ดดาวหรือดาวตก มองเห็นวิ่งผ่านชั้นบรรยากาศของโลกเป็นแสงสว่างแล้วก็หายไป สะเก็ดดาวตกอาจเป็นวัตถุแข็งๆ มีขนาดไม่โตกว่าเม็ดทรายหรืออาจมีขนาดเท่าๆกับเม็ดถั่วลิสงเท่านั้น แสงสว่างเกิดขึ้นมาเพราะการเสียดสีระหว่างอะตอมของสะเก็ดดาวตก กับโมเลกุลของอากาศของโลก สะเก็ดดาวตกเช่นนั้นมองเห็นมีแสงสว่างสะเก็ดดาวตกเช่นนั้นจะหายไปใน บรรยากาศของโลกในระดับความสูงประมาณ 60 ไมล์(95 กิโลเมตร) เทห์แข็งๆของสะเก็ดดาวบางครั้งมีมวลเพียงไม่กี่ออนซ์ จนถึงมีนำหนักหลายตันอาจหล่นมาถึงผิวโลกเรียกว่า อุกกาบาต สะเก็ดดาวบางครั้งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงไม่กี่ไมครอน วิ่งผ่านบรรยากาศและหล่นมาถึงผิวโลก เหลือเป็นอนุภาคเล็กๆ เมื่อโคจรผ่านสะเก็ดดาว ซึ่งเคลื่อนไหว ในวงโคจรรอบๆดวงอาทิตย์ จะมีจำนวนดาวตก จำนวนมากวิ่งผ่านเข้ามาในบรรยากาศของโลกชั่วโมง หนึ่งหลายสิบครั้ง บางครั้งกลุ่มสะเก็ดดาวปรากฏตัวอยู่บนท้องฟ้า เป็นแผ่นหนาเหมือนหิมะกลุ่มละอองสะเก็ดดาวในวงโคจรบางครั้งมีลักษณะเหมือนกลุ่มละออง สะเก็ดดาวในดาวหาง เรื่องนี้เป็นหลักฐานแสดง ให้เห็นว่าดาวหางและกลุ่มสะเก็ดดาวมีความเกี่ยวพันกันนักดาราศาสตร์มีความเห็นว่าสสาร ของสะเก็ดดาว คือส่วนที่หลงเหลือจากการสลายตัวของดาวหางบางดวง

               ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอุกกาบาต เช่น
ฝนอุกกาบาต(meteor showers) คือขณะที่โลกโคจรไปพบอุกกาบาตที่มาด้วยกันเป็นกลุ่มใหญ่อุกกาบาตนี้จะตกลงมาในเวลาอันรวดเร็ว                                                         เป็นจำนวนมาก
กลุ่มอุกกาบาต(meteor warm)   คืออุกกาบาตซึ่งโคจรเป็นกลุ่มมีวงโคจรเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์ไม่หนาแน่น ประมาณ 14 ชิ้น/2ล้านลูกบาศก์ไมล์
ธารอุกกาบาต(meteor steam)   คือกลุ่มอุกกาบาตที่แผ่กระจายออกมาตามความโค้งวงทางโคจรทำให้ดูเหมือนว่าอุกกาบาตนั้นเคลื่อนที่ในอวกาศ                                                        เป็นสายธาร

The Nebula

                            คำว่า"เนบิวลา"นักดาราศาสตร์ใช้เรียกสิ่งที่ปรากฏเป็นเมฆหมอกฝ้าอยู่คงที่ในท่ามกลางดวงดาว บนท้องฟ้า อาจจะปรากฏเป็นแสงสว่างเรือง หรือ มืดสนิทก็ได้ เรามองเห็นเนบิวลาได้ยาก เพราะแม้ชนิดที่สว่างก็มีแสงจาง แผ่กรจายไม่รวมกันเข้มเป็นจุดสว่างดังเช่นดาวฤกษ์ เราจึงสามารถเห็นเนบิวลาบนท้องฟ้าด้วยตาเปล่าได้เพียง 4 แห่ง ในขณะที่สามารถเห็นดาวฤกษ์ด้วยตาเปล่าถึงราว 5,000 ดวง ความจริงเนบิวลามีอยู๋เป็นปริมาณมากมายไม่น้อย การที่เราจะตรวจพบหรือไม่ขึ้นอยู่กับความไวของอุปกรณ์ที่ใช้สำรวจ เนบิวลาที่อยู๋ในระบบทางช้างเผือกของเรา เรียกว่า กาแลคติคเนบิวลา Galaxtic Nebula ซึ่งเป็นกลุ่มก๊าซที่มีความสัมพันธ์ทางใดทางหนึ่งกับดาวฤกษ์ หรือกลุ่มดาวในกาแลกซี ซึ่งดวงอาทิตย์ของเราเป็นสมาชิกหน่วยหนึ่ง ตัวอย่างของ Galaxtic Nebulaชนิดแผ่กระจายได้แก่ กลุ่มที่อยู๋ในหมู่ดาว ออไรน นับเป็นกลุ่มก๊าซและฝุ่นซึ่งใหญ่โตกลุ่มหนึ่งในกาแลกซี กินอาณาเขตกว้างขวางในอวกาศ แผ่คลุมดาวฤกษ์อยู่ภายในองค์ประกอบสำคัญ คือ Hydrogen Helium มากที่สุด และนอกนั้นก็มี Oxygen และ Nitrogen เป็นต้น เนบิวลานี้เรืองเสงเพราะถูกกระตุ้นด้วยUVจากดาวฤกษืซึ่งอยู่ภายใน และบางส่วนของก๊าซและฝุ่นที่อยู่เบื้องหลังไกลออกไป จึงปรากฏเป็นเนบิวลามืด กาแลคติคเนบิวลาชนิดเป็นดวง นั้นเป็นกลุ่มก๊าซรูปทรงกลมซึ่งแผ่กระจายออกมาจากการระเบิดของดาวฤกษ์ และปรากฏให้เห็นหลายดวงบนท้องฟ้า เช่นที่เรียกกันว่า เนบิวลาวงแหวน เนบิวลาปู เนบิวลานกฮูก เป็นต้น ตามความคล้ายคลึงกับรูปสิ่งของ สัตว์ที่มนุษย์คุ้นเคยกันทั่วไป

                    เนบิวลานอกกาแลกซี หรือ สไปราลเนบิวลา นั้นเป็นวัตถุจำพวกที่อยู๋ห่างไกลออกไปนอกกาแลกซีของเรา เป็นต้นว่า เมฆแมคเยลแลน ซึ่งเห็นได้ด้วยตาเปล่าบนท้องฟ้าของซีกโลกภาคใต้ อยู่ห่างไป 150,000 ปีแสง หรืออาจจะมากกว่านั้นก็เป็นได้เช่น สไปราลเนบิวลา ที่อยู่ในทิศทางของหมู่ดาวอันโดรเมดาซึ่งอยู่ห่างออกไปถึง 2,200,000 ปีแสง ข้างล่างจะเป็นลักษณะของเนบิวลานะ

: 10 มิถุนายน 2540 เวลา 0.33 น. กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสสิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล Losmandy G-11 เนบิวลาอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ตำแหน่ง R.A. 18h 02m Dec -23o02' อันดับความสว่าง 8.5 ฟิล์ม Kodak Multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 45 นาที

: 4 มิถุนายน 2540 เวลา 2.03 น.
ใช้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสซิเกรน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที ฟิล์ม Kodak Multispeed ตำแหน่ง 18h20m, -16o11'
อันดับความสว่าง 7.6 อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู (Ophiuchus)

: 15 มีนาคม 2540 เวลา 3.00 น.
กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง แบบชมิดท์แคสซิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
อันดับความสว่าง 5.8 อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู (Sagittarius)
ฟิล์ม Kodak multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที

                           ดาวฤกษ์ก็คือ ดวงอาทิตย์ ดวงหนึ่ง ที่อยู่ห่างไกล โลกของเราออกไปมาก จนมีแสงริบหรี่ ดาวฤกษ์ดวงที่อยู่ใกล้โลกที่สุด(ไม่นับดวงอาทิตย์) คือ ดาว Proxyma Centauri ซึ่งอยู่ห่างโลก เป็นระยะทางไกลมาก และไม่นิยมบอกระยะห่าง จากโลกเราเป็น กิโลเมตร หรือเป็นไมล์ เพราะจะมีตัวเลขมากมาย เกินไป แต่จะใช้หน่วย ปีแสง แทน ดาว Proxyma Centauri นั้นอยู่ห่างจากโลก ประมาณ 4.2 ปีแสง คือ ณ ขณะหนึ่งขณะใดที่เรามองดูดาวดวงนี้ หมายถึงว่า เรากำลังมองดูแสงและเหตุการณ์ ที่เกิดขึ้นบนดาวดวงนี้ เมื่อ 4.2 ปีมาแล้ว    เนื่องจากดวงอาทิตย์ เป็นดาวฤกษ์ ดวงหนึ่ง นักวิทยาศาสตร์ จึงสันนิษฐาน ว่าน่าจะมีดาวเคราะห์ เป็นบริวารของ ดาวฤกษ์ดวงอื่นๆ ด้วยเช่นเดียวกัน ซึ่งในขณะนี้ กำลังมีการศึกษา ค้นคว้าในเรื่องดังกล่าวกันมาก

                                        ดาวฤกษ์มีพลังงานมหาศาลมากเนื่องจากพลังงานจากดาวฤกษ์นั้นเป็นพลังงานNuclear Fusion ซึ่งจะให้พลังงานออกมามากมาย มหาศาลซึ่งในโลกเรายังไม่มีการใช้พลังงานNuclearชนิดนี้เนื่องจาก ไม่สามารถที่จะควบคุมการปล่อยพลังงานออกมาได้ซึ่งอาจทำให้โลกเรานั้นถูกทำลายได้ ดาวฤกษ์ที่เกิดใหม่ๆนั้นจะมีสี น้ำเงิน ซึ่งจะมีพลังงานและอุณหภูมิสูงมาก ดาวฤกษ์มักมีบริวารเป็นดาวเคราะห์ต่างๆ อุกกาบาต  ดาวหาง เป็นต้นซึ่งเมื่ออยู่รวมตัว กันกับดาวฤกษ์แล้วเราก็จะ เรียกว่า ระบบสุริยะ SolarSystem อย่างเช่นระบบสุริยะ ที่โลกเราอยู่ อิอิเรื่องดาวฤกษ์นี่หารูปมะล่ายง่า

 ดาวเคราะห์
        เป็นบริวารของดวงอาทิตย์ และโคจรรอบดวงอาทิตย์ เป็นวงโคจรที่แน่นอน มีจำนวน 9 ดวง เรียงตามลำดับ จากจุดศูนย์กลาง คือดวงอาทิตย์ ออกไปดังนี้คือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน และดาวพลูโต โดย โลก เป็น ดาวเคราะห์ เพียงดวงเดียวเท่านั้น ที่มีสิ่งมีชีวิต อาศัยอยู่ นักวิทยาศาสตร์ สามารถคำนวณหาตำแหน่ง การเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ ทั้งหมดได้โดยใช้ คณิตศาสตร์ และทฤษฎีทางฟิสิกส์

 
การจำแนกดาวเคราะห์ที่เป็นบริวารของดวงอาทิตย์
1.ใช้ตำแหน่งโลกเป็นหลัก ดาวเคราะห์ใดมีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่ในวงโคจรโลก เรียกว่า"ดาวเคราะห์วงใน(Inferior Planets)  ดาวเคราะห์ใดมีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์นอกวงโคจรโลก เรียกว่า"ดาวเคราะห์วงนอก(Superior Planets)"
2.ใช้ตำแหน่งดาวเคราะห ์น้อยเป็นหลัก โดยแบ่งเป็น 2 พวก คือดาวเคราะห์ที่มีวงโคจรของดาวเคราะห์น้อยเรียกว่า"ดาวเคราะห์ใน(inner planets)"ดาวเคราะห์ที่มีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่นอกวงโคจรดาวเคราะห์น้อยเรียกว่า"ดาวเคราะห์นอก(super planets)"
3.ใช้สมบัติทางฟิสิกส์ ดาวเคราะห์ใดมีสมบัติทางฟิสิกส์คล้ายกับโลกเช่น มีขนาดเล็กเรียก Terrestrid Planetsดาวเคราะห์ที่คล้ายดาวเคราะห์ขนาดใหญ่เรียกว่า Jovian Planets
 วิเคราะห์ลักษณะเด่นของดาวเคราะห์บริวารของดวงอาทิตย์
-ดาวพุธเล็กที่สุด,ดาวพฤหัสใหญ่ที่สุด
-ดาวพุธ,ดาวศุกร์ 2 ดวงนี้รูปร่างเกือบเป็นวงกลมเหมือนดวงจันทร์และดวงอาทิตย์
-ดางศุกร์,ดาวเนปจูนมีวงทางโคจรรอบดวงอาทิตย์เกือบเป็นวงกลม
-โลกเป็นดาวที่มีมนุษย์อาศัยอยู่


                                      


มวลของสมาชิกในระบบสุริยะ
ดวงอาทิตย์ 99.85 %
เหล่าดาวเคราะห์ 0.135 %
เหล่าดาวหาง 0.01 %
บริวารของดาวเคราะห์ 0.00005 %
ดาวเคราะห์น้อย 0.0000002 %
อุกกาบาต 0.0000001 %

องค์ประกอบของระบบสุริยะ
ระบบสุริยะประกอบด้วยดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางและเหล่าสมาชิกโคจรโดยรอบ คือ ดาวเคราะห์ 9 ดวง บริวารของดาวเคราะห์ ดาวหาง ดาวเคราะห์น้อยและอุกกาบาต เมื่อเปรียบเทียบมวลของสมาชิกในระบบสุริยะ ดวงอาทิตย์มีมวลมากที่สุดถึง 99.85% ขณะที่ดาวเคราะห์ทุกดวงรวมกันมีมวลเพียง 0.01355 % ซึ่งดาวพฤหัสบดีมีมวลสูงเป็น 2.5 เท่าของมวลดาวเคราะห์อื่น ๆ ทุกดวงรวมกัน
ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งกำเนิดพลังงานที่ใหญ่ที่สุดแผ่พลังงานออกไปในระบบสุริยะโดยรอบในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

ขนาดของระบบสุริยจักรวาล
การวัดระยะทางภายในระบบสุริยจักรวาลใช้ระบบการวัดหลายระบบด้วยกัน ส่วนใหญ่จะใช้หน่วยวัดเป็นไมล์ ระยะทาง จากดวงอาทิตย์ไปยังดาวเคราะห์ที่ไกลที่สุดที่ค้นพบว่ามีอยู่ปัจจุบัน คือ ดาวเคราะห์พลูโต มีระยะทาง 39.4 หน่วยดาราศาสตร์ในขณะดวงดาว(ดาวฤกษ์)ที่อยู่ ใกล้เรามากที่สุดห่างออกไป 1.33 พาร์เซค (4.35 ปีแสง) วงโคจรของดาวหาง ซึ่งเป็นวงยาวรืมากจะเป็นวงจรอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ไกลออกไปหลายร้อยหรือหลายพัน หน่วยดาราศาสตร์ แต่บริเวณเลยดาวเคราะห์พลูโตออกไป เป็นบริเวณกว้างใหญ่ไพศาลของอวกาศที่มีแต่ความว่างเปล่า ดังนั้นสมาชิกของระบบสุริยจักรวาล จึงห้อมล้อม ด้วยอวกาศและเมื่อเปรียบขนาดของสุริยจักรวาลกับขนาดของกาแลคซี่ทางช้างเผือกซึ่งสุริยจักรวาลของเราเป็นสมาชิกอยู่ ระบบสุริยจักรวาลจะเป็นเพียงจุดเล็กๆจุดหนึ่ง ที่ปราศจากความสำคัญใดๆและจะกลายเป็นเรื่องยากลำบากยิ่ง ในการค้นหาระบบสุริยจักรวาลของเราให้พบเมื่อสังเกตการณ์จากดวงดาวที่อยู่ใกล้สุริยจักรวาลที่สุด ยกเว้น แต่จะมองเห็นดวงอาทิตย์ของเราเพียงดวงเดียวเท่านั้น

ตำแหน่งของระบบสุริยะในกาแล็กซีทางช้างเผือก
ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ดวงหนึ่ง อยู่ในอาณาจักแห่งดวงดาว ที่เรียกว่า กาแล็กซีทางช้างเผือก (The milky Way) หรือ กาแล็กซีของเรา ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกดาวฤกษ์มากมายประมาณ 2 แสนล้านดวง มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 แสนปีแสง ระบบสุริยะอยู่ห่างจากศูนย์กลางราว 32600 ปีแสง ดวงอาทิตย์พาเหล่าบริวารโคจรครบรอบกาแล็กซีในเวลา 225 ล้านปี
เมื่อมองจากอวกาศเหนือขั้วโลกเหนือของดวงอาทิตย์ สมาชิกในระบบสุริยะโคจรรอบดวงอาทิตย์ในทิศทาง ทวนเข็มนาฬิกาไปทางเดียวกัน
ดาวเคราะห์ทั้งหลายต่างโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่ในระนาบใกล้เคียงกัน กับระนาบที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ซึ่งเรียกว่า ระนาบสุริยวิถี (Ecliptic) มีแต่ดาวพลูโตดวงเดียวที่มีวงโคจรรีมาก และเอียงออกจากระนาบสุริยวิถีมากถึง 18 องศา

กำเนิดระบบสุริยะ
สันนิษฐานว่าระบบสุริยะมีกำเนิดมาจากกลุ่มก๊าซและฝุ่นขนาดมหึมาที่หมุนรอบศูนย์กลางเมื่อประมาณ 5000 ล้านปีก่อน มวลสารหมุนวนทำให้มีลักษณะเป็นจานแบนเมื่ออุณหภูมิรอบนอกค่อย ๆเย็นตัวลง มวลสารรวมตัวกันเกิดเป็นดาวเคราะห์และสมาชิกบริวารโคจรรอบดวงอาทิตย์ไปทางเดียวกันและอยู่ในระนาบใกล้เคียงกัน เช่นทุกวันนี้

ประเภทของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ
ดาวเคราะห์ชั้นใน (Inner Planets)
เป็นกลุ่มดาวเคราะห์ทีมีลักษณะคล้ายโลก (The Terrestrial Planet) คือมีพื้นผิวเป็นหินแข็งอย่างโลก ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคาร ขณะที่ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคารมีบรรยากาศห่อหุ้มชัดเจน แต่ดาวพุธเกือบไม่มีบรรยากาศเลย

ดาวเคราะห์ชั้นนอก (Outer Planets)
เป็นกลุ่มดาวเคราะห์ที่มีลักษณะคล้ายดาวพฤหัสบดี (The Jovian Planets) คือเป็นดาวเคราะห์ก๊าซซึ่งอาจมีแกนแข็งขนาดเล็กอยู่ที่ใจกลางและ มีขนาดใหญ่มากเมื่อเทียบกับโลกได้แก่ ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน

ดาวพลูโตดวงโดดเดี่ยว
ดาวพลูโตเป็นดาวเคราะห์ที่มีลักษณะพิเศษประกอบด้วยหินและน้ำแข็งจึงมีลักษณะคล้ายโลก แต่วงโคจรไกลเลยจากวงโคจรของดาวเนปจูนออกไป มนุษย์ยังมีความรรู้เรื่องดาวพลูโตน้อยมาก เนื่องจากวงโคจรของดาวพลูโตเอียงออกจากระนาบของ สุริยวิถีมากจึงมีบางช่วงนานราว 20 ปี ที่ดาวพลูโตโคจรอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าดาวเนปจูน บรรยากาศอาจเกิดจากมีเทนแข็งระเหิด ขณะเมื่อพลูโตเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ แต่เมื่ออยู่ไกลจากดวงอาทิตย์ตามปกติ ดาวพลูโตอาจเย็นจัดเป็นก้อนน้ำแข็งและไม่มีบรรยากาศก็เป็นได้


สัญลักษณ์ของดวงอาทิตย์   -------------->>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>            

ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ชั้น G2  เป็นเพียงสมาชิกหนึ่งในบรรดาดาวฤกษ์หนึ่งแสนล้านดวง ในกาแล๊กซี่ทางช้างเผือก

เส้นผ่านศูนย์กลาง: 1,390,000 ก.ม.
มวล: 1.989 x 1030 ก.ก.
อุณหภูมิ: 5800 เคลวิน (พื้นผิว) 15,600,000 K (แกน)

ดวงอาทิตย์ เป็นเทหวัตถุ ที่ใหญ่ที่สุด ในระบบสุริยะ คิดเป็นมวลมากกว่า 99.8% ของมวลทั้งระบบ (ที่เหลือเกือบทั้งหมดเป็น
ดาวพฤหัสบด )

ด วงอาทิตย์ มีชื่อเรียกหลายชื่อในเทพนิยาย: กรีกเรียกว่า เฮลิออส โรมันเรียกว่า ซอล

ในปัจจุบันดวงอาทิตย์ประกอบด้วย ไฮโดรเจน 75% และ ฮีเลียม 25% นับโดยมวล (ไฮโดรเจน 92.1% และฮีเลียม 7.8% นับโดยจำนวนอะตอม) ที่เหลือจำนวน 0.1% เป็น "โลหะ"  X ส่วนเหล่านี้เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ โดยดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจนในแกนของมันให้กลายเป็นฮีเลียม

ชั้นนอกของดวงอาทิตย์มีการเคลื่อนที่แบบ differential rotation กล่าวคือ ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตร หมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบใช้เวลา 25.4 วัน แต่บริเวณขั้ว หมุนหนึ่งรอบใช้เวลาถึง 36 วัน พฤติกรรมเช่นนี้แสดงว่าดวงอาทิตย์มิได้เป็นของแข็ง (solid body) เฉกเข่นโลก แต่คล้ายกับ ดาวเคราะห์แก๊ส ลักษณะการหมุนเช่นนี้เกิดขึ้นในแนวลึกลงไปด้วย ยกเว้นตรงแกนของดวงอาทิตย์ หมุนรอบตัวในลักษณะแบบของแข็ง

แกนของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิสูงถึง 15.6 ล้านเคลวิน และมีความกดดัน 250 พันล้าน หน่วยบรรยากาศ แก๊สที่แกนกลางถูกอัดตัวให้มีความหนาแน่นมากกว่าน้ำถึง 150 เท่า

พลังงานของดวงอาทิตย์  ผลิตโดยปฏิกริยา นิวเคลียร์ฟิวชั่น ทุก ๆ หนึ่งวินาที ดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจน 700,000,000 ตัน ให้กลายเป็นฮีเลียม 695,000,000 ตัน และพลังงานในรูปของรังสีแกมม่าอีกจำนวน 5,000,000 ตัน พุ่งตรงมายังพื้นผิว จากนั้นพลังงานถูกดูดกลืนเข้าไปและเปล่งออกอีก ทำให้อุณหภูมิลดต่ำลงเมื่อถึงพื้นผิว กลายเป็นแสงที่เรามองเห็นได้; ณ ข่วง 20% สุดท้ายก่อนที่จะถึงพื้นผิว พลังงานส่วนใหญ่ม้วนตัวกลับ ( convection ) มากกว่าที่จะแผ่รังสีออก

 พื้นผิวของดวงอาทิตย์เรียกว่า ชั้นโฟโตสเฟียร์ มีอุณหภมิประมาณ 5,800 เคลวิน; จุดบนดวงอาทิตย์ (Sunspots) เป็นย่านที่อุณหภูมิต่ำเพียง 3,800 เคลวิน (มันดูมืดเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณรอบ ๆ) จุดบนดวงอาทิตย์อาจมีขนาดใหญ่ถึง 50,000 ก.ม. มันเกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สลับซับซ้อน และยังไม่เข้าใจดีนัก ว่าเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์อย่างไร

เหนือขึ้นมาจากชั้นโฟโตสเฟียร์ มีชั้นเล็ก ๆ เรียกว่า โครโมสเฟียร์

 ชั้นที่อยู่เหนือโครโมสเฟียร์ เราเรียกว่า โคโรน่า มันแผ่ออกไปในอวกาศหลายล้านกิโลเมตร แต่จะมองเห็นได้เฉพาะเวลาที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงเท่านั้น โคโคน่ามีอุณหภูมิสูงมากกว่า 1,000,000 เคลวิน

ส นามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์มีความเข้มและซับซ้อนมาก เขต แมกเนโตสเฟียร์ (ซึ่งบางทีเรียกว่า เฮลิโอสเฟียร์) แผ่ขยายออกไปไกลกว่า ดาวพลูโต

 นอกเหนือจากความร้อนและแสง ดวงอาทิตย์แพร่อนุภาคความหนาแน่นต่ำ (ส่วนมากเป็นอิเล็กตรอนและโปรตอน) ซึ่งรู้จักกันในนามของลมสุริยะ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 450 ก.ม./วินาที ลมสุริยะและอนุภาคซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า ถูกพ่นออกโดย solar flares สามารถรบกวนสายไฟฟ้าแรงสูง คลื่นวิทยุะ และทำให้เกิดปรากฏการณ์แสงเหนือแสงใต้ที่งดงาม

 ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณ 4.5 ล้านปี นับตั้งแต่กำเนิดมามันได้เผาผลาญไฮโดรเจนในแกนของมันไปประมาณครึ่งหนึ่ง มันยังคงแผ่รังสีอย่างสงบต่อไปอีกประมาณ 5 ล้านปี (ความสว่างจะมากขึ้นเป็นสองเท่าเมื่อถึงเวลานั้น) และเมื่อไฮโดรเจนหมดลง ขนาดของมันจะใหญ่ขึ้นจนกลืนโลกเข้าไป 

ดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์น้อยเป็นเทห์วัตถุ บนท้องฟ้า อีกชนิดหนึ่ง และเป็นบริวาร ที่โคจรรอบ ดวงอาทิตย์คล้ายๆ ดาวเคราะห์ แต่มักมีขนาดเล็ก โดยส่วนใหญ่ จะโคจรอยู่ในบริเวณ ระหว่าง ดาวอังคาร และดาวพฤหัส ข้อมูลปัจจุบัน ประมาณว่า มีดาวเคราะห์น้อย อยู่ประมาณ 30,000 ดวง ถึง 50,000 ดวง แต่มีเพียงไม่กี่ดวง ที่สามารถใช้ กล้องโทรทัศน์ขนาดเล็ก ส่องดูได้ ดาวเคราะห์น้อย บางดวงมีวงโคจร เปลี่ยนไป เปลี่ยนมา เมื่อโคจรผ่านดาวเคราะห์ ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัส จะถูกแรงดึงดูด รบกวนจน ทำให้วงโคจร ของดาวเคราะห์น้อย แปรเปลี่ยนไป ซึ่งบางดวง อาจโคจร เข้ามาใกล้โลกของเรา และอาจจะเกิด อันตรายต่อโลก ของเราได้ แต่มีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยมาก แต่ก็มีการนำเรื่อง ดังกล่าว ไปสร้าง เป็นภาพยนตร์ ที่หลายคน อาจจะได้ดูเมื่อ เร็วๆนี้ คือเรื่อง "Armageddon" ที่ทำเงิน จากการฉายทั่วโลกได้มากมาย   อืมเรื่องนี้ไม่มีรูปประกอบนะหาไม่ได้อ่ะ

ดาวหาง

ดาวหางเป็นเทหวัตถุมีมวลน้อยมาก หมุนอยู่รอบดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกับสมาชิกอื่นๆในระบบสุริยจักรวาลของเรา รูปร่างและความสว่างของดาวหางแต่ละดวงมีความแตกต่างกันออกไปตามระยะทางที่มันอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์ ดาวหางดวงที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นระยะทางไกลๆจะมีความสว่างน้อยมาก มองเห็นคล้ายๆว่าเป็นดวงดาวดวงหนึ่งเท่านั้น ส่วนประกอบสำคัญของดาวหางคือเทหวัตถุขนาดเล็กๆอยู่ในบริเวณตอนหัวของมันเรียกว่า นิวเคลียส

ปรากฏการณ์ของดาวหาง

ในอดีตมนุษย์มักจะมีความหวาดกลัวปรากฏการณ์ของดาวหางทั้งนี้เพราะมองเห็นว่าดาวหางปรากฏตัวขึ้นมาอย่าง กะทันหัน และมีแสงสุกใสมีเส้นทางโคจรลึกลับและบางครั้งดาวหางก็เปลี่ยนแปลงรูปร่างของมันไปอย่างรวดเร็ว

การโคจรของดาวหาง

วงโคจรของมันจะมีรูปทรงกรวยโดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลาง ชนิดของรูปทรงกรวยขึ้นอยู่กับลักษณะ การโคจรไม่เป็นวงกลมของมันคือ 2 และขึ้นอยู่กับความเร็วของดาวหางที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ใกล้ที่สุดคือระยะทาง เส้นทางโคจรของดาวหางมีความซับซ้อนมากกว่าที่กล่าวมาแล้วเพราะว่าดาวหางจะถูกรบกวนขณะเดินทางจากแรงดึงดูด ของดาวเคราะห์ ซึ่งบางครั้งมีผลกระทบต่อเส้นทางโคจรของมันเพียงเล็กน้อย แต่บางครั้งก็จะมีผลกระทบต่อเส้นทางเดินของดาวหาง ดวงนั้นเป็นอย่างมาก ดาวหางยิ่งเดินทางผ่านดาวเคราะห์มากเท่าใด ดาวหางดวงนั้นย่อมได้รัยอิทธิพลจากแรงดึงดูดของดาวเคราะห์ ดวงนั้นมากเท่านั้น ยิ่งดาวพฤหัสบดีซึ่งมีมวลมากส่งผลกระทบต่อวงโคจรของดาวหางมาก

The FireBall-The Meteor

                              อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

                              สะเก็ดดาวหรือดาวตก มองเห็นวิ่งผ่านชั้นบรรยากาศของโลกเป็นแสงสว่างแล้วก็หายไป สะเก็ดดาวตกอาจเป็นวัตถุแข็งๆ มีขนาดไม่โตกว่าเม็ดทรายหรืออาจมีขนาดเท่าๆกับเม็ดถั่วลิสงเท่านั้น แสงสว่างเกิดขึ้นมาเพราะการเสียดสีระหว่างอะตอมของสะเก็ดดาวตก กับโมเลกุลของอากาศของโลก สะเก็ดดาวตกเช่นนั้นมองเห็นมีแสงสว่างสะเก็ดดาวตกเช่นนั้นจะหายไปใน บรรยากาศของโลกในระดับความสูงประมาณ 60 ไมล์(95 กิโลเมตร) เทห์แข็งๆของสะเก็ดดาวบางครั้งมีมวลเพียงไม่กี่ออนซ์ จนถึงมีนำหนักหลายตันอาจหล่นมาถึงผิวโลกเรียกว่า อุกกาบาต สะเก็ดดาวบางครั้งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงไม่กี่ไมครอน วิ่งผ่านบรรยากาศและหล่นมาถึงผิวโลก เหลือเป็นอนุภาคเล็กๆ เมื่อโคจรผ่านสะเก็ดดาว ซึ่งเคลื่อนไหว ในวงโคจรรอบๆดวงอาทิตย์ จะมีจำนวนดาวตก จำนวนมากวิ่งผ่านเข้ามาในบรรยากาศของโลกชั่วโมง หนึ่งหลายสิบครั้ง บางครั้งกลุ่มสะเก็ดดาวปรากฏตัวอยู่บนท้องฟ้า เป็นแผ่นหนาเหมือนหิมะกลุ่มละอองสะเก็ดดาวในวงโคจรบางครั้งมีลักษณะเหมือนกลุ่มละออง สะเก็ดดาวในดาวหาง เรื่องนี้เป็นหลักฐานแสดง ให้เห็นว่าดาวหางและกลุ่มสะเก็ดดาวมีความเกี่ยวพันกันนักดาราศาสตร์มีความเห็นว่าสสาร ของสะเก็ดดาว คือส่วนที่หลงเหลือจากการสลายตัวของดาวหางบางดวง

               ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอุกกาบาต เช่น
ฝนอุกกาบาต(meteor showers) คือขณะที่โลกโคจรไปพบอุกกาบาตที่มาด้วยกันเป็นกลุ่มใหญ่อุกกาบาตนี้จะตกลงมาในเวลาอันรวดเร็ว                                                         เป็นจำนวนมาก
กลุ่มอุกกาบาต(meteor warm)   คืออุกกาบาตซึ่งโคจรเป็นกลุ่มมีวงโคจรเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์ไม่หนาแน่น ประมาณ 14 ชิ้น/2ล้านลูกบาศก์ไมล์
ธารอุกกาบาต(meteor steam)   คือกลุ่มอุกกาบาตที่แผ่กระจายออกมาตามความโค้งวงทางโคจรทำให้ดูเหมือนว่าอุกกาบาตนั้นเคลื่อนที่ในอวกาศ                                                        เป็นสายธาร

The Nebula

                            คำว่า"เนบิวลา"นักดาราศาสตร์ใช้เรียกสิ่งที่ปรากฏเป็นเมฆหมอกฝ้าอยู่คงที่ในท่ามกลางดวงดาว บนท้องฟ้า อาจจะปรากฏเป็นแสงสว่างเรือง หรือ มืดสนิทก็ได้ เรามองเห็นเนบิวลาได้ยาก เพราะแม้ชนิดที่สว่างก็มีแสงจาง แผ่กรจายไม่รวมกันเข้มเป็นจุดสว่างดังเช่นดาวฤกษ์ เราจึงสามารถเห็นเนบิวลาบนท้องฟ้าด้วยตาเปล่าได้เพียง 4 แห่ง ในขณะที่สามารถเห็นดาวฤกษ์ด้วยตาเปล่าถึงราว 5,000 ดวง ความจริงเนบิวลามีอยู๋เป็นปริมาณมากมายไม่น้อย การที่เราจะตรวจพบหรือไม่ขึ้นอยู่กับความไวของอุปกรณ์ที่ใช้สำรวจ เนบิวลาที่อยู๋ในระบบทางช้างเผือกของเรา เรียกว่า กาแลคติคเนบิวลา Galaxtic Nebula ซึ่งเป็นกลุ่มก๊าซที่มีความสัมพันธ์ทางใดทางหนึ่งกับดาวฤกษ์ หรือกลุ่มดาวในกาแลกซี ซึ่งดวงอาทิตย์ของเราเป็นสมาชิกหน่วยหนึ่ง ตัวอย่างของ Galaxtic Nebulaชนิดแผ่กระจายได้แก่ กลุ่มที่อยู๋ในหมู่ดาว ออไรน นับเป็นกลุ่มก๊าซและฝุ่นซึ่งใหญ่โตกลุ่มหนึ่งในกาแลกซี กินอาณาเขตกว้างขวางในอวกาศ แผ่คลุมดาวฤกษ์อยู่ภายในองค์ประกอบสำคัญ คือ Hydrogen Helium มากที่สุด และนอกนั้นก็มี Oxygen และ Nitrogen เป็นต้น เนบิวลานี้เรืองเสงเพราะถูกกระตุ้นด้วยUVจากดาวฤกษืซึ่งอยู่ภายใน และบางส่วนของก๊าซและฝุ่นที่อยู่เบื้องหลังไกลออกไป จึงปรากฏเป็นเนบิวลามืด กาแลคติคเนบิวลาชนิดเป็นดวง นั้นเป็นกลุ่มก๊าซรูปทรงกลมซึ่งแผ่กระจายออกมาจากการระเบิดของดาวฤกษ์ และปรากฏให้เห็นหลายดวงบนท้องฟ้า เช่นที่เรียกกันว่า เนบิวลาวงแหวน เนบิวลาปู เนบิวลานกฮูก เป็นต้น ตามความคล้ายคลึงกับรูปสิ่งของ สัตว์ที่มนุษย์คุ้นเคยกันทั่วไป

                    เนบิวลานอกกาแลกซี หรือ สไปราลเนบิวลา นั้นเป็นวัตถุจำพวกที่อยู๋ห่างไกลออกไปนอกกาแลกซีของเรา เป็นต้นว่า เมฆแมคเยลแลน ซึ่งเห็นได้ด้วยตาเปล่าบนท้องฟ้าของซีกโลกภาคใต้ อยู่ห่างไป 150,000 ปีแสง หรืออาจจะมากกว่านั้นก็เป็นได้เช่น สไปราลเนบิวลา ที่อยู่ในทิศทางของหมู่ดาวอันโดรเมดาซึ่งอยู่ห่างออกไปถึง 2,200,000 ปีแสง ข้างล่างจะเป็นลักษณะของเนบิวลานะ

: 10 มิถุนายน 2540 เวลา 0.33 น. กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสสิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล Losmandy G-11 เนบิวลาอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ตำแหน่ง R.A. 18h 02m Dec -23o02' อันดับความสว่าง 8.5 ฟิล์ม Kodak Multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 45 นาที

: 4 มิถุนายน 2540 เวลา 2.03 น.
ใช้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสซิเกรน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที ฟิล์ม Kodak Multispeed ตำแหน่ง 18h20m, -16o11'
อันดับความสว่าง 7.6 อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู (Ophiuchus)

: 15 มีนาคม 2540 เวลา 3.00 น.
กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง แบบชมิดท์แคสซิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
อันดับความสว่าง 5.8 อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู (Sagittarius)
ฟิล์ม Kodak multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที


สัญลักษณ์ของดวงอาทิตย์   -------------->>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>            

ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ชั้น G2  เป็นเพียงสมาชิกหนึ่งในบรรดาดาวฤกษ์หนึ่งแสนล้านดวง ในกาแล๊กซี่ทางช้างเผือก

เส้นผ่านศูนย์กลาง: 1,390,000 ก.ม.
มวล: 1.989 x 1030 ก.ก.
อุณหภูมิ: 5800 เคลวิน (พื้นผิว) 15,600,000 K (แกน)

ดวงอาทิตย์ เป็นเทหวัตถุ ที่ใหญ่ที่สุด ในระบบสุริยะ คิดเป็นมวลมากกว่า 99.8% ของมวลทั้งระบบ (ที่เหลือเกือบทั้งหมดเป็น
ดาวพฤหัสบด )

ด วงอาทิตย์ มีชื่อเรียกหลายชื่อในเทพนิยาย: กรีกเรียกว่า เฮลิออส โรมันเรียกว่า ซอล

ในปัจจุบันดวงอาทิตย์ประกอบด้วย ไฮโดรเจน 75% และ ฮีเลียม 25% นับโดยมวล (ไฮโดรเจน 92.1% และฮีเลียม 7.8% นับโดยจำนวนอะตอม) ที่เหลือจำนวน 0.1% เป็น "โลหะ"  X ส่วนเหล่านี้เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ โดยดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจนในแกนของมันให้กลายเป็นฮีเลียม

ชั้นนอกของดวงอาทิตย์มีการเคลื่อนที่แบบ differential rotation กล่าวคือ ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตร หมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบใช้เวลา 25.4 วัน แต่บริเวณขั้ว หมุนหนึ่งรอบใช้เวลาถึง 36 วัน พฤติกรรมเช่นนี้แสดงว่าดวงอาทิตย์มิได้เป็นของแข็ง (solid body) เฉกเข่นโลก แต่คล้ายกับ ดาวเคราะห์แก๊ส ลักษณะการหมุนเช่นนี้เกิดขึ้นในแนวลึกลงไปด้วย ยกเว้นตรงแกนของดวงอาทิตย์ หมุนรอบตัวในลักษณะแบบของแข็ง

แกนของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิสูงถึง 15.6 ล้านเคลวิน และมีความกดดัน 250 พันล้าน หน่วยบรรยากาศ แก๊สที่แกนกลางถูกอัดตัวให้มีความหนาแน่นมากกว่าน้ำถึง 150 เท่า

พลังงานของดวงอาทิตย์  ผลิตโดยปฏิกริยา นิวเคลียร์ฟิวชั่น ทุก ๆ หนึ่งวินาที ดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจน 700,000,000 ตัน ให้กลายเป็นฮีเลียม 695,000,000 ตัน และพลังงานในรูปของรังสีแกมม่าอีกจำนวน 5,000,000 ตัน พุ่งตรงมายังพื้นผิว จากนั้นพลังงานถูกดูดกลืนเข้าไปและเปล่งออกอีก ทำให้อุณหภูมิลดต่ำลงเมื่อถึงพื้นผิว กลายเป็นแสงที่เรามองเห็นได้; ณ ข่วง 20% สุดท้ายก่อนที่จะถึงพื้นผิว พลังงานส่วนใหญ่ม้วนตัวกลับ ( convection ) มากกว่าที่จะแผ่รังสีออก

 พื้นผิวของดวงอาทิตย์เรียกว่า ชั้นโฟโตสเฟียร์ มีอุณหภมิประมาณ 5,800 เคลวิน; จุดบนดวงอาทิตย์ (Sunspots) เป็นย่านที่อุณหภูมิต่ำเพียง 3,800 เคลวิน (มันดูมืดเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณรอบ ๆ) จุดบนดวงอาทิตย์อาจมีขนาดใหญ่ถึง 50,000 ก.ม. มันเกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สลับซับซ้อน และยังไม่เข้าใจดีนัก ว่าเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์อย่างไร

เหนือขึ้นมาจากชั้นโฟโตสเฟียร์ มีชั้นเล็ก ๆ เรียกว่า โครโมสเฟียร์

 ชั้นที่อยู่เหนือโครโมสเฟียร์ เราเรียกว่า โคโรน่า มันแผ่ออกไปในอวกาศหลายล้านกิโลเมตร แต่จะมองเห็นได้เฉพาะเวลาที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงเท่านั้น โคโคน่ามีอุณหภูมิสูงมากกว่า 1,000,000 เคลวิน

ส นามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์มีความเข้มและซับซ้อนมาก เขต แมกเนโตสเฟียร์ (ซึ่งบางทีเรียกว่า เฮลิโอสเฟียร์) แผ่ขยายออกไปไกลกว่า ดาวพลูโต

 นอกเหนือจากความร้อนและแสง ดวงอาทิตย์แพร่อนุภาคความหนาแน่นต่ำ (ส่วนมากเป็นอิเล็กตรอนและโปรตอน) ซึ่งรู้จักกันในนามของลมสุริยะ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 450 ก.ม./วินาที ลมสุริยะและอนุภาคซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า ถูกพ่นออกโดย solar flares สามารถรบกวนสายไฟฟ้าแรงสูง คลื่นวิทยุะ และทำให้เกิดปรากฏการณ์แสงเหนือแสงใต้ที่งดงาม

 ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณ 4.5 ล้านปี นับตั้งแต่กำเนิดมามันได้เผาผลาญไฮโดรเจนในแกนของมันไปประมาณครึ่งหนึ่ง มันยังคงแผ่รังสีอย่างสงบต่อไปอีกประมาณ 5 ล้านปี (ความสว่างจะมากขึ้นเป็นสองเท่าเมื่อถึงเวลานั้น) และเมื่อไฮโดรเจนหมดลง ขนาดของมันจะใหญ่ขึ้นจนกลืนโลกเข้าไป 

ดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์น้อยเป็นเทห์วัตถุ บนท้องฟ้า อีกชนิดหนึ่ง และเป็นบริวาร ที่โคจรรอบ ดวงอาทิตย์คล้ายๆ ดาวเคราะห์ แต่มักมีขนาดเล็ก โดยส่วนใหญ่ จะโคจรอยู่ในบริเวณ ระหว่าง ดาวอังคาร และดาวพฤหัส ข้อมูลปัจจุบัน ประมาณว่า มีดาวเคราะห์น้อย อยู่ประมาณ 30,000 ดวง ถึง 50,000 ดวง แต่มีเพียงไม่กี่ดวง ที่สามารถใช้ กล้องโทรทัศน์ขนาดเล็ก ส่องดูได้ ดาวเคราะห์น้อย บางดวงมีวงโคจร เปลี่ยนไป เปลี่ยนมา เมื่อโคจรผ่านดาวเคราะห์ ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัส จะถูกแรงดึงดูด รบกวนจน ทำให้วงโคจร ของดาวเคราะห์น้อย แปรเปลี่ยนไป ซึ่งบางดวง อาจโคจร เข้ามาใกล้โลกของเรา และอาจจะเกิด อันตรายต่อโลก ของเราได้ แต่มีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยมาก แต่ก็มีการนำเรื่อง ดังกล่าว ไปสร้าง เป็นภาพยนตร์ ที่หลายคน อาจจะได้ดูเมื่อ เร็วๆนี้ คือเรื่อง "Armageddon" ที่ทำเงิน จากการฉายทั่วโลกได้มากมาย   อืมเรื่องนี้ไม่มีรูปประกอบนะหาไม่ได้อ่ะ

ดาวหาง

ดาวหางเป็นเทหวัตถุมีมวลน้อยมาก หมุนอยู่รอบดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกับสมาชิกอื่นๆในระบบสุริยจักรวาลของเรา รูปร่างและความสว่างของดาวหางแต่ละดวงมีความแตกต่างกันออกไปตามระยะทางที่มันอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์ ดาวหางดวงที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นระยะทางไกลๆจะมีความสว่างน้อยมาก มองเห็นคล้ายๆว่าเป็นดวงดาวดวงหนึ่งเท่านั้น ส่วนประกอบสำคัญของดาวหางคือเทหวัตถุขนาดเล็กๆอยู่ในบริเวณตอนหัวของมันเรียกว่า นิวเคลียส

ปรากฏการณ์ของดาวหาง

ในอดีตมนุษย์มักจะมีความหวาดกลัวปรากฏการณ์ของดาวหางทั้งนี้เพราะมองเห็นว่าดาวหางปรากฏตัวขึ้นมาอย่าง กะทันหัน และมีแสงสุกใสมีเส้นทางโคจรลึกลับและบางครั้งดาวหางก็เปลี่ยนแปลงรูปร่างของมันไปอย่างรวดเร็ว

การโคจรของดาวหาง

วงโคจรของมันจะมีรูปทรงกรวยโดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลาง ชนิดของรูปทรงกรวยขึ้นอยู่กับลักษณะ การโคจรไม่เป็นวงกลมของมันคือ 2 และขึ้นอยู่กับความเร็วของดาวหางที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ใกล้ที่สุดคือระยะทาง เส้นทางโคจรของดาวหางมีความซับซ้อนมากกว่าที่กล่าวมาแล้วเพราะว่าดาวหางจะถูกรบกวนขณะเดินทางจากแรงดึงดูด ของดาวเคราะห์ ซึ่งบางครั้งมีผลกระทบต่อเส้นทางโคจรของมันเพียงเล็กน้อย แต่บางครั้งก็จะมีผลกระทบต่อเส้นทางเดินของดาวหาง ดวงนั้นเป็นอย่างมาก ดาวหางยิ่งเดินทางผ่านดาวเคราะห์มากเท่าใด ดาวหางดวงนั้นย่อมได้รัยอิทธิพลจากแรงดึงดูดของดาวเคราะห์ ดวงนั้นมากเท่านั้น ยิ่งดาวพฤหัสบดีซึ่งมีมวลมากส่งผลกระทบต่อวงโคจรของดาวหางมาก

The FireBall-The Meteor

                              อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

                              สะเก็ดดาวหรือดาวตก มองเห็นวิ่งผ่านชั้นบรรยากาศของโลกเป็นแสงสว่างแล้วก็หายไป สะเก็ดดาวตกอาจเป็นวัตถุแข็งๆ มีขนาดไม่โตกว่าเม็ดทรายหรืออาจมีขนาดเท่าๆกับเม็ดถั่วลิสงเท่านั้น แสงสว่างเกิดขึ้นมาเพราะการเสียดสีระหว่างอะตอมของสะเก็ดดาวตก กับโมเลกุลของอากาศของโลก สะเก็ดดาวตกเช่นนั้นมองเห็นมีแสงสว่างสะเก็ดดาวตกเช่นนั้นจะหายไปใน บรรยากาศของโลกในระดับความสูงประมาณ 60 ไมล์(95 กิโลเมตร) เทห์แข็งๆของสะเก็ดดาวบางครั้งมีมวลเพียงไม่กี่ออนซ์ จนถึงมีนำหนักหลายตันอาจหล่นมาถึงผิวโลกเรียกว่า อุกกาบาต สะเก็ดดาวบางครั้งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงไม่กี่ไมครอน วิ่งผ่านบรรยากาศและหล่นมาถึงผิวโลก เหลือเป็นอนุภาคเล็กๆ เมื่อโคจรผ่านสะเก็ดดาว ซึ่งเคลื่อนไหว ในวงโคจรรอบๆดวงอาทิตย์ จะมีจำนวนดาวตก จำนวนมากวิ่งผ่านเข้ามาในบรรยากาศของโลกชั่วโมง หนึ่งหลายสิบครั้ง บางครั้งกลุ่มสะเก็ดดาวปรากฏตัวอยู่บนท้องฟ้า เป็นแผ่นหนาเหมือนหิมะกลุ่มละอองสะเก็ดดาวในวงโคจรบางครั้งมีลักษณะเหมือนกลุ่มละออง สะเก็ดดาวในดาวหาง เรื่องนี้เป็นหลักฐานแสดง ให้เห็นว่าดาวหางและกลุ่มสะเก็ดดาวมีความเกี่ยวพันกันนักดาราศาสตร์มีความเห็นว่าสสาร ของสะเก็ดดาว คือส่วนที่หลงเหลือจากการสลายตัวของดาวหางบางดวง

               ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอุกกาบาต เช่น
ฝนอุกกาบาต(meteor showers) คือขณะที่โลกโคจรไปพบอุกกาบาตที่มาด้วยกันเป็นกลุ่มใหญ่อุกกาบาตนี้จะตกลงมาในเวลาอันรวดเร็ว                                                         เป็นจำนวนมาก
กลุ่มอุกกาบาต(meteor warm)   คืออุกกาบาตซึ่งโคจรเป็นกลุ่มมีวงโคจรเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์ไม่หนาแน่น ประมาณ 14 ชิ้น/2ล้านลูกบาศก์ไมล์
ธารอุกกาบาต(meteor steam)   คือกลุ่มอุกกาบาตที่แผ่กระจายออกมาตามความโค้งวงทางโคจรทำให้ดูเหมือนว่าอุกกาบาตนั้นเคลื่อนที่ในอวกาศ                                                        เป็นสายธาร

The Nebula

                            คำว่า"เนบิวลา"นักดาราศาสตร์ใช้เรียกสิ่งที่ปรากฏเป็นเมฆหมอกฝ้าอยู่คงที่ในท่ามกลางดวงดาว บนท้องฟ้า อาจจะปรากฏเป็นแสงสว่างเรือง หรือ มืดสนิทก็ได้ เรามองเห็นเนบิวลาได้ยาก เพราะแม้ชนิดที่สว่างก็มีแสงจาง แผ่กรจายไม่รวมกันเข้มเป็นจุดสว่างดังเช่นดาวฤกษ์ เราจึงสามารถเห็นเนบิวลาบนท้องฟ้าด้วยตาเปล่าได้เพียง 4 แห่ง ในขณะที่สามารถเห็นดาวฤกษ์ด้วยตาเปล่าถึงราว 5,000 ดวง ความจริงเนบิวลามีอยู๋เป็นปริมาณมากมายไม่น้อย การที่เราจะตรวจพบหรือไม่ขึ้นอยู่กับความไวของอุปกรณ์ที่ใช้สำรวจ เนบิวลาที่อยู๋ในระบบทางช้างเผือกของเรา เรียกว่า กาแลคติคเนบิวลา Galaxtic Nebula ซึ่งเป็นกลุ่มก๊าซที่มีความสัมพันธ์ทางใดทางหนึ่งกับดาวฤกษ์ หรือกลุ่มดาวในกาแลกซี ซึ่งดวงอาทิตย์ของเราเป็นสมาชิกหน่วยหนึ่ง ตัวอย่างของ Galaxtic Nebulaชนิดแผ่กระจายได้แก่ กลุ่มที่อยู๋ในหมู่ดาว ออไรน นับเป็นกลุ่มก๊าซและฝุ่นซึ่งใหญ่โตกลุ่มหนึ่งในกาแลกซี กินอาณาเขตกว้างขวางในอวกาศ แผ่คลุมดาวฤกษ์อยู่ภายในองค์ประกอบสำคัญ คือ Hydrogen Helium มากที่สุด และนอกนั้นก็มี Oxygen และ Nitrogen เป็นต้น เนบิวลานี้เรืองเสงเพราะถูกกระตุ้นด้วยUVจากดาวฤกษืซึ่งอยู่ภายใน และบางส่วนของก๊าซและฝุ่นที่อยู่เบื้องหลังไกลออกไป จึงปรากฏเป็นเนบิวลามืด กาแลคติคเนบิวลาชนิดเป็นดวง นั้นเป็นกลุ่มก๊าซรูปทรงกลมซึ่งแผ่กระจายออกมาจากการระเบิดของดาวฤกษ์ และปรากฏให้เห็นหลายดวงบนท้องฟ้า เช่นที่เรียกกันว่า เนบิวลาวงแหวน เนบิวลาปู เนบิวลานกฮูก เป็นต้น ตามความคล้ายคลึงกับรูปสิ่งของ สัตว์ที่มนุษย์คุ้นเคยกันทั่วไป

                    เนบิวลานอกกาแลกซี หรือ สไปราลเนบิวลา นั้นเป็นวัตถุจำพวกที่อยู๋ห่างไกลออกไปนอกกาแลกซีของเรา เป็นต้นว่า เมฆแมคเยลแลน ซึ่งเห็นได้ด้วยตาเปล่าบนท้องฟ้าของซีกโลกภาคใต้ อยู่ห่างไป 150,000 ปีแสง หรืออาจจะมากกว่านั้นก็เป็นได้เช่น สไปราลเนบิวลา ที่อยู่ในทิศทางของหมู่ดาวอันโดรเมดาซึ่งอยู่ห่างออกไปถึง 2,200,000 ปีแสง ข้างล่างจะเป็นลักษณะของเนบิวลานะ

: 10 มิถุนายน 2540 เวลา 0.33 น. กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสสิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล Losmandy G-11 เนบิวลาอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ตำแหน่ง R.A. 18h 02m Dec -23o02' อันดับความสว่าง 8.5 ฟิล์ม Kodak Multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 45 นาที

: 4 มิถุนายน 2540 เวลา 2.03 น.
ใช้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสซิเกรน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที ฟิล์ม Kodak Multispeed ตำแหน่ง 18h20m, -16o11'
อันดับความสว่าง 7.6 อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู (Ophiuchus)

: 15 มีนาคม 2540 เวลา 3.00 น.
กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง แบบชมิดท์แคสซิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
อันดับความสว่าง 5.8 อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู (Sagittarius)
ฟิล์ม Kodak multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที
2.ใช้ตำแหน่งดาวเคราะห ์น้อยเป็นหลัก โดยแบ่งเป็น 2 พวก คือดาวเคราะห์ที่มีวงโคจรของดาวเคราะห์น้อยเรียกว่า"ดาวเคราะห์ใน(inner planets)"ดาวเคราะห์ที่มีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่นอกวงโคจรดาวเคราะห์น้อยเรียกว่า"ดาวเคราะห์นอก(super planets)"
3.ใช้สมบัติทางฟิสิกส์ ดาวเคราะห์ใดมีสมบัติทางฟิสิกส์คล้ายกับโลกเช่น มีขนาดเล็กเรียก Terrestrid Planetsดาวเคราะห์ที่คล้ายดาวเคราะห์ขนาดใหญ่เรียกว่า Jovian Planets
 วิเคราะห์ลักษณะเด่นของดาวเคราะห์บริวารของดวงอาทิตย์
-ดาวพุธเล็กที่สุด,ดาวพฤหัสใหญ่ที่สุด
-ดาวพุธ,ดาวศุกร์ 2 ดวงนี้รูปร่างเกือบเป็นวงกลมเหมือนดวงจันทร์และดวงอาทิตย์
-ดางศุกร์,ดาวเนปจูนมีวงทางโคจรรอบดวงอาทิตย์เกือบเป็นวงกลม
-โลกเป็นดาวที่มีมนุษย์อาศัยอยู่


                                      


มวลของสมาชิกในระบบสุริยะ
ดวงอาทิตย์ 99.85 %
เหล่าดาวเคราะห์ 0.135 %
เหล่าดาวหาง 0.01 %
บริวารของดาวเคราะห์ 0.00005 %
ดาวเคราะห์น้อย 0.0000002 %
อุกกาบาต 0.0000001 %

องค์ประกอบของระบบสุริยะ
ระบบสุริยะประกอบด้วยดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางและเหล่าสมาชิกโคจรโดยรอบ คือ ดาวเคราะห์ 9 ดวง บริวารของดาวเคราะห์ ดาวหาง ดาวเคราะห์น้อยและอุกกาบาต เมื่อเปรียบเทียบมวลของสมาชิกในระบบสุริยะ ดวงอาทิตย์มีมวลมากที่สุดถึง 99.85% ขณะที่ดาวเคราะห์ทุกดวงรวมกันมีมวลเพียง 0.01355 % ซึ่งดาวพฤหัสบดีมีมวลสูงเป็น 2.5 เท่าของมวลดาวเคราะห์อื่น ๆ ทุกดวงรวมกัน
ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งกำเนิดพลังงานที่ใหญ่ที่สุดแผ่พลังงานออกไปในระบบสุริยะโดยรอบในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

ขนาดของระบบสุริยจักรวาล
การวัดระยะทางภายในระบบสุริยจักรวาลใช้ระบบการวัดหลายระบบด้วยกัน ส่วนใหญ่จะใช้หน่วยวัดเป็นไมล์ ระยะทาง จากดวงอาทิตย์ไปยังดาวเคราะห์ที่ไกลที่สุดที่ค้นพบว่ามีอยู่ปัจจุบัน คือ ดาวเคราะห์พลูโต มีระยะทาง 39.4 หน่วยดาราศาสตร์ในขณะดวงดาว(ดาวฤกษ์)ที่อยู่ ใกล้เรามากที่สุดห่างออกไป 1.33 พาร์เซค (4.35 ปีแสง) วงโคจรของดาวหาง ซึ่งเป็นวงยาวรืมากจะเป็นวงจรอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ไกลออกไปหลายร้อยหรือหลายพัน หน่วยดาราศาสตร์ แต่บริเวณเลยดาวเคราะห์พลูโตออกไป เป็นบริเวณกว้างใหญ่ไพศาลของอวกาศที่มีแต่ความว่างเปล่า ดังนั้นสมาชิกของระบบสุริยจักรวาล จึงห้อมล้อม ด้วยอวกาศและเมื่อเปรียบขนาดของสุริยจักรวาลกับขนาดของกาแลคซี่ทางช้างเผือกซึ่งสุริยจักรวาลของเราเป็นสมาชิกอยู่ ระบบสุริยจักรวาลจะเป็นเพียงจุดเล็กๆจุดหนึ่ง ที่ปราศจากความสำคัญใดๆและจะกลายเป็นเรื่องยากลำบากยิ่ง ในการค้นหาระบบสุริยจักรวาลของเราให้พบเมื่อสังเกตการณ์จากดวงดาวที่อยู่ใกล้สุริยจักรวาลที่สุด ยกเว้น แต่จะมองเห็นดวงอาทิตย์ของเราเพียงดวงเดียวเท่านั้น

ตำแหน่งของระบบสุริยะในกาแล็กซีทางช้างเผือก
ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ดวงหนึ่ง อยู่ในอาณาจักแห่งดวงดาว ที่เรียกว่า กาแล็กซีทางช้างเผือก (The milky Way) หรือ กาแล็กซีของเรา ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกดาวฤกษ์มากมายประมาณ 2 แสนล้านดวง มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 แสนปีแสง ระบบสุริยะอยู่ห่างจากศูนย์กลางราว 32600 ปีแสง ดวงอาทิตย์พาเหล่าบริวารโคจรครบรอบกาแล็กซีในเวลา 225 ล้านปี
เมื่อมองจากอวกาศเหนือขั้วโลกเหนือของดวงอาทิตย์ สมาชิกในระบบสุริยะโคจรรอบดวงอาทิตย์ในทิศทาง ทวนเข็มนาฬิกาไปทางเดียวกัน
ดาวเคราะห์ทั้งหลายต่างโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่ในระนาบใกล้เคียงกัน กับระนาบที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ซึ่งเรียกว่า ระนาบสุริยวิถี (Ecliptic) มีแต่ดาวพลูโตดวงเดียวที่มีวงโคจรรีมาก และเอียงออกจากระนาบสุริยวิถีมากถึง 18 องศา

กำเนิดระบบสุริยะ
สันนิษฐานว่าระบบสุริยะมีกำเนิดมาจากกลุ่มก๊าซและฝุ่นขนาดมหึมาที่หมุนรอบศูนย์กลางเมื่อประมาณ 5000 ล้านปีก่อน มวลสารหมุนวนทำให้มีลักษณะเป็นจานแบนเมื่ออุณหภูมิรอบนอกค่อย ๆเย็นตัวลง มวลสารรวมตัวกันเกิดเป็นดาวเคราะห์และสมาชิกบริวารโคจรรอบดวงอาทิตย์ไปทางเดียวกันและอยู่ในระนาบใกล้เคียงกัน เช่นทุกวันนี้

ประเภทของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ
ดาวเคราะห์ชั้นใน (Inner Planets)
เป็นกลุ่มดาวเคราะห์ทีมีลักษณะคล้ายโลก (The Terrestrial Planet) คือมีพื้นผิวเป็นหินแข็งอย่างโลก ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคาร ขณะที่ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคารมีบรรยากาศห่อหุ้มชัดเจน แต่ดาวพุธเกือบไม่มีบรรยากาศเลย

ดาวเคราะห์ชั้นนอก (Outer Planets)
เป็นกลุ่มดาวเคราะห์ที่มีลักษณะคล้ายดาวพฤหัสบดี (The Jovian Planets) คือเป็นดาวเคราะห์ก๊าซซึ่งอาจมีแกนแข็งขนาดเล็กอยู่ที่ใจกลางและ มีขนาดใหญ่มากเมื่อเทียบกับโลกได้แก่ ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน

ดาวพลูโตดวงโดดเดี่ยว
ดาวพลูโตเป็นดาวเคราะห์ที่มีลักษณะพิเศษประกอบด้วยหินและน้ำแข็งจึงมีลักษณะคล้ายโลก แต่วงโคจรไกลเลยจากวงโคจรของดาวเนปจูนออกไป มนุษย์ยังมีความรรู้เรื่องดาวพลูโตน้อยมาก เนื่องจากวงโคจรของดาวพลูโตเอียงออกจากระนาบของ สุริยวิถีมากจึงมีบางช่วงนานราว 20 ปี ที่ดาวพลูโตโคจรอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าดาวเนปจูน บรรยากาศอาจเกิดจากมีเทนแข็งระเหิด ขณะเมื่อพลูโตเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ แต่เมื่ออยู่ไกลจากดวงอาทิตย์ตามปกติ ดาวพลูโตอาจเย็นจัดเป็นก้อนน้ำแข็งและไม่มีบรรยากาศก็เป็นได้


สัญลักษณ์ของดวงอาทิตย์   -------------->>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>            

ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ชั้น G2  เป็นเพียงสมาชิกหนึ่งในบรรดาดาวฤกษ์หนึ่งแสนล้านดวง ในกาแล๊กซี่ทางช้างเผือก

เส้นผ่านศูนย์กลาง: 1,390,000 ก.ม.
มวล: 1.989 x 1030 ก.ก.
อุณหภูมิ: 5800 เคลวิน (พื้นผิว) 15,600,000 K (แกน)

ดวงอาทิตย์ เป็นเทหวัตถุ ที่ใหญ่ที่สุด ในระบบสุริยะ คิดเป็นมวลมากกว่า 99.8% ของมวลทั้งระบบ (ที่เหลือเกือบทั้งหมดเป็น
ดาวพฤหัสบด )

ด วงอาทิตย์ มีชื่อเรียกหลายชื่อในเทพนิยาย: กรีกเรียกว่า เฮลิออส โรมันเรียกว่า ซอล

ในปัจจุบันดวงอาทิตย์ประกอบด้วย ไฮโดรเจน 75% และ ฮีเลียม 25% นับโดยมวล (ไฮโดรเจน 92.1% และฮีเลียม 7.8% นับโดยจำนวนอะตอม) ที่เหลือจำนวน 0.1% เป็น "โลหะ"  X ส่วนเหล่านี้เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ โดยดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจนในแกนของมันให้กลายเป็นฮีเลียม

ชั้นนอกของดวงอาทิตย์มีการเคลื่อนที่แบบ differential rotation กล่าวคือ ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตร หมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบใช้เวลา 25.4 วัน แต่บริเวณขั้ว หมุนหนึ่งรอบใช้เวลาถึง 36 วัน พฤติกรรมเช่นนี้แสดงว่าดวงอาทิตย์มิได้เป็นของแข็ง (solid body) เฉกเข่นโลก แต่คล้ายกับ ดาวเคราะห์แก๊ส ลักษณะการหมุนเช่นนี้เกิดขึ้นในแนวลึกลงไปด้วย ยกเว้นตรงแกนของดวงอาทิตย์ หมุนรอบตัวในลักษณะแบบของแข็ง

แกนของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิสูงถึง 15.6 ล้านเคลวิน และมีความกดดัน 250 พันล้าน หน่วยบรรยากาศ แก๊สที่แกนกลางถูกอัดตัวให้มีความหนาแน่นมากกว่าน้ำถึง 150 เท่า

พลังงานของดวงอาทิตย์  ผลิตโดยปฏิกริยา นิวเคลียร์ฟิวชั่น ทุก ๆ หนึ่งวินาที ดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจน 700,000,000 ตัน ให้กลายเป็นฮีเลียม 695,000,000 ตัน และพลังงานในรูปของรังสีแกมม่าอีกจำนวน 5,000,000 ตัน พุ่งตรงมายังพื้นผิว จากนั้นพลังงานถูกดูดกลืนเข้าไปและเปล่งออกอีก ทำให้อุณหภูมิลดต่ำลงเมื่อถึงพื้นผิว กลายเป็นแสงที่เรามองเห็นได้; ณ ข่วง 20% สุดท้ายก่อนที่จะถึงพื้นผิว พลังงานส่วนใหญ่ม้วนตัวกลับ ( convection ) มากกว่าที่จะแผ่รังสีออก

 พื้นผิวของดวงอาทิตย์เรียกว่า ชั้นโฟโตสเฟียร์ มีอุณหภมิประมาณ 5,800 เคลวิน; จุดบนดวงอาทิตย์ (Sunspots) เป็นย่านที่อุณหภูมิต่ำเพียง 3,800 เคลวิน (มันดูมืดเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณรอบ ๆ) จุดบนดวงอาทิตย์อาจมีขนาดใหญ่ถึง 50,000 ก.ม. มันเกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สลับซับซ้อน และยังไม่เข้าใจดีนัก ว่าเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์อย่างไร

เหนือขึ้นมาจากชั้นโฟโตสเฟียร์ มีชั้นเล็ก ๆ เรียกว่า โครโมสเฟียร์

 ชั้นที่อยู่เหนือโครโมสเฟียร์ เราเรียกว่า โคโรน่า มันแผ่ออกไปในอวกาศหลายล้านกิโลเมตร แต่จะมองเห็นได้เฉพาะเวลาที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงเท่านั้น โคโคน่ามีอุณหภูมิสูงมากกว่า 1,000,000 เคลวิน

ส นามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์มีความเข้มและซับซ้อนมาก เขต แมกเนโตสเฟียร์ (ซึ่งบางทีเรียกว่า เฮลิโอสเฟียร์) แผ่ขยายออกไปไกลกว่า ดาวพลูโต

 นอกเหนือจากความร้อนและแสง ดวงอาทิตย์แพร่อนุภาคความหนาแน่นต่ำ (ส่วนมากเป็นอิเล็กตรอนและโปรตอน) ซึ่งรู้จักกันในนามของลมสุริยะ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 450 ก.ม./วินาที ลมสุริยะและอนุภาคซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า ถูกพ่นออกโดย solar flares สามารถรบกวนสายไฟฟ้าแรงสูง คลื่นวิทยุะ และทำให้เกิดปรากฏการณ์แสงเหนือแสงใต้ที่งดงาม

 ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณ 4.5 ล้านปี นับตั้งแต่กำเนิดมามันได้เผาผลาญไฮโดรเจนในแกนของมันไปประมาณครึ่งหนึ่ง มันยังคงแผ่รังสีอย่างสงบต่อไปอีกประมาณ 5 ล้านปี (ความสว่างจะมากขึ้นเป็นสองเท่าเมื่อถึงเวลานั้น) และเมื่อไฮโดรเจนหมดลง ขนาดของมันจะใหญ่ขึ้นจนกลืนโลกเข้าไป 

ดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์น้อยเป็นเทห์วัตถุ บนท้องฟ้า อีกชนิดหนึ่ง และเป็นบริวาร ที่โคจรรอบ ดวงอาทิตย์คล้ายๆ ดาวเคราะห์ แต่มักมีขนาดเล็ก โดยส่วนใหญ่ จะโคจรอยู่ในบริเวณ ระหว่าง ดาวอังคาร และดาวพฤหัส ข้อมูลปัจจุบัน ประมาณว่า มีดาวเคราะห์น้อย อยู่ประมาณ 30,000 ดวง ถึง 50,000 ดวง แต่มีเพียงไม่กี่ดวง ที่สามารถใช้ กล้องโทรทัศน์ขนาดเล็ก ส่องดูได้ ดาวเคราะห์น้อย บางดวงมีวงโคจร เปลี่ยนไป เปลี่ยนมา เมื่อโคจรผ่านดาวเคราะห์ ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัส จะถูกแรงดึงดูด รบกวนจน ทำให้วงโคจร ของดาวเคราะห์น้อย แปรเปลี่ยนไป ซึ่งบางดวง อาจโคจร เข้ามาใกล้โลกของเรา และอาจจะเกิด อันตรายต่อโลก ของเราได้ แต่มีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยมาก แต่ก็มีการนำเรื่อง ดังกล่าว ไปสร้าง เป็นภาพยนตร์ ที่หลายคน อาจจะได้ดูเมื่อ เร็วๆนี้ คือเรื่อง "Armageddon" ที่ทำเงิน จากการฉายทั่วโลกได้มากมาย   อืมเรื่องนี้ไม่มีรูปประกอบนะหาไม่ได้อ่ะ

ดาวหาง

ดาวหางเป็นเทหวัตถุมีมวลน้อยมาก หมุนอยู่รอบดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกับสมาชิกอื่นๆในระบบสุริยจักรวาลของเรา รูปร่างและความสว่างของดาวหางแต่ละดวงมีความแตกต่างกันออกไปตามระยะทางที่มันอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์ ดาวหางดวงที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นระยะทางไกลๆจะมีความสว่างน้อยมาก มองเห็นคล้ายๆว่าเป็นดวงดาวดวงหนึ่งเท่านั้น ส่วนประกอบสำคัญของดาวหางคือเทหวัตถุขนาดเล็กๆอยู่ในบริเวณตอนหัวของมันเรียกว่า นิวเคลียส

ปรากฏการณ์ของดาวหาง

ในอดีตมนุษย์มักจะมีความหวาดกลัวปรากฏการณ์ของดาวหางทั้งนี้เพราะมองเห็นว่าดาวหางปรากฏตัวขึ้นมาอย่าง กะทันหัน และมีแสงสุกใสมีเส้นทางโคจรลึกลับและบางครั้งดาวหางก็เปลี่ยนแปลงรูปร่างของมันไปอย่างรวดเร็ว

การโคจรของดาวหาง

วงโคจรของมันจะมีรูปทรงกรวยโดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลาง ชนิดของรูปทรงกรวยขึ้นอยู่กับลักษณะ การโคจรไม่เป็นวงกลมของมันคือ 2 และขึ้นอยู่กับความเร็วของดาวหางที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ใกล้ที่สุดคือระยะทาง เส้นทางโคจรของดาวหางมีความซับซ้อนมากกว่าที่กล่าวมาแล้วเพราะว่าดาวหางจะถูกรบกวนขณะเดินทางจากแรงดึงดูด ของดาวเคราะห์ ซึ่งบางครั้งมีผลกระทบต่อเส้นทางโคจรของมันเพียงเล็กน้อย แต่บางครั้งก็จะมีผลกระทบต่อเส้นทางเดินของดาวหาง ดวงนั้นเป็นอย่างมาก ดาวหางยิ่งเดินทางผ่านดาวเคราะห์มากเท่าใด ดาวหางดวงนั้นย่อมได้รัยอิทธิพลจากแรงดึงดูดของดาวเคราะห์ ดวงนั้นมากเท่านั้น ยิ่งดาวพฤหัสบดีซึ่งมีมวลมากส่งผลกระทบต่อวงโคจรของดาวหางมาก

The FireBall-The Meteor

                              อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

                              สะเก็ดดาวหรือดาวตก มองเห็นวิ่งผ่านชั้นบรรยากาศของโลกเป็นแสงสว่างแล้วก็หายไป สะเก็ดดาวตกอาจเป็นวัตถุแข็งๆ มีขนาดไม่โตกว่าเม็ดทรายหรืออาจมีขนาดเท่าๆกับเม็ดถั่วลิสงเท่านั้น แสงสว่างเกิดขึ้นมาเพราะการเสียดสีระหว่างอะตอมของสะเก็ดดาวตก กับโมเลกุลของอากาศของโลก สะเก็ดดาวตกเช่นนั้นมองเห็นมีแสงสว่างสะเก็ดดาวตกเช่นนั้นจะหายไปใน บรรยากาศของโลกในระดับความสูงประมาณ 60 ไมล์(95 กิโลเมตร) เทห์แข็งๆของสะเก็ดดาวบางครั้งมีมวลเพียงไม่กี่ออนซ์ จนถึงมีนำหนักหลายตันอาจหล่นมาถึงผิวโลกเรียกว่า อุกกาบาต สะเก็ดดาวบางครั้งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงไม่กี่ไมครอน วิ่งผ่านบรรยากาศและหล่นมาถึงผิวโลก เหลือเป็นอนุภาคเล็กๆ เมื่อโคจรผ่านสะเก็ดดาว ซึ่งเคลื่อนไหว ในวงโคจรรอบๆดวงอาทิตย์ จะมีจำนวนดาวตก จำนวนมากวิ่งผ่านเข้ามาในบรรยากาศของโลกชั่วโมง หนึ่งหลายสิบครั้ง บางครั้งกลุ่มสะเก็ดดาวปรากฏตัวอยู่บนท้องฟ้า เป็นแผ่นหนาเหมือนหิมะกลุ่มละอองสะเก็ดดาวในวงโคจรบางครั้งมีลักษณะเหมือนกลุ่มละออง สะเก็ดดาวในดาวหาง เรื่องนี้เป็นหลักฐานแสดง ให้เห็นว่าดาวหางและกลุ่มสะเก็ดดาวมีความเกี่ยวพันกันนักดาราศาสตร์มีความเห็นว่าสสาร ของสะเก็ดดาว คือส่วนที่หลงเหลือจากการสลายตัวของดาวหางบางดวง

               ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอุกกาบาต เช่น
ฝนอุกกาบาต(meteor showers) คือขณะที่โลกโคจรไปพบอุกกาบาตที่มาด้วยกันเป็นกลุ่มใหญ่อุกกาบาตนี้จะตกลงมาในเวลาอันรวดเร็ว                                                         เป็นจำนวนมาก
กลุ่มอุกกาบาต(meteor warm)   คืออุกกาบาตซึ่งโคจรเป็นกลุ่มมีวงโคจรเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์ไม่หนาแน่น ประมาณ 14 ชิ้น/2ล้านลูกบาศก์ไมล์
ธารอุกกาบาต(meteor steam)   คือกลุ่มอุกกาบาตที่แผ่กระจายออกมาตามความโค้งวงทางโคจรทำให้ดูเหมือนว่าอุกกาบาตนั้นเคลื่อนที่ในอวกาศ                                                        เป็นสายธาร

The Nebula

                            คำว่า"เนบิวลา"นักดาราศาสตร์ใช้เรียกสิ่งที่ปรากฏเป็นเมฆหมอกฝ้าอยู่คงที่ในท่ามกลางดวงดาว บนท้องฟ้า อาจจะปรากฏเป็นแสงสว่างเรือง หรือ มืดสนิทก็ได้ เรามองเห็นเนบิวลาได้ยาก เพราะแม้ชนิดที่สว่างก็มีแสงจาง แผ่กรจายไม่รวมกันเข้มเป็นจุดสว่างดังเช่นดาวฤกษ์ เราจึงสามารถเห็นเนบิวลาบนท้องฟ้าด้วยตาเปล่าได้เพียง 4 แห่ง ในขณะที่สามารถเห็นดาวฤกษ์ด้วยตาเปล่าถึงราว 5,000 ดวง ความจริงเนบิวลามีอยู๋เป็นปริมาณมากมายไม่น้อย การที่เราจะตรวจพบหรือไม่ขึ้นอยู่กับความไวของอุปกรณ์ที่ใช้สำรวจ เนบิวลาที่อยู๋ในระบบทางช้างเผือกของเรา เรียกว่า กาแลคติคเนบิวลา Galaxtic Nebula ซึ่งเป็นกลุ่มก๊าซที่มีความสัมพันธ์ทางใดทางหนึ่งกับดาวฤกษ์ หรือกลุ่มดาวในกาแลกซี ซึ่งดวงอาทิตย์ของเราเป็นสมาชิกหน่วยหนึ่ง ตัวอย่างของ Galaxtic Nebulaชนิดแผ่กระจายได้แก่ กลุ่มที่อยู๋ในหมู่ดาว ออไรน นับเป็นกลุ่มก๊าซและฝุ่นซึ่งใหญ่โตกลุ่มหนึ่งในกาแลกซี กินอาณาเขตกว้างขวางในอวกาศ แผ่คลุมดาวฤกษ์อยู่ภายในองค์ประกอบสำคัญ คือ Hydrogen Helium มากที่สุด และนอกนั้นก็มี Oxygen และ Nitrogen เป็นต้น เนบิวลานี้เรืองเสงเพราะถูกกระตุ้นด้วยUVจากดาวฤกษืซึ่งอยู่ภายใน และบางส่วนของก๊าซและฝุ่นที่อยู่เบื้องหลังไกลออกไป จึงปรากฏเป็นเนบิวลามืด กาแลคติคเนบิวลาชนิดเป็นดวง นั้นเป็นกลุ่มก๊าซรูปทรงกลมซึ่งแผ่กระจายออกมาจากการระเบิดของดาวฤกษ์ และปรากฏให้เห็นหลายดวงบนท้องฟ้า เช่นที่เรียกกันว่า เนบิวลาวงแหวน เนบิวลาปู เนบิวลานกฮูก เป็นต้น ตามความคล้ายคลึงกับรูปสิ่งของ สัตว์ที่มนุษย์คุ้นเคยกันทั่วไป

                    เนบิวลานอกกาแลกซี หรือ สไปราลเนบิวลา นั้นเป็นวัตถุจำพวกที่อยู๋ห่างไกลออกไปนอกกาแลกซีของเรา เป็นต้นว่า เมฆแมคเยลแลน ซึ่งเห็นได้ด้วยตาเปล่าบนท้องฟ้าของซีกโลกภาคใต้ อยู่ห่างไป 150,000 ปีแสง หรืออาจจะมากกว่านั้นก็เป็นได้เช่น สไปราลเนบิวลา ที่อยู่ในทิศทางของหมู่ดาวอันโดรเมดาซึ่งอยู่ห่างออกไปถึง 2,200,000 ปีแสง ข้างล่างจะเป็นลักษณะของเนบิวลานะ

: 10 มิถุนายน 2540 เวลา 0.33 น. กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสสิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล Losmandy G-11 เนบิวลาอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ตำแหน่ง R.A. 18h 02m Dec -23o02' อันดับความสว่าง 8.5 ฟิล์ม Kodak Multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 45 นาที

: 4 มิถุนายน 2540 เวลา 2.03 น.
ใช้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสซิเกรน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที ฟิล์ม Kodak Multispeed ตำแหน่ง 18h20m, -16o11'
อันดับความสว่าง 7.6 อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู (Ophiuchus)

: 15 มีนาคม 2540 เวลา 3.00 น.
กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง แบบชมิดท์แคสซิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
อันดับความสว่าง 5.8 อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู (Sagittarius)
ฟิล์ม Kodak multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที


สัญลักษณ์ของดวงอาทิตย์   -------------->>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>            

ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ชั้น G2  เป็นเพียงสมาชิกหนึ่งในบรรดาดาวฤกษ์หนึ่งแสนล้านดวง ในกาแล๊กซี่ทางช้างเผือก

เส้นผ่านศูนย์กลาง: 1,390,000 ก.ม.
มวล: 1.989 x 1030 ก.ก.
อุณหภูมิ: 5800 เคลวิน (พื้นผิว) 15,600,000 K (แกน)

ดวงอาทิตย์ เป็นเทหวัตถุ ที่ใหญ่ที่สุด ในระบบสุริยะ คิดเป็นมวลมากกว่า 99.8% ของมวลทั้งระบบ (ที่เหลือเกือบทั้งหมดเป็น
ดาวพฤหัสบด )

ด วงอาทิตย์ มีชื่อเรียกหลายชื่อในเทพนิยาย: กรีกเรียกว่า เฮลิออส โรมันเรียกว่า ซอล

ในปัจจุบันดวงอาทิตย์ประกอบด้วย ไฮโดรเจน 75% และ ฮีเลียม 25% นับโดยมวล (ไฮโดรเจน 92.1% และฮีเลียม 7.8% นับโดยจำนวนอะตอม) ที่เหลือจำนวน 0.1% เป็น "โลหะ"  X ส่วนเหล่านี้เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ โดยดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจนในแกนของมันให้กลายเป็นฮีเลียม

ชั้นนอกของดวงอาทิตย์มีการเคลื่อนที่แบบ differential rotation กล่าวคือ ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตร หมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบใช้เวลา 25.4 วัน แต่บริเวณขั้ว หมุนหนึ่งรอบใช้เวลาถึง 36 วัน พฤติกรรมเช่นนี้แสดงว่าดวงอาทิตย์มิได้เป็นของแข็ง (solid body) เฉกเข่นโลก แต่คล้ายกับ ดาวเคราะห์แก๊ส ลักษณะการหมุนเช่นนี้เกิดขึ้นในแนวลึกลงไปด้วย ยกเว้นตรงแกนของดวงอาทิตย์ หมุนรอบตัวในลักษณะแบบของแข็ง

แกนของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิสูงถึง 15.6 ล้านเคลวิน และมีความกดดัน 250 พันล้าน หน่วยบรรยากาศ แก๊สที่แกนกลางถูกอัดตัวให้มีความหนาแน่นมากกว่าน้ำถึง 150 เท่า

พลังงานของดวงอาทิตย์  ผลิตโดยปฏิกริยา นิวเคลียร์ฟิวชั่น ทุก ๆ หนึ่งวินาที ดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจน 700,000,000 ตัน ให้กลายเป็นฮีเลียม 695,000,000 ตัน และพลังงานในรูปของรังสีแกมม่าอีกจำนวน 5,000,000 ตัน พุ่งตรงมายังพื้นผิว จากนั้นพลังงานถูกดูดกลืนเข้าไปและเปล่งออกอีก ทำให้อุณหภูมิลดต่ำลงเมื่อถึงพื้นผิว กลายเป็นแสงที่เรามองเห็นได้; ณ ข่วง 20% สุดท้ายก่อนที่จะถึงพื้นผิว พลังงานส่วนใหญ่ม้วนตัวกลับ ( convection ) มากกว่าที่จะแผ่รังสีออก

 พื้นผิวของดวงอาทิตย์เรียกว่า ชั้นโฟโตสเฟียร์ มีอุณหภมิประมาณ 5,800 เคลวิน; จุดบนดวงอาทิตย์ (Sunspots) เป็นย่านที่อุณหภูมิต่ำเพียง 3,800 เคลวิน (มันดูมืดเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณรอบ ๆ) จุดบนดวงอาทิตย์อาจมีขนาดใหญ่ถึง 50,000 ก.ม. มันเกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สลับซับซ้อน และยังไม่เข้าใจดีนัก ว่าเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์อย่างไร

เหนือขึ้นมาจากชั้นโฟโตสเฟียร์ มีชั้นเล็ก ๆ เรียกว่า โครโมสเฟียร์

 ชั้นที่อยู่เหนือโครโมสเฟียร์ เราเรียกว่า โคโรน่า มันแผ่ออกไปในอวกาศหลายล้านกิโลเมตร แต่จะมองเห็นได้เฉพาะเวลาที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงเท่านั้น โคโคน่ามีอุณหภูมิสูงมากกว่า 1,000,000 เคลวิน

ส นามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์มีความเข้มและซับซ้อนมาก เขต แมกเนโตสเฟียร์ (ซึ่งบางทีเรียกว่า เฮลิโอสเฟียร์) แผ่ขยายออกไปไกลกว่า ดาวพลูโต

 นอกเหนือจากความร้อนและแสง ดวงอาทิตย์แพร่อนุภาคความหนาแน่นต่ำ (ส่วนมากเป็นอิเล็กตรอนและโปรตอน) ซึ่งรู้จักกันในนามของลมสุริยะ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 450 ก.ม./วินาที ลมสุริยะและอนุภาคซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า ถูกพ่นออกโดย solar flares สามารถรบกวนสายไฟฟ้าแรงสูง คลื่นวิทยุะ และทำให้เกิดปรากฏการณ์แสงเหนือแสงใต้ที่งดงาม

 ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณ 4.5 ล้านปี นับตั้งแต่กำเนิดมามันได้เผาผลาญไฮโดรเจนในแกนของมันไปประมาณครึ่งหนึ่ง มันยังคงแผ่รังสีอย่างสงบต่อไปอีกประมาณ 5 ล้านปี (ความสว่างจะมากขึ้นเป็นสองเท่าเมื่อถึงเวลานั้น) และเมื่อไฮโดรเจนหมดลง ขนาดของมันจะใหญ่ขึ้นจนกลืนโลกเข้าไป 

ดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์น้อยเป็นเทห์วัตถุ บนท้องฟ้า อีกชนิดหนึ่ง และเป็นบริวาร ที่โคจรรอบ ดวงอาทิตย์คล้ายๆ ดาวเคราะห์ แต่มักมีขนาดเล็ก โดยส่วนใหญ่ จะโคจรอยู่ในบริเวณ ระหว่าง ดาวอังคาร และดาวพฤหัส ข้อมูลปัจจุบัน ประมาณว่า มีดาวเคราะห์น้อย อยู่ประมาณ 30,000 ดวง ถึง 50,000 ดวง แต่มีเพียงไม่กี่ดวง ที่สามารถใช้ กล้องโทรทัศน์ขนาดเล็ก ส่องดูได้ ดาวเคราะห์น้อย บางดวงมีวงโคจร เปลี่ยนไป เปลี่ยนมา เมื่อโคจรผ่านดาวเคราะห์ ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัส จะถูกแรงดึงดูด รบกวนจน ทำให้วงโคจร ของดาวเคราะห์น้อย แปรเปลี่ยนไป ซึ่งบางดวง อาจโคจร เข้ามาใกล้โลกของเรา และอาจจะเกิด อันตรายต่อโลก ของเราได้ แต่มีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยมาก แต่ก็มีการนำเรื่อง ดังกล่าว ไปสร้าง เป็นภาพยนตร์ ที่หลายคน อาจจะได้ดูเมื่อ เร็วๆนี้ คือเรื่อง "Armageddon" ที่ทำเงิน จากการฉายทั่วโลกได้มากมาย   อืมเรื่องนี้ไม่มีรูปประกอบนะหาไม่ได้อ่ะ

ดาวหาง

ดาวหางเป็นเทหวัตถุมีมวลน้อยมาก หมุนอยู่รอบดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกับสมาชิกอื่นๆในระบบสุริยจักรวาลของเรา รูปร่างและความสว่างของดาวหางแต่ละดวงมีความแตกต่างกันออกไปตามระยะทางที่มันอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์ ดาวหางดวงที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นระยะทางไกลๆจะมีความสว่างน้อยมาก มองเห็นคล้ายๆว่าเป็นดวงดาวดวงหนึ่งเท่านั้น ส่วนประกอบสำคัญของดาวหางคือเทหวัตถุขนาดเล็กๆอยู่ในบริเวณตอนหัวของมันเรียกว่า นิวเคลียส

ปรากฏการณ์ของดาวหาง

ในอดีตมนุษย์มักจะมีความหวาดกลัวปรากฏการณ์ของดาวหางทั้งนี้เพราะมองเห็นว่าดาวหางปรากฏตัวขึ้นมาอย่าง กะทันหัน และมีแสงสุกใสมีเส้นทางโคจรลึกลับและบางครั้งดาวหางก็เปลี่ยนแปลงรูปร่างของมันไปอย่างรวดเร็ว

การโคจรของดาวหาง

วงโคจรของมันจะมีรูปทรงกรวยโดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลาง ชนิดของรูปทรงกรวยขึ้นอยู่กับลักษณะ การโคจรไม่เป็นวงกลมของมันคือ 2 และขึ้นอยู่กับความเร็วของดาวหางที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ใกล้ที่สุดคือระยะทาง เส้นทางโคจรของดาวหางมีความซับซ้อนมากกว่าที่กล่าวมาแล้วเพราะว่าดาวหางจะถูกรบกวนขณะเดินทางจากแรงดึงดูด ของดาวเคราะห์ ซึ่งบางครั้งมีผลกระทบต่อเส้นทางโคจรของมันเพียงเล็กน้อย แต่บางครั้งก็จะมีผลกระทบต่อเส้นทางเดินของดาวหาง ดวงนั้นเป็นอย่างมาก ดาวหางยิ่งเดินทางผ่านดาวเคราะห์มากเท่าใด ดาวหางดวงนั้นย่อมได้รัยอิทธิพลจากแรงดึงดูดของดาวเคราะห์ ดวงนั้นมากเท่านั้น ยิ่งดาวพฤหัสบดีซึ่งมีมวลมากส่งผลกระทบต่อวงโคจรของดาวหางมาก

The FireBall-The Meteor

                              อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

                              สะเก็ดดาวหรือดาวตก มองเห็นวิ่งผ่านชั้นบรรยากาศของโลกเป็นแสงสว่างแล้วก็หายไป สะเก็ดดาวตกอาจเป็นวัตถุแข็งๆ มีขนาดไม่โตกว่าเม็ดทรายหรืออาจมีขนาดเท่าๆกับเม็ดถั่วลิสงเท่านั้น แสงสว่างเกิดขึ้นมาเพราะการเสียดสีระหว่างอะตอมของสะเก็ดดาวตก กับโมเลกุลของอากาศของโลก สะเก็ดดาวตกเช่นนั้นมองเห็นมีแสงสว่างสะเก็ดดาวตกเช่นนั้นจะหายไปใน บรรยากาศของโลกในระดับความสูงประมาณ 60 ไมล์(95 กิโลเมตร) เทห์แข็งๆของสะเก็ดดาวบางครั้งมีมวลเพียงไม่กี่ออนซ์ จนถึงมีนำหนักหลายตันอาจหล่นมาถึงผิวโลกเรียกว่า อุกกาบาต สะเก็ดดาวบางครั้งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงไม่กี่ไมครอน วิ่งผ่านบรรยากาศและหล่นมาถึงผิวโลก เหลือเป็นอนุภาคเล็กๆ เมื่อโคจรผ่านสะเก็ดดาว ซึ่งเคลื่อนไหว ในวงโคจรรอบๆดวงอาทิตย์ จะมีจำนวนดาวตก จำนวนมากวิ่งผ่านเข้ามาในบรรยากาศของโลกชั่วโมง หนึ่งหลายสิบครั้ง บางครั้งกลุ่มสะเก็ดดาวปรากฏตัวอยู่บนท้องฟ้า เป็นแผ่นหนาเหมือนหิมะกลุ่มละอองสะเก็ดดาวในวงโคจรบางครั้งมีลักษณะเหมือนกลุ่มละออง สะเก็ดดาวในดาวหาง เรื่องนี้เป็นหลักฐานแสดง ให้เห็นว่าดาวหางและกลุ่มสะเก็ดดาวมีความเกี่ยวพันกันนักดาราศาสตร์มีความเห็นว่าสสาร ของสะเก็ดดาว คือส่วนที่หลงเหลือจากการสลายตัวของดาวหางบางดวง

               ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอุกกาบาต เช่น
ฝนอุกกาบาต(meteor showers) คือขณะที่โลกโคจรไปพบอุกกาบาตที่มาด้วยกันเป็นกลุ่มใหญ่อุกกาบาตนี้จะตกลงมาในเวลาอันรวดเร็ว                                                         เป็นจำนวนมาก
กลุ่มอุกกาบาต(meteor warm)   คืออุกกาบาตซึ่งโคจรเป็นกลุ่มมีวงโคจรเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์ไม่หนาแน่น ประมาณ 14 ชิ้น/2ล้านลูกบาศก์ไมล์
ธารอุกกาบาต(meteor steam)   คือกลุ่มอุกกาบาตที่แผ่กระจายออกมาตามความโค้งวงทางโคจรทำให้ดูเหมือนว่าอุกกาบาตนั้นเคลื่อนที่ในอวกาศ                                                        เป็นสายธาร

The Nebula

                            คำว่า"เนบิวลา"นักดาราศาสตร์ใช้เรียกสิ่งที่ปรากฏเป็นเมฆหมอกฝ้าอยู่คงที่ในท่ามกลางดวงดาว บนท้องฟ้า อาจจะปรากฏเป็นแสงสว่างเรือง หรือ มืดสนิทก็ได้ เรามองเห็นเนบิวลาได้ยาก เพราะแม้ชนิดที่สว่างก็มีแสงจาง แผ่กรจายไม่รวมกันเข้มเป็นจุดสว่างดังเช่นดาวฤกษ์ เราจึงสามารถเห็นเนบิวลาบนท้องฟ้าด้วยตาเปล่าได้เพียง 4 แห่ง ในขณะที่สามารถเห็นดาวฤกษ์ด้วยตาเปล่าถึงราว 5,000 ดวง ความจริงเนบิวลามีอยู๋เป็นปริมาณมากมายไม่น้อย การที่เราจะตรวจพบหรือไม่ขึ้นอยู่กับความไวของอุปกรณ์ที่ใช้สำรวจ เนบิวลาที่อยู๋ในระบบทางช้างเผือกของเรา เรียกว่า กาแลคติคเนบิวลา Galaxtic Nebula ซึ่งเป็นกลุ่มก๊าซที่มีความสัมพันธ์ทางใดทางหนึ่งกับดาวฤกษ์ หรือกลุ่มดาวในกาแลกซี ซึ่งดวงอาทิตย์ของเราเป็นสมาชิกหน่วยหนึ่ง ตัวอย่างของ Galaxtic Nebulaชนิดแผ่กระจายได้แก่ กลุ่มที่อยู๋ในหมู่ดาว ออไรน นับเป็นกลุ่มก๊าซและฝุ่นซึ่งใหญ่โตกลุ่มหนึ่งในกาแลกซี กินอาณาเขตกว้างขวางในอวกาศ แผ่คลุมดาวฤกษ์อยู่ภายในองค์ประกอบสำคัญ คือ Hydrogen Helium มากที่สุด และนอกนั้นก็มี Oxygen และ Nitrogen เป็นต้น เนบิวลานี้เรืองเสงเพราะถูกกระตุ้นด้วยUVจากดาวฤกษืซึ่งอยู่ภายใน และบางส่วนของก๊าซและฝุ่นที่อยู่เบื้องหลังไกลออกไป จึงปรากฏเป็นเนบิวลามืด กาแลคติคเนบิวลาชนิดเป็นดวง นั้นเป็นกลุ่มก๊าซรูปทรงกลมซึ่งแผ่กระจายออกมาจากการระเบิดของดาวฤกษ์ และปรากฏให้เห็นหลายดวงบนท้องฟ้า เช่นที่เรียกกันว่า เนบิวลาวงแหวน เนบิวลาปู เนบิวลานกฮูก เป็นต้น ตามความคล้ายคลึงกับรูปสิ่งของ สัตว์ที่มนุษย์คุ้นเคยกันทั่วไป

                    เนบิวลานอกกาแลกซี หรือ สไปราลเนบิวลา นั้นเป็นวัตถุจำพวกที่อยู๋ห่างไกลออกไปนอกกาแลกซีของเรา เป็นต้นว่า เมฆแมคเยลแลน ซึ่งเห็นได้ด้วยตาเปล่าบนท้องฟ้าของซีกโลกภาคใต้ อยู่ห่างไป 150,000 ปีแสง หรืออาจจะมากกว่านั้นก็เป็นได้เช่น สไปราลเนบิวลา ที่อยู่ในทิศทางของหมู่ดาวอันโดรเมดาซึ่งอยู่ห่างออกไปถึง 2,200,000 ปีแสง ข้างล่างจะเป็นลักษณะของเนบิวลานะ

: 10 มิถุนายน 2540 เวลา 0.33 น. กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสสิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล Losmandy G-11 เนบิวลาอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ตำแหน่ง R.A. 18h 02m Dec -23o02' อันดับความสว่าง 8.5 ฟิล์ม Kodak Multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 45 นาที

: 4 มิถุนายน 2540 เวลา 2.03 น.
ใช้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสซิเกรน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที ฟิล์ม Kodak Multispeed ตำแหน่ง 18h20m, -16o11'
อันดับความสว่าง 7.6 อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู (Ophiuchus)

: 15 มีนาคม 2540 เวลา 3.00 น.
กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง แบบชมิดท์แคสซิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
อันดับความสว่าง 5.8 อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู (Sagittarius)
ฟิล์ม Kodak multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที
-ดาวพุธเล็กที่สุด,ดาวพฤหัสใหญ่ที่สุด
-ดาวพุธ,ดาวศุกร์ 2 ดวงนี้รูปร่างเกือบเป็นวงกลมเหมือนดวงจันทร์และดวงอาทิตย์
-ดางศุกร์,ดาวเนปจูนมีวงทางโคจรรอบดวงอาทิตย์เกือบเป็นวงกลม
-โลกเป็นดาวที่มีมนุษย์อาศัยอยู่


                                      


มวลของสมาชิกในระบบสุริยะ
ดวงอาทิตย์ 99.85 %
เหล่าดาวเคราะห์ 0.135 %
เหล่าดาวหาง 0.01 %
บริวารของดาวเคราะห์ 0.00005 %
ดาวเคราะห์น้อย 0.0000002 %
อุกกาบาต 0.0000001 %

องค์ประกอบของระบบสุริยะ
ระบบสุริยะประกอบด้วยดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางและเหล่าสมาชิกโคจรโดยรอบ คือ ดาวเคราะห์ 9 ดวง บริวารของดาวเคราะห์ ดาวหาง ดาวเคราะห์น้อยและอุกกาบาต เมื่อเปรียบเทียบมวลของสมาชิกในระบบสุริยะ ดวงอาทิตย์มีมวลมากที่สุดถึง 99.85% ขณะที่ดาวเคราะห์ทุกดวงรวมกันมีมวลเพียง 0.01355 % ซึ่งดาวพฤหัสบดีมีมวลสูงเป็น 2.5 เท่าของมวลดาวเคราะห์อื่น ๆ ทุกดวงรวมกัน
ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งกำเนิดพลังงานที่ใหญ่ที่สุดแผ่พลังงานออกไปในระบบสุริยะโดยรอบในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

ขนาดของระบบสุริยจักรวาล
การวัดระยะทางภายในระบบสุริยจักรวาลใช้ระบบการวัดหลายระบบด้วยกัน ส่วนใหญ่จะใช้หน่วยวัดเป็นไมล์ ระยะทาง จากดวงอาทิตย์ไปยังดาวเคราะห์ที่ไกลที่สุดที่ค้นพบว่ามีอยู่ปัจจุบัน คือ ดาวเคราะห์พลูโต มีระยะทาง 39.4 หน่วยดาราศาสตร์ในขณะดวงดาว(ดาวฤกษ์)ที่อยู่ ใกล้เรามากที่สุดห่างออกไป 1.33 พาร์เซค (4.35 ปีแสง) วงโคจรของดาวหาง ซึ่งเป็นวงยาวรืมากจะเป็นวงจรอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ไกลออกไปหลายร้อยหรือหลายพัน หน่วยดาราศาสตร์ แต่บริเวณเลยดาวเคราะห์พลูโตออกไป เป็นบริเวณกว้างใหญ่ไพศาลของอวกาศที่มีแต่ความว่างเปล่า ดังนั้นสมาชิกของระบบสุริยจักรวาล จึงห้อมล้อม ด้วยอวกาศและเมื่อเปรียบขนาดของสุริยจักรวาลกับขนาดของกาแลคซี่ทางช้างเผือกซึ่งสุริยจักรวาลของเราเป็นสมาชิกอยู่ ระบบสุริยจักรวาลจะเป็นเพียงจุดเล็กๆจุดหนึ่ง ที่ปราศจากความสำคัญใดๆและจะกลายเป็นเรื่องยากลำบากยิ่ง ในการค้นหาระบบสุริยจักรวาลของเราให้พบเมื่อสังเกตการณ์จากดวงดาวที่อยู่ใกล้สุริยจักรวาลที่สุด ยกเว้น แต่จะมองเห็นดวงอาทิตย์ของเราเพียงดวงเดียวเท่านั้น

ตำแหน่งของระบบสุริยะในกาแล็กซีทางช้างเผือก
ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ดวงหนึ่ง อยู่ในอาณาจักแห่งดวงดาว ที่เรียกว่า กาแล็กซีทางช้างเผือก (The milky Way) หรือ กาแล็กซีของเรา ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกดาวฤกษ์มากมายประมาณ 2 แสนล้านดวง มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 แสนปีแสง ระบบสุริยะอยู่ห่างจากศูนย์กลางราว 32600 ปีแสง ดวงอาทิตย์พาเหล่าบริวารโคจรครบรอบกาแล็กซีในเวลา 225 ล้านปี
เมื่อมองจากอวกาศเหนือขั้วโลกเหนือของดวงอาทิตย์ สมาชิกในระบบสุริยะโคจรรอบดวงอาทิตย์ในทิศทาง ทวนเข็มนาฬิกาไปทางเดียวกัน
ดาวเคราะห์ทั้งหลายต่างโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่ในระนาบใกล้เคียงกัน กับระนาบที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ซึ่งเรียกว่า ระนาบสุริยวิถี (Ecliptic) มีแต่ดาวพลูโตดวงเดียวที่มีวงโคจรรีมาก และเอียงออกจากระนาบสุริยวิถีมากถึง 18 องศา

กำเนิดระบบสุริยะ
สันนิษฐานว่าระบบสุริยะมีกำเนิดมาจากกลุ่มก๊าซและฝุ่นขนาดมหึมาที่หมุนรอบศูนย์กลางเมื่อประมาณ 5000 ล้านปีก่อน มวลสารหมุนวนทำให้มีลักษณะเป็นจานแบนเมื่ออุณหภูมิรอบนอกค่อย ๆเย็นตัวลง มวลสารรวมตัวกันเกิดเป็นดาวเคราะห์และสมาชิกบริวารโคจรรอบดวงอาทิตย์ไปทางเดียวกันและอยู่ในระนาบใกล้เคียงกัน เช่นทุกวันนี้

ประเภทของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ
ดาวเคราะห์ชั้นใน (Inner Planets)
เป็นกลุ่มดาวเคราะห์ทีมีลักษณะคล้ายโลก (The Terrestrial Planet) คือมีพื้นผิวเป็นหินแข็งอย่างโลก ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคาร ขณะที่ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคารมีบรรยากาศห่อหุ้มชัดเจน แต่ดาวพุธเกือบไม่มีบรรยากาศเลย

ดาวเคราะห์ชั้นนอก (Outer Planets)
เป็นกลุ่มดาวเคราะห์ที่มีลักษณะคล้ายดาวพฤหัสบดี (The Jovian Planets) คือเป็นดาวเคราะห์ก๊าซซึ่งอาจมีแกนแข็งขนาดเล็กอยู่ที่ใจกลางและ มีขนาดใหญ่มากเมื่อเทียบกับโลกได้แก่ ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน

ดาวพลูโตดวงโดดเดี่ยว
ดาวพลูโตเป็นดาวเคราะห์ที่มีลักษณะพิเศษประกอบด้วยหินและน้ำแข็งจึงมีลักษณะคล้ายโลก แต่วงโคจรไกลเลยจากวงโคจรของดาวเนปจูนออกไป มนุษย์ยังมีความรรู้เรื่องดาวพลูโตน้อยมาก เนื่องจากวงโคจรของดาวพลูโตเอียงออกจากระนาบของ สุริยวิถีมากจึงมีบางช่วงนานราว 20 ปี ที่ดาวพลูโตโคจรอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าดาวเนปจูน บรรยากาศอาจเกิดจากมีเทนแข็งระเหิด ขณะเมื่อพลูโตเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ แต่เมื่ออยู่ไกลจากดวงอาทิตย์ตามปกติ ดาวพลูโตอาจเย็นจัดเป็นก้อนน้ำแข็งและไม่มีบรรยากาศก็เป็นได้


สัญลักษณ์ของดวงอาทิตย์   -------------->>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>            

ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ชั้น G2  เป็นเพียงสมาชิกหนึ่งในบรรดาดาวฤกษ์หนึ่งแสนล้านดวง ในกาแล๊กซี่ทางช้างเผือก

เส้นผ่านศูนย์กลาง: 1,390,000 ก.ม.
มวล: 1.989 x 1030 ก.ก.
อุณหภูมิ: 5800 เคลวิน (พื้นผิว) 15,600,000 K (แกน)

ดวงอาทิตย์ เป็นเทหวัตถุ ที่ใหญ่ที่สุด ในระบบสุริยะ คิดเป็นมวลมากกว่า 99.8% ของมวลทั้งระบบ (ที่เหลือเกือบทั้งหมดเป็น
ดาวพฤหัสบด )

ด วงอาทิตย์ มีชื่อเรียกหลายชื่อในเทพนิยาย: กรีกเรียกว่า เฮลิออส โรมันเรียกว่า ซอล

ในปัจจุบันดวงอาทิตย์ประกอบด้วย ไฮโดรเจน 75% และ ฮีเลียม 25% นับโดยมวล (ไฮโดรเจน 92.1% และฮีเลียม 7.8% นับโดยจำนวนอะตอม) ที่เหลือจำนวน 0.1% เป็น "โลหะ"  X ส่วนเหล่านี้เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ โดยดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจนในแกนของมันให้กลายเป็นฮีเลียม

ชั้นนอกของดวงอาทิตย์มีการเคลื่อนที่แบบ differential rotation กล่าวคือ ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตร หมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบใช้เวลา 25.4 วัน แต่บริเวณขั้ว หมุนหนึ่งรอบใช้เวลาถึง 36 วัน พฤติกรรมเช่นนี้แสดงว่าดวงอาทิตย์มิได้เป็นของแข็ง (solid body) เฉกเข่นโลก แต่คล้ายกับ ดาวเคราะห์แก๊ส ลักษณะการหมุนเช่นนี้เกิดขึ้นในแนวลึกลงไปด้วย ยกเว้นตรงแกนของดวงอาทิตย์ หมุนรอบตัวในลักษณะแบบของแข็ง

แกนของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิสูงถึง 15.6 ล้านเคลวิน และมีความกดดัน 250 พันล้าน หน่วยบรรยากาศ แก๊สที่แกนกลางถูกอัดตัวให้มีความหนาแน่นมากกว่าน้ำถึง 150 เท่า

พลังงานของดวงอาทิตย์  ผลิตโดยปฏิกริยา นิวเคลียร์ฟิวชั่น ทุก ๆ หนึ่งวินาที ดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจน 700,000,000 ตัน ให้กลายเป็นฮีเลียม 695,000,000 ตัน และพลังงานในรูปของรังสีแกมม่าอีกจำนวน 5,000,000 ตัน พุ่งตรงมายังพื้นผิว จากนั้นพลังงานถูกดูดกลืนเข้าไปและเปล่งออกอีก ทำให้อุณหภูมิลดต่ำลงเมื่อถึงพื้นผิว กลายเป็นแสงที่เรามองเห็นได้; ณ ข่วง 20% สุดท้ายก่อนที่จะถึงพื้นผิว พลังงานส่วนใหญ่ม้วนตัวกลับ ( convection ) มากกว่าที่จะแผ่รังสีออก

 พื้นผิวของดวงอาทิตย์เรียกว่า ชั้นโฟโตสเฟียร์ มีอุณหภมิประมาณ 5,800 เคลวิน; จุดบนดวงอาทิตย์ (Sunspots) เป็นย่านที่อุณหภูมิต่ำเพียง 3,800 เคลวิน (มันดูมืดเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณรอบ ๆ) จุดบนดวงอาทิตย์อาจมีขนาดใหญ่ถึง 50,000 ก.ม. มันเกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สลับซับซ้อน และยังไม่เข้าใจดีนัก ว่าเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์อย่างไร

เหนือขึ้นมาจากชั้นโฟโตสเฟียร์ มีชั้นเล็ก ๆ เรียกว่า โครโมสเฟียร์

 ชั้นที่อยู่เหนือโครโมสเฟียร์ เราเรียกว่า โคโรน่า มันแผ่ออกไปในอวกาศหลายล้านกิโลเมตร แต่จะมองเห็นได้เฉพาะเวลาที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงเท่านั้น โคโคน่ามีอุณหภูมิสูงมากกว่า 1,000,000 เคลวิน

ส นามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์มีความเข้มและซับซ้อนมาก เขต แมกเนโตสเฟียร์ (ซึ่งบางทีเรียกว่า เฮลิโอสเฟียร์) แผ่ขยายออกไปไกลกว่า ดาวพลูโต

 นอกเหนือจากความร้อนและแสง ดวงอาทิตย์แพร่อนุภาคความหนาแน่นต่ำ (ส่วนมากเป็นอิเล็กตรอนและโปรตอน) ซึ่งรู้จักกันในนามของลมสุริยะ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 450 ก.ม./วินาที ลมสุริยะและอนุภาคซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า ถูกพ่นออกโดย solar flares สามารถรบกวนสายไฟฟ้าแรงสูง คลื่นวิทยุะ และทำให้เกิดปรากฏการณ์แสงเหนือแสงใต้ที่งดงาม

 ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณ 4.5 ล้านปี นับตั้งแต่กำเนิดมามันได้เผาผลาญไฮโดรเจนในแกนของมันไปประมาณครึ่งหนึ่ง มันยังคงแผ่รังสีอย่างสงบต่อไปอีกประมาณ 5 ล้านปี (ความสว่างจะมากขึ้นเป็นสองเท่าเมื่อถึงเวลานั้น) และเมื่อไฮโดรเจนหมดลง ขนาดของมันจะใหญ่ขึ้นจนกลืนโลกเข้าไป 

ดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์น้อยเป็นเทห์วัตถุ บนท้องฟ้า อีกชนิดหนึ่ง และเป็นบริวาร ที่โคจรรอบ ดวงอาทิตย์คล้ายๆ ดาวเคราะห์ แต่มักมีขนาดเล็ก โดยส่วนใหญ่ จะโคจรอยู่ในบริเวณ ระหว่าง ดาวอังคาร และดาวพฤหัส ข้อมูลปัจจุบัน ประมาณว่า มีดาวเคราะห์น้อย อยู่ประมาณ 30,000 ดวง ถึง 50,000 ดวง แต่มีเพียงไม่กี่ดวง ที่สามารถใช้ กล้องโทรทัศน์ขนาดเล็ก ส่องดูได้ ดาวเคราะห์น้อย บางดวงมีวงโคจร เปลี่ยนไป เปลี่ยนมา เมื่อโคจรผ่านดาวเคราะห์ ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัส จะถูกแรงดึงดูด รบกวนจน ทำให้วงโคจร ของดาวเคราะห์น้อย แปรเปลี่ยนไป ซึ่งบางดวง อาจโคจร เข้ามาใกล้โลกของเรา และอาจจะเกิด อันตรายต่อโลก ของเราได้ แต่มีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยมาก แต่ก็มีการนำเรื่อง ดังกล่าว ไปสร้าง เป็นภาพยนตร์ ที่หลายคน อาจจะได้ดูเมื่อ เร็วๆนี้ คือเรื่อง "Armageddon" ที่ทำเงิน จากการฉายทั่วโลกได้มากมาย   อืมเรื่องนี้ไม่มีรูปประกอบนะหาไม่ได้อ่ะ

ดาวหาง

ดาวหางเป็นเทหวัตถุมีมวลน้อยมาก หมุนอยู่รอบดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกับสมาชิกอื่นๆในระบบสุริยจักรวาลของเรา รูปร่างและความสว่างของดาวหางแต่ละดวงมีความแตกต่างกันออกไปตามระยะทางที่มันอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์ ดาวหางดวงที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นระยะทางไกลๆจะมีความสว่างน้อยมาก มองเห็นคล้ายๆว่าเป็นดวงดาวดวงหนึ่งเท่านั้น ส่วนประกอบสำคัญของดาวหางคือเทหวัตถุขนาดเล็กๆอยู่ในบริเวณตอนหัวของมันเรียกว่า นิวเคลียส

ปรากฏการณ์ของดาวหาง

ในอดีตมนุษย์มักจะมีความหวาดกลัวปรากฏการณ์ของดาวหางทั้งนี้เพราะมองเห็นว่าดาวหางปรากฏตัวขึ้นมาอย่าง กะทันหัน และมีแสงสุกใสมีเส้นทางโคจรลึกลับและบางครั้งดาวหางก็เปลี่ยนแปลงรูปร่างของมันไปอย่างรวดเร็ว

การโคจรของดาวหาง

วงโคจรของมันจะมีรูปทรงกรวยโดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลาง ชนิดของรูปทรงกรวยขึ้นอยู่กับลักษณะ การโคจรไม่เป็นวงกลมของมันคือ 2 และขึ้นอยู่กับความเร็วของดาวหางที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ใกล้ที่สุดคือระยะทาง เส้นทางโคจรของดาวหางมีความซับซ้อนมากกว่าที่กล่าวมาแล้วเพราะว่าดาวหางจะถูกรบกวนขณะเดินทางจากแรงดึงดูด ของดาวเคราะห์ ซึ่งบางครั้งมีผลกระทบต่อเส้นทางโคจรของมันเพียงเล็กน้อย แต่บางครั้งก็จะมีผลกระทบต่อเส้นทางเดินของดาวหาง ดวงนั้นเป็นอย่างมาก ดาวหางยิ่งเดินทางผ่านดาวเคราะห์มากเท่าใด ดาวหางดวงนั้นย่อมได้รัยอิทธิพลจากแรงดึงดูดของดาวเคราะห์ ดวงนั้นมากเท่านั้น ยิ่งดาวพฤหัสบดีซึ่งมีมวลมากส่งผลกระทบต่อวงโคจรของดาวหางมาก

The FireBall-The Meteor

                              อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

                              สะเก็ดดาวหรือดาวตก มองเห็นวิ่งผ่านชั้นบรรยากาศของโลกเป็นแสงสว่างแล้วก็หายไป สะเก็ดดาวตกอาจเป็นวัตถุแข็งๆ มีขนาดไม่โตกว่าเม็ดทรายหรืออาจมีขนาดเท่าๆกับเม็ดถั่วลิสงเท่านั้น แสงสว่างเกิดขึ้นมาเพราะการเสียดสีระหว่างอะตอมของสะเก็ดดาวตก กับโมเลกุลของอากาศของโลก สะเก็ดดาวตกเช่นนั้นมองเห็นมีแสงสว่างสะเก็ดดาวตกเช่นนั้นจะหายไปใน บรรยากาศของโลกในระดับความสูงประมาณ 60 ไมล์(95 กิโลเมตร) เทห์แข็งๆของสะเก็ดดาวบางครั้งมีมวลเพียงไม่กี่ออนซ์ จนถึงมีนำหนักหลายตันอาจหล่นมาถึงผิวโลกเรียกว่า อุกกาบาต สะเก็ดดาวบางครั้งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงไม่กี่ไมครอน วิ่งผ่านบรรยากาศและหล่นมาถึงผิวโลก เหลือเป็นอนุภาคเล็กๆ เมื่อโคจรผ่านสะเก็ดดาว ซึ่งเคลื่อนไหว ในวงโคจรรอบๆดวงอาทิตย์ จะมีจำนวนดาวตก จำนวนมากวิ่งผ่านเข้ามาในบรรยากาศของโลกชั่วโมง หนึ่งหลายสิบครั้ง บางครั้งกลุ่มสะเก็ดดาวปรากฏตัวอยู่บนท้องฟ้า เป็นแผ่นหนาเหมือนหิมะกลุ่มละอองสะเก็ดดาวในวงโคจรบางครั้งมีลักษณะเหมือนกลุ่มละออง สะเก็ดดาวในดาวหาง เรื่องนี้เป็นหลักฐานแสดง ให้เห็นว่าดาวหางและกลุ่มสะเก็ดดาวมีความเกี่ยวพันกันนักดาราศาสตร์มีความเห็นว่าสสาร ของสะเก็ดดาว คือส่วนที่หลงเหลือจากการสลายตัวของดาวหางบางดวง

               ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอุกกาบาต เช่น
ฝนอุกกาบาต(meteor showers) คือขณะที่โลกโคจรไปพบอุกกาบาตที่มาด้วยกันเป็นกลุ่มใหญ่อุกกาบาตนี้จะตกลงมาในเวลาอันรวดเร็ว                                                         เป็นจำนวนมาก
กลุ่มอุกกาบาต(meteor warm)   คืออุกกาบาตซึ่งโคจรเป็นกลุ่มมีวงโคจรเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์ไม่หนาแน่น ประมาณ 14 ชิ้น/2ล้านลูกบาศก์ไมล์
ธารอุกกาบาต(meteor steam)   คือกลุ่มอุกกาบาตที่แผ่กระจายออกมาตามความโค้งวงทางโคจรทำให้ดูเหมือนว่าอุกกาบาตนั้นเคลื่อนที่ในอวกาศ                                                        เป็นสายธาร

The Nebula

                            คำว่า"เนบิวลา"นักดาราศาสตร์ใช้เรียกสิ่งที่ปรากฏเป็นเมฆหมอกฝ้าอยู่คงที่ในท่ามกลางดวงดาว บนท้องฟ้า อาจจะปรากฏเป็นแสงสว่างเรือง หรือ มืดสนิทก็ได้ เรามองเห็นเนบิวลาได้ยาก เพราะแม้ชนิดที่สว่างก็มีแสงจาง แผ่กรจายไม่รวมกันเข้มเป็นจุดสว่างดังเช่นดาวฤกษ์ เราจึงสามารถเห็นเนบิวลาบนท้องฟ้าด้วยตาเปล่าได้เพียง 4 แห่ง ในขณะที่สามารถเห็นดาวฤกษ์ด้วยตาเปล่าถึงราว 5,000 ดวง ความจริงเนบิวลามีอยู๋เป็นปริมาณมากมายไม่น้อย การที่เราจะตรวจพบหรือไม่ขึ้นอยู่กับความไวของอุปกรณ์ที่ใช้สำรวจ เนบิวลาที่อยู๋ในระบบทางช้างเผือกของเรา เรียกว่า กาแลคติคเนบิวลา Galaxtic Nebula ซึ่งเป็นกลุ่มก๊าซที่มีความสัมพันธ์ทางใดทางหนึ่งกับดาวฤกษ์ หรือกลุ่มดาวในกาแลกซี ซึ่งดวงอาทิตย์ของเราเป็นสมาชิกหน่วยหนึ่ง ตัวอย่างของ Galaxtic Nebulaชนิดแผ่กระจายได้แก่ กลุ่มที่อยู๋ในหมู่ดาว ออไรน นับเป็นกลุ่มก๊าซและฝุ่นซึ่งใหญ่โตกลุ่มหนึ่งในกาแลกซี กินอาณาเขตกว้างขวางในอวกาศ แผ่คลุมดาวฤกษ์อยู่ภายในองค์ประกอบสำคัญ คือ Hydrogen Helium มากที่สุด และนอกนั้นก็มี Oxygen และ Nitrogen เป็นต้น เนบิวลานี้เรืองเสงเพราะถูกกระตุ้นด้วยUVจากดาวฤกษืซึ่งอยู่ภายใน และบางส่วนของก๊าซและฝุ่นที่อยู่เบื้องหลังไกลออกไป จึงปรากฏเป็นเนบิวลามืด กาแลคติคเนบิวลาชนิดเป็นดวง นั้นเป็นกลุ่มก๊าซรูปทรงกลมซึ่งแผ่กระจายออกมาจากการระเบิดของดาวฤกษ์ และปรากฏให้เห็นหลายดวงบนท้องฟ้า เช่นที่เรียกกันว่า เนบิวลาวงแหวน เนบิวลาปู เนบิวลานกฮูก เป็นต้น ตามความคล้ายคลึงกับรูปสิ่งของ สัตว์ที่มนุษย์คุ้นเคยกันทั่วไป

                    เนบิวลานอกกาแลกซี หรือ สไปราลเนบิวลา นั้นเป็นวัตถุจำพวกที่อยู๋ห่างไกลออกไปนอกกาแลกซีของเรา เป็นต้นว่า เมฆแมคเยลแลน ซึ่งเห็นได้ด้วยตาเปล่าบนท้องฟ้าของซีกโลกภาคใต้ อยู่ห่างไป 150,000 ปีแสง หรืออาจจะมากกว่านั้นก็เป็นได้เช่น สไปราลเนบิวลา ที่อยู่ในทิศทางของหมู่ดาวอันโดรเมดาซึ่งอยู่ห่างออกไปถึง 2,200,000 ปีแสง ข้างล่างจะเป็นลักษณะของเนบิวลานะ

: 10 มิถุนายน 2540 เวลา 0.33 น. กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสสิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล Losmandy G-11 เนบิวลาอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ตำแหน่ง R.A. 18h 02m Dec -23o02' อันดับความสว่าง 8.5 ฟิล์ม Kodak Multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 45 นาที

: 4 มิถุนายน 2540 เวลา 2.03 น.
ใช้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสซิเกรน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที ฟิล์ม Kodak Multispeed ตำแหน่ง 18h20m, -16o11'
อันดับความสว่าง 7.6 อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู (Ophiuchus)

: 15 มีนาคม 2540 เวลา 3.00 น.
กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง แบบชมิดท์แคสซิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
อันดับความสว่าง 5.8 อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู (Sagittarius)
ฟิล์ม Kodak multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที


สัญลักษณ์ของดวงอาทิตย์   -------------->>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>            

ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ชั้น G2  เป็นเพียงสมาชิกหนึ่งในบรรดาดาวฤกษ์หนึ่งแสนล้านดวง ในกาแล๊กซี่ทางช้างเผือก

เส้นผ่านศูนย์กลาง: 1,390,000 ก.ม.
มวล: 1.989 x 1030 ก.ก.
อุณหภูมิ: 5800 เคลวิน (พื้นผิว) 15,600,000 K (แกน)

ดวงอาทิตย์ เป็นเทหวัตถุ ที่ใหญ่ที่สุด ในระบบสุริยะ คิดเป็นมวลมากกว่า 99.8% ของมวลทั้งระบบ (ที่เหลือเกือบทั้งหมดเป็น
ดาวพฤหัสบด )

ด วงอาทิตย์ มีชื่อเรียกหลายชื่อในเทพนิยาย: กรีกเรียกว่า เฮลิออส โรมันเรียกว่า ซอล

ในปัจจุบันดวงอาทิตย์ประกอบด้วย ไฮโดรเจน 75% และ ฮีเลียม 25% นับโดยมวล (ไฮโดรเจน 92.1% และฮีเลียม 7.8% นับโดยจำนวนอะตอม) ที่เหลือจำนวน 0.1% เป็น "โลหะ"  X ส่วนเหล่านี้เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ โดยดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจนในแกนของมันให้กลายเป็นฮีเลียม

ชั้นนอกของดวงอาทิตย์มีการเคลื่อนที่แบบ differential rotation กล่าวคือ ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตร หมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบใช้เวลา 25.4 วัน แต่บริเวณขั้ว หมุนหนึ่งรอบใช้เวลาถึง 36 วัน พฤติกรรมเช่นนี้แสดงว่าดวงอาทิตย์มิได้เป็นของแข็ง (solid body) เฉกเข่นโลก แต่คล้ายกับ ดาวเคราะห์แก๊ส ลักษณะการหมุนเช่นนี้เกิดขึ้นในแนวลึกลงไปด้วย ยกเว้นตรงแกนของดวงอาทิตย์ หมุนรอบตัวในลักษณะแบบของแข็ง

แกนของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิสูงถึง 15.6 ล้านเคลวิน และมีความกดดัน 250 พันล้าน หน่วยบรรยากาศ แก๊สที่แกนกลางถูกอัดตัวให้มีความหนาแน่นมากกว่าน้ำถึง 150 เท่า

พลังงานของดวงอาทิตย์  ผลิตโดยปฏิกริยา นิวเคลียร์ฟิวชั่น ทุก ๆ หนึ่งวินาที ดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจน 700,000,000 ตัน ให้กลายเป็นฮีเลียม 695,000,000 ตัน และพลังงานในรูปของรังสีแกมม่าอีกจำนวน 5,000,000 ตัน พุ่งตรงมายังพื้นผิว จากนั้นพลังงานถูกดูดกลืนเข้าไปและเปล่งออกอีก ทำให้อุณหภูมิลดต่ำลงเมื่อถึงพื้นผิว กลายเป็นแสงที่เรามองเห็นได้; ณ ข่วง 20% สุดท้ายก่อนที่จะถึงพื้นผิว พลังงานส่วนใหญ่ม้วนตัวกลับ ( convection ) มากกว่าที่จะแผ่รังสีออก

 พื้นผิวของดวงอาทิตย์เรียกว่า ชั้นโฟโตสเฟียร์ มีอุณหภมิประมาณ 5,800 เคลวิน; จุดบนดวงอาทิตย์ (Sunspots) เป็นย่านที่อุณหภูมิต่ำเพียง 3,800 เคลวิน (มันดูมืดเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณรอบ ๆ) จุดบนดวงอาทิตย์อาจมีขนาดใหญ่ถึง 50,000 ก.ม. มันเกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สลับซับซ้อน และยังไม่เข้าใจดีนัก ว่าเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์อย่างไร

เหนือขึ้นมาจากชั้นโฟโตสเฟียร์ มีชั้นเล็ก ๆ เรียกว่า โครโมสเฟียร์

 ชั้นที่อยู่เหนือโครโมสเฟียร์ เราเรียกว่า โคโรน่า มันแผ่ออกไปในอวกาศหลายล้านกิโลเมตร แต่จะมองเห็นได้เฉพาะเวลาที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงเท่านั้น โคโคน่ามีอุณหภูมิสูงมากกว่า 1,000,000 เคลวิน

ส นามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์มีความเข้มและซับซ้อนมาก เขต แมกเนโตสเฟียร์ (ซึ่งบางทีเรียกว่า เฮลิโอสเฟียร์) แผ่ขยายออกไปไกลกว่า ดาวพลูโต

 นอกเหนือจากความร้อนและแสง ดวงอาทิตย์แพร่อนุภาคความหนาแน่นต่ำ (ส่วนมากเป็นอิเล็กตรอนและโปรตอน) ซึ่งรู้จักกันในนามของลมสุริยะ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 450 ก.ม./วินาที ลมสุริยะและอนุภาคซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า ถูกพ่นออกโดย solar flares สามารถรบกวนสายไฟฟ้าแรงสูง คลื่นวิทยุะ และทำให้เกิดปรากฏการณ์แสงเหนือแสงใต้ที่งดงาม

 ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณ 4.5 ล้านปี นับตั้งแต่กำเนิดมามันได้เผาผลาญไฮโดรเจนในแกนของมันไปประมาณครึ่งหนึ่ง มันยังคงแผ่รังสีอย่างสงบต่อไปอีกประมาณ 5 ล้านปี (ความสว่างจะมากขึ้นเป็นสองเท่าเมื่อถึงเวลานั้น) และเมื่อไฮโดรเจนหมดลง ขนาดของมันจะใหญ่ขึ้นจนกลืนโลกเข้าไป 

ดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์น้อยเป็นเทห์วัตถุ บนท้องฟ้า อีกชนิดหนึ่ง และเป็นบริวาร ที่โคจรรอบ ดวงอาทิตย์คล้ายๆ ดาวเคราะห์ แต่มักมีขนาดเล็ก โดยส่วนใหญ่ จะโคจรอยู่ในบริเวณ ระหว่าง ดาวอังคาร และดาวพฤหัส ข้อมูลปัจจุบัน ประมาณว่า มีดาวเคราะห์น้อย อยู่ประมาณ 30,000 ดวง ถึง 50,000 ดวง แต่มีเพียงไม่กี่ดวง ที่สามารถใช้ กล้องโทรทัศน์ขนาดเล็ก ส่องดูได้ ดาวเคราะห์น้อย บางดวงมีวงโคจร เปลี่ยนไป เปลี่ยนมา เมื่อโคจรผ่านดาวเคราะห์ ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัส จะถูกแรงดึงดูด รบกวนจน ทำให้วงโคจร ของดาวเคราะห์น้อย แปรเปลี่ยนไป ซึ่งบางดวง อาจโคจร เข้ามาใกล้โลกของเรา และอาจจะเกิด อันตรายต่อโลก ของเราได้ แต่มีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยมาก แต่ก็มีการนำเรื่อง ดังกล่าว ไปสร้าง เป็นภาพยนตร์ ที่หลายคน อาจจะได้ดูเมื่อ เร็วๆนี้ คือเรื่อง "Armageddon" ที่ทำเงิน จากการฉายทั่วโลกได้มากมาย   อืมเรื่องนี้ไม่มีรูปประกอบนะหาไม่ได้อ่ะ

ดาวหาง

ดาวหางเป็นเทหวัตถุมีมวลน้อยมาก หมุนอยู่รอบดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกับสมาชิกอื่นๆในระบบสุริยจักรวาลของเรา รูปร่างและความสว่างของดาวหางแต่ละดวงมีความแตกต่างกันออกไปตามระยะทางที่มันอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์ ดาวหางดวงที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นระยะทางไกลๆจะมีความสว่างน้อยมาก มองเห็นคล้ายๆว่าเป็นดวงดาวดวงหนึ่งเท่านั้น ส่วนประกอบสำคัญของดาวหางคือเทหวัตถุขนาดเล็กๆอยู่ในบริเวณตอนหัวของมันเรียกว่า นิวเคลียส

ปรากฏการณ์ของดาวหาง

ในอดีตมนุษย์มักจะมีความหวาดกลัวปรากฏการณ์ของดาวหางทั้งนี้เพราะมองเห็นว่าดาวหางปรากฏตัวขึ้นมาอย่าง กะทันหัน และมีแสงสุกใสมีเส้นทางโคจรลึกลับและบางครั้งดาวหางก็เปลี่ยนแปลงรูปร่างของมันไปอย่างรวดเร็ว

การโคจรของดาวหาง

วงโคจรของมันจะมีรูปทรงกรวยโดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลาง ชนิดของรูปทรงกรวยขึ้นอยู่กับลักษณะ การโคจรไม่เป็นวงกลมของมันคือ 2 และขึ้นอยู่กับความเร็วของดาวหางที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ใกล้ที่สุดคือระยะทาง เส้นทางโคจรของดาวหางมีความซับซ้อนมากกว่าที่กล่าวมาแล้วเพราะว่าดาวหางจะถูกรบกวนขณะเดินทางจากแรงดึงดูด ของดาวเคราะห์ ซึ่งบางครั้งมีผลกระทบต่อเส้นทางโคจรของมันเพียงเล็กน้อย แต่บางครั้งก็จะมีผลกระทบต่อเส้นทางเดินของดาวหาง ดวงนั้นเป็นอย่างมาก ดาวหางยิ่งเดินทางผ่านดาวเคราะห์มากเท่าใด ดาวหางดวงนั้นย่อมได้รัยอิทธิพลจากแรงดึงดูดของดาวเคราะห์ ดวงนั้นมากเท่านั้น ยิ่งดาวพฤหัสบดีซึ่งมีมวลมากส่งผลกระทบต่อวงโคจรของดาวหางมาก

The FireBall-The Meteor

                              อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

                              สะเก็ดดาวหรือดาวตก มองเห็นวิ่งผ่านชั้นบรรยากาศของโลกเป็นแสงสว่างแล้วก็หายไป สะเก็ดดาวตกอาจเป็นวัตถุแข็งๆ มีขนาดไม่โตกว่าเม็ดทรายหรืออาจมีขนาดเท่าๆกับเม็ดถั่วลิสงเท่านั้น แสงสว่างเกิดขึ้นมาเพราะการเสียดสีระหว่างอะตอมของสะเก็ดดาวตก กับโมเลกุลของอากาศของโลก สะเก็ดดาวตกเช่นนั้นมองเห็นมีแสงสว่างสะเก็ดดาวตกเช่นนั้นจะหายไปใน บรรยากาศของโลกในระดับความสูงประมาณ 60 ไมล์(95 กิโลเมตร) เทห์แข็งๆของสะเก็ดดาวบางครั้งมีมวลเพียงไม่กี่ออนซ์ จนถึงมีนำหนักหลายตันอาจหล่นมาถึงผิวโลกเรียกว่า อุกกาบาต สะเก็ดดาวบางครั้งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงไม่กี่ไมครอน วิ่งผ่านบรรยากาศและหล่นมาถึงผิวโลก เหลือเป็นอนุภาคเล็กๆ เมื่อโคจรผ่านสะเก็ดดาว ซึ่งเคลื่อนไหว ในวงโคจรรอบๆดวงอาทิตย์ จะมีจำนวนดาวตก จำนวนมากวิ่งผ่านเข้ามาในบรรยากาศของโลกชั่วโมง หนึ่งหลายสิบครั้ง บางครั้งกลุ่มสะเก็ดดาวปรากฏตัวอยู่บนท้องฟ้า เป็นแผ่นหนาเหมือนหิมะกลุ่มละอองสะเก็ดดาวในวงโคจรบางครั้งมีลักษณะเหมือนกลุ่มละออง สะเก็ดดาวในดาวหาง เรื่องนี้เป็นหลักฐานแสดง ให้เห็นว่าดาวหางและกลุ่มสะเก็ดดาวมีความเกี่ยวพันกันนักดาราศาสตร์มีความเห็นว่าสสาร ของสะเก็ดดาว คือส่วนที่หลงเหลือจากการสลายตัวของดาวหางบางดวง

               ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอุกกาบาต เช่น
ฝนอุกกาบาต(meteor showers) คือขณะที่โลกโคจรไปพบอุกกาบาตที่มาด้วยกันเป็นกลุ่มใหญ่อุกกาบาตนี้จะตกลงมาในเวลาอันรวดเร็ว                                                         เป็นจำนวนมาก
กลุ่มอุกกาบาต(meteor warm)   คืออุกกาบาตซึ่งโคจรเป็นกลุ่มมีวงโคจรเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์ไม่หนาแน่น ประมาณ 14 ชิ้น/2ล้านลูกบาศก์ไมล์
ธารอุกกาบาต(meteor steam)   คือกลุ่มอุกกาบาตที่แผ่กระจายออกมาตามความโค้งวงทางโคจรทำให้ดูเหมือนว่าอุกกาบาตนั้นเคลื่อนที่ในอวกาศ                                                        เป็นสายธาร

The Nebula

                            คำว่า"เนบิวลา"นักดาราศาสตร์ใช้เรียกสิ่งที่ปรากฏเป็นเมฆหมอกฝ้าอยู่คงที่ในท่ามกลางดวงดาว บนท้องฟ้า อาจจะปรากฏเป็นแสงสว่างเรือง หรือ มืดสนิทก็ได้ เรามองเห็นเนบิวลาได้ยาก เพราะแม้ชนิดที่สว่างก็มีแสงจาง แผ่กรจายไม่รวมกันเข้มเป็นจุดสว่างดังเช่นดาวฤกษ์ เราจึงสามารถเห็นเนบิวลาบนท้องฟ้าด้วยตาเปล่าได้เพียง 4 แห่ง ในขณะที่สามารถเห็นดาวฤกษ์ด้วยตาเปล่าถึงราว 5,000 ดวง ความจริงเนบิวลามีอยู๋เป็นปริมาณมากมายไม่น้อย การที่เราจะตรวจพบหรือไม่ขึ้นอยู่กับความไวของอุปกรณ์ที่ใช้สำรวจ เนบิวลาที่อยู๋ในระบบทางช้างเผือกของเรา เรียกว่า กาแลคติคเนบิวลา Galaxtic Nebula ซึ่งเป็นกลุ่มก๊าซที่มีความสัมพันธ์ทางใดทางหนึ่งกับดาวฤกษ์ หรือกลุ่มดาวในกาแลกซี ซึ่งดวงอาทิตย์ของเราเป็นสมาชิกหน่วยหนึ่ง ตัวอย่างของ Galaxtic Nebulaชนิดแผ่กระจายได้แก่ กลุ่มที่อยู๋ในหมู่ดาว ออไรน นับเป็นกลุ่มก๊าซและฝุ่นซึ่งใหญ่โตกลุ่มหนึ่งในกาแลกซี กินอาณาเขตกว้างขวางในอวกาศ แผ่คลุมดาวฤกษ์อยู่ภายในองค์ประกอบสำคัญ คือ Hydrogen Helium มากที่สุด และนอกนั้นก็มี Oxygen และ Nitrogen เป็นต้น เนบิวลานี้เรืองเสงเพราะถูกกระตุ้นด้วยUVจากดาวฤกษืซึ่งอยู่ภายใน และบางส่วนของก๊าซและฝุ่นที่อยู่เบื้องหลังไกลออกไป จึงปรากฏเป็นเนบิวลามืด กาแลคติคเนบิวลาชนิดเป็นดวง นั้นเป็นกลุ่มก๊าซรูปทรงกลมซึ่งแผ่กระจายออกมาจากการระเบิดของดาวฤกษ์ และปรากฏให้เห็นหลายดวงบนท้องฟ้า เช่นที่เรียกกันว่า เนบิวลาวงแหวน เนบิวลาปู เนบิวลานกฮูก เป็นต้น ตามความคล้ายคลึงกับรูปสิ่งของ สัตว์ที่มนุษย์คุ้นเคยกันทั่วไป

                    เนบิวลานอกกาแลกซี หรือ สไปราลเนบิวลา นั้นเป็นวัตถุจำพวกที่อยู๋ห่างไกลออกไปนอกกาแลกซีของเรา เป็นต้นว่า เมฆแมคเยลแลน ซึ่งเห็นได้ด้วยตาเปล่าบนท้องฟ้าของซีกโลกภาคใต้ อยู่ห่างไป 150,000 ปีแสง หรืออาจจะมากกว่านั้นก็เป็นได้เช่น สไปราลเนบิวลา ที่อยู่ในทิศทางของหมู่ดาวอันโดรเมดาซึ่งอยู่ห่างออกไปถึง 2,200,000 ปีแสง ข้างล่างจะเป็นลักษณะของเนบิวลานะ

: 10 มิถุนายน 2540 เวลา 0.33 น. กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสสิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล Losmandy G-11 เนบิวลาอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ตำแหน่ง R.A. 18h 02m Dec -23o02' อันดับความสว่าง 8.5 ฟิล์ม Kodak Multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 45 นาที

: 4 มิถุนายน 2540 เวลา 2.03 น.
ใช้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสซิเกรน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที ฟิล์ม Kodak Multispeed ตำแหน่ง 18h20m, -16o11'
อันดับความสว่าง 7.6 อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู (Ophiuchus)

: 15 มีนาคม 2540 เวลา 3.00 น.
กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง แบบชมิดท์แคสซิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
อันดับความสว่าง 5.8 อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู (Sagittarius)
ฟิล์ม Kodak multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที

 
การจำแนกดาวเคราะห์ที่เป็นบริวารของดวงอาทิตย์
1.ใช้ตำแหน่งโลกเป็นหลัก ดาวเคราะห์ใดมีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่ในวงโคจรโลก เรียกว่า"ดาวเคราะห์วงใน(Inferior Planets)  ดาวเคราะห์ใดมีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์นอกวงโคจรโลก เรียกว่า"ดาวเคราะห์วงนอก(Superior Planets)"
2.ใช้ตำแหน่งดาวเคราะห ์น้อยเป็นหลัก โดยแบ่งเป็น 2 พวก คือดาวเคราะห์ที่มีวงโคจรของดาวเคราะห์น้อยเรียกว่า"ดาวเคราะห์ใน(inner planets)"ดาวเคราะห์ที่มีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่นอกวงโคจรดาวเคราะห์น้อยเรียกว่า"ดาวเคราะห์นอก(super planets)"
3.ใช้สมบัติทางฟิสิกส์ ดาวเคราะห์ใดมีสมบัติทางฟิสิกส์คล้ายกับโลกเช่น มีขนาดเล็กเรียก Terrestrid Planetsดาวเคราะห์ที่คล้ายดาวเคราะห์ขนาดใหญ่เรียกว่า Jovian Planets
 วิเคราะห์ลักษณะเด่นของดาวเคราะห์บริวารของดวงอาทิตย์
-ดาวพุธเล็กที่สุด,ดาวพฤหัสใหญ่ที่สุด
-ดาวพุธ,ดาวศุกร์ 2 ดวงนี้รูปร่างเกือบเป็นวงกลมเหมือนดวงจันทร์และดวงอาทิตย์
-ดางศุกร์,ดาวเนปจูนมีวงทางโคจรรอบดวงอาทิตย์เกือบเป็นวงกลม
-โลกเป็นดาวที่มีมนุษย์อาศัยอยู่


                                      


มวลของสมาชิกในระบบสุริยะ
ดวงอาทิตย์ 99.85 %
เหล่าดาวเคราะห์ 0.135 %
เหล่าดาวหาง 0.01 %
บริวารของดาวเคราะห์ 0.00005 %
ดาวเคราะห์น้อย 0.0000002 %
อุกกาบาต 0.0000001 %

องค์ประกอบของระบบสุริยะ
ระบบสุริยะประกอบด้วยดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางและเหล่าสมาชิกโคจรโดยรอบ คือ ดาวเคราะห์ 9 ดวง บริวารของดาวเคราะห์ ดาวหาง ดาวเคราะห์น้อยและอุกกาบาต เมื่อเปรียบเทียบมวลของสมาชิกในระบบสุริยะ ดวงอาทิตย์มีมวลมากที่สุดถึง 99.85% ขณะที่ดาวเคราะห์ทุกดวงรวมกันมีมวลเพียง 0.01355 % ซึ่งดาวพฤหัสบดีมีมวลสูงเป็น 2.5 เท่าของมวลดาวเคราะห์อื่น ๆ ทุกดวงรวมกัน
ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งกำเนิดพลังงานที่ใหญ่ที่สุดแผ่พลังงานออกไปในระบบสุริยะโดยรอบในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

ขนาดของระบบสุริยจักรวาล
การวัดระยะทางภายในระบบสุริยจักรวาลใช้ระบบการวัดหลายระบบด้วยกัน ส่วนใหญ่จะใช้หน่วยวัดเป็นไมล์ ระยะทาง จากดวงอาทิตย์ไปยังดาวเคราะห์ที่ไกลที่สุดที่ค้นพบว่ามีอยู่ปัจจุบัน คือ ดาวเคราะห์พลูโต มีระยะทาง 39.4 หน่วยดาราศาสตร์ในขณะดวงดาว(ดาวฤกษ์)ที่อยู่ ใกล้เรามากที่สุดห่างออกไป 1.33 พาร์เซค (4.35 ปีแสง) วงโคจรของดาวหาง ซึ่งเป็นวงยาวรืมากจะเป็นวงจรอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ไกลออกไปหลายร้อยหรือหลายพัน หน่วยดาราศาสตร์ แต่บริเวณเลยดาวเคราะห์พลูโตออกไป เป็นบริเวณกว้างใหญ่ไพศาลของอวกาศที่มีแต่ความว่างเปล่า ดังนั้นสมาชิกของระบบสุริยจักรวาล จึงห้อมล้อม ด้วยอวกาศและเมื่อเปรียบขนาดของสุริยจักรวาลกับขนาดของกาแลคซี่ทางช้างเผือกซึ่งสุริยจักรวาลของเราเป็นสมาชิกอยู่ ระบบสุริยจักรวาลจะเป็นเพียงจุดเล็กๆจุดหนึ่ง ที่ปราศจากความสำคัญใดๆและจะกลายเป็นเรื่องยากลำบากยิ่ง ในการค้นหาระบบสุริยจักรวาลของเราให้พบเมื่อสังเกตการณ์จากดวงดาวที่อยู่ใกล้สุริยจักรวาลที่สุด ยกเว้น แต่จะมองเห็นดวงอาทิตย์ของเราเพียงดวงเดียวเท่านั้น

ตำแหน่งของระบบสุริยะในกาแล็กซีทางช้างเผือก
ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ดวงหนึ่ง อยู่ในอาณาจักแห่งดวงดาว ที่เรียกว่า กาแล็กซีทางช้างเผือก (The milky Way) หรือ กาแล็กซีของเรา ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกดาวฤกษ์มากมายประมาณ 2 แสนล้านดวง มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 แสนปีแสง ระบบสุริยะอยู่ห่างจากศูนย์กลางราว 32600 ปีแสง ดวงอาทิตย์พาเหล่าบริวารโคจรครบรอบกาแล็กซีในเวลา 225 ล้านปี
เมื่อมองจากอวกาศเหนือขั้วโลกเหนือของดวงอาทิตย์ สมาชิกในระบบสุริยะโคจรรอบดวงอาทิตย์ในทิศทาง ทวนเข็มนาฬิกาไปทางเดียวกัน
ดาวเคราะห์ทั้งหลายต่างโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่ในระนาบใกล้เคียงกัน กับระนาบที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ซึ่งเรียกว่า ระนาบสุริยวิถี (Ecliptic) มีแต่ดาวพลูโตดวงเดียวที่มีวงโคจรรีมาก และเอียงออกจากระนาบสุริยวิถีมากถึง 18 องศา

กำเนิดระบบสุริยะ
สันนิษฐานว่าระบบสุริยะมีกำเนิดมาจากกลุ่มก๊าซและฝุ่นขนาดมหึมาที่หมุนรอบศูนย์กลางเมื่อประมาณ 5000 ล้านปีก่อน มวลสารหมุนวนทำให้มีลักษณะเป็นจานแบนเมื่ออุณหภูมิรอบนอกค่อย ๆเย็นตัวลง มวลสารรวมตัวกันเกิดเป็นดาวเคราะห์และสมาชิกบริวารโคจรรอบดวงอาทิตย์ไปทางเดียวกันและอยู่ในระนาบใกล้เคียงกัน เช่นทุกวันนี้

ประเภทของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ
ดาวเคราะห์ชั้นใน (Inner Planets)
เป็นกลุ่มดาวเคราะห์ทีมีลักษณะคล้ายโลก (The Terrestrial Planet) คือมีพื้นผิวเป็นหินแข็งอย่างโลก ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคาร ขณะที่ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคารมีบรรยากาศห่อหุ้มชัดเจน แต่ดาวพุธเกือบไม่มีบรรยากาศเลย

ดาวเคราะห์ชั้นนอก (Outer Planets)
เป็นกลุ่มดาวเคราะห์ที่มีลักษณะคล้ายดาวพฤหัสบดี (The Jovian Planets) คือเป็นดาวเคราะห์ก๊าซซึ่งอาจมีแกนแข็งขนาดเล็กอยู่ที่ใจกลางและ มีขนาดใหญ่มากเมื่อเทียบกับโลกได้แก่ ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน

ดาวพลูโตดวงโดดเดี่ยว
ดาวพลูโตเป็นดาวเคราะห์ที่มีลักษณะพิเศษประกอบด้วยหินและน้ำแข็งจึงมีลักษณะคล้ายโลก แต่วงโคจรไกลเลยจากวงโคจรของดาวเนปจูนออกไป มนุษย์ยังมีความรรู้เรื่องดาวพลูโตน้อยมาก เนื่องจากวงโคจรของดาวพลูโตเอียงออกจากระนาบของ สุริยวิถีมากจึงมีบางช่วงนานราว 20 ปี ที่ดาวพลูโตโคจรอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าดาวเนปจูน บรรยากาศอาจเกิดจากมีเทนแข็งระเหิด ขณะเมื่อพลูโตเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ แต่เมื่ออยู่ไกลจากดวงอาทิตย์ตามปกติ ดาวพลูโตอาจเย็นจัดเป็นก้อนน้ำแข็งและไม่มีบรรยากาศก็เป็นได้


สัญลักษณ์ของดวงอาทิตย์   -------------->>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>            

ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ชั้น G2  เป็นเพียงสมาชิกหนึ่งในบรรดาดาวฤกษ์หนึ่งแสนล้านดวง ในกาแล๊กซี่ทางช้างเผือก

เส้นผ่านศูนย์กลาง: 1,390,000 ก.ม.
มวล: 1.989 x 1030 ก.ก.
อุณหภูมิ: 5800 เคลวิน (พื้นผิว) 15,600,000 K (แกน)

ดวงอาทิตย์ เป็นเทหวัตถุ ที่ใหญ่ที่สุด ในระบบสุริยะ คิดเป็นมวลมากกว่า 99.8% ของมวลทั้งระบบ (ที่เหลือเกือบทั้งหมดเป็น
ดาวพฤหัสบด )

ด วงอาทิตย์ มีชื่อเรียกหลายชื่อในเทพนิยาย: กรีกเรียกว่า เฮลิออส โรมันเรียกว่า ซอล

ในปัจจุบันดวงอาทิตย์ประกอบด้วย ไฮโดรเจน 75% และ ฮีเลียม 25% นับโดยมวล (ไฮโดรเจน 92.1% และฮีเลียม 7.8% นับโดยจำนวนอะตอม) ที่เหลือจำนวน 0.1% เป็น "โลหะ"  X ส่วนเหล่านี้เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ โดยดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจนในแกนของมันให้กลายเป็นฮีเลียม

ชั้นนอกของดวงอาทิตย์มีการเคลื่อนที่แบบ differential rotation กล่าวคือ ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตร หมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบใช้เวลา 25.4 วัน แต่บริเวณขั้ว หมุนหนึ่งรอบใช้เวลาถึง 36 วัน พฤติกรรมเช่นนี้แสดงว่าดวงอาทิตย์มิได้เป็นของแข็ง (solid body) เฉกเข่นโลก แต่คล้ายกับ ดาวเคราะห์แก๊ส ลักษณะการหมุนเช่นนี้เกิดขึ้นในแนวลึกลงไปด้วย ยกเว้นตรงแกนของดวงอาทิตย์ หมุนรอบตัวในลักษณะแบบของแข็ง

แกนของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิสูงถึง 15.6 ล้านเคลวิน และมีความกดดัน 250 พันล้าน หน่วยบรรยากาศ แก๊สที่แกนกลางถูกอัดตัวให้มีความหนาแน่นมากกว่าน้ำถึง 150 เท่า

พลังงานของดวงอาทิตย์  ผลิตโดยปฏิกริยา นิวเคลียร์ฟิวชั่น ทุก ๆ หนึ่งวินาที ดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจน 700,000,000 ตัน ให้กลายเป็นฮีเลียม 695,000,000 ตัน และพลังงานในรูปของรังสีแกมม่าอีกจำนวน 5,000,000 ตัน พุ่งตรงมายังพื้นผิว จากนั้นพลังงานถูกดูดกลืนเข้าไปและเปล่งออกอีก ทำให้อุณหภูมิลดต่ำลงเมื่อถึงพื้นผิว กลายเป็นแสงที่เรามองเห็นได้; ณ ข่วง 20% สุดท้ายก่อนที่จะถึงพื้นผิว พลังงานส่วนใหญ่ม้วนตัวกลับ ( convection ) มากกว่าที่จะแผ่รังสีออก

 พื้นผิวของดวงอาทิตย์เรียกว่า ชั้นโฟโตสเฟียร์ มีอุณหภมิประมาณ 5,800 เคลวิน; จุดบนดวงอาทิตย์ (Sunspots) เป็นย่านที่อุณหภูมิต่ำเพียง 3,800 เคลวิน (มันดูมืดเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณรอบ ๆ) จุดบนดวงอาทิตย์อาจมีขนาดใหญ่ถึง 50,000 ก.ม. มันเกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สลับซับซ้อน และยังไม่เข้าใจดีนัก ว่าเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์อย่างไร

เหนือขึ้นมาจากชั้นโฟโตสเฟียร์ มีชั้นเล็ก ๆ เรียกว่า โครโมสเฟียร์

 ชั้นที่อยู่เหนือโครโมสเฟียร์ เราเรียกว่า โคโรน่า มันแผ่ออกไปในอวกาศหลายล้านกิโลเมตร แต่จะมองเห็นได้เฉพาะเวลาที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงเท่านั้น โคโคน่ามีอุณหภูมิสูงมากกว่า 1,000,000 เคลวิน

ส นามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์มีความเข้มและซับซ้อนมาก เขต แมกเนโตสเฟียร์ (ซึ่งบางทีเรียกว่า เฮลิโอสเฟียร์) แผ่ขยายออกไปไกลกว่า ดาวพลูโต

 นอกเหนือจากความร้อนและแสง ดวงอาทิตย์แพร่อนุภาคความหนาแน่นต่ำ (ส่วนมากเป็นอิเล็กตรอนและโปรตอน) ซึ่งรู้จักกันในนามของลมสุริยะ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 450 ก.ม./วินาที ลมสุริยะและอนุภาคซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า ถูกพ่นออกโดย solar flares สามารถรบกวนสายไฟฟ้าแรงสูง คลื่นวิทยุะ และทำให้เกิดปรากฏการณ์แสงเหนือแสงใต้ที่งดงาม

 ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณ 4.5 ล้านปี นับตั้งแต่กำเนิดมามันได้เผาผลาญไฮโดรเจนในแกนของมันไปประมาณครึ่งหนึ่ง มันยังคงแผ่รังสีอย่างสงบต่อไปอีกประมาณ 5 ล้านปี (ความสว่างจะมากขึ้นเป็นสองเท่าเมื่อถึงเวลานั้น) และเมื่อไฮโดรเจนหมดลง ขนาดของมันจะใหญ่ขึ้นจนกลืนโลกเข้าไป 

ดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์น้อยเป็นเทห์วัตถุ บนท้องฟ้า อีกชนิดหนึ่ง และเป็นบริวาร ที่โคจรรอบ ดวงอาทิตย์คล้ายๆ ดาวเคราะห์ แต่มักมีขนาดเล็ก โดยส่วนใหญ่ จะโคจรอยู่ในบริเวณ ระหว่าง ดาวอังคาร และดาวพฤหัส ข้อมูลปัจจุบัน ประมาณว่า มีดาวเคราะห์น้อย อยู่ประมาณ 30,000 ดวง ถึง 50,000 ดวง แต่มีเพียงไม่กี่ดวง ที่สามารถใช้ กล้องโทรทัศน์ขนาดเล็ก ส่องดูได้ ดาวเคราะห์น้อย บางดวงมีวงโคจร เปลี่ยนไป เปลี่ยนมา เมื่อโคจรผ่านดาวเคราะห์ ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัส จะถูกแรงดึงดูด รบกวนจน ทำให้วงโคจร ของดาวเคราะห์น้อย แปรเปลี่ยนไป ซึ่งบางดวง อาจโคจร เข้ามาใกล้โลกของเรา และอาจจะเกิด อันตรายต่อโลก ของเราได้ แต่มีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยมาก แต่ก็มีการนำเรื่อง ดังกล่าว ไปสร้าง เป็นภาพยนตร์ ที่หลายคน อาจจะได้ดูเมื่อ เร็วๆนี้ คือเรื่อง "Armageddon" ที่ทำเงิน จากการฉายทั่วโลกได้มากมาย   อืมเรื่องนี้ไม่มีรูปประกอบนะหาไม่ได้อ่ะ

ดาวหาง

ดาวหางเป็นเทหวัตถุมีมวลน้อยมาก หมุนอยู่รอบดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกับสมาชิกอื่นๆในระบบสุริยจักรวาลของเรา รูปร่างและความสว่างของดาวหางแต่ละดวงมีความแตกต่างกันออกไปตามระยะทางที่มันอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์ ดาวหางดวงที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นระยะทางไกลๆจะมีความสว่างน้อยมาก มองเห็นคล้ายๆว่าเป็นดวงดาวดวงหนึ่งเท่านั้น ส่วนประกอบสำคัญของดาวหางคือเทหวัตถุขนาดเล็กๆอยู่ในบริเวณตอนหัวของมันเรียกว่า นิวเคลียส

ปรากฏการณ์ของดาวหาง

ในอดีตมนุษย์มักจะมีความหวาดกลัวปรากฏการณ์ของดาวหางทั้งนี้เพราะมองเห็นว่าดาวหางปรากฏตัวขึ้นมาอย่าง กะทันหัน และมีแสงสุกใสมีเส้นทางโคจรลึกลับและบางครั้งดาวหางก็เปลี่ยนแปลงรูปร่างของมันไปอย่างรวดเร็ว

การโคจรของดาวหาง

วงโคจรของมันจะมีรูปทรงกรวยโดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลาง ชนิดของรูปทรงกรวยขึ้นอยู่กับลักษณะ การโคจรไม่เป็นวงกลมของมันคือ 2 และขึ้นอยู่กับความเร็วของดาวหางที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ใกล้ที่สุดคือระยะทาง เส้นทางโคจรของดาวหางมีความซับซ้อนมากกว่าที่กล่าวมาแล้วเพราะว่าดาวหางจะถูกรบกวนขณะเดินทางจากแรงดึงดูด ของดาวเคราะห์ ซึ่งบางครั้งมีผลกระทบต่อเส้นทางโคจรของมันเพียงเล็กน้อย แต่บางครั้งก็จะมีผลกระทบต่อเส้นทางเดินของดาวหาง ดวงนั้นเป็นอย่างมาก ดาวหางยิ่งเดินทางผ่านดาวเคราะห์มากเท่าใด ดาวหางดวงนั้นย่อมได้รัยอิทธิพลจากแรงดึงดูดของดาวเคราะห์ ดวงนั้นมากเท่านั้น ยิ่งดาวพฤหัสบดีซึ่งมีมวลมากส่งผลกระทบต่อวงโคจรของดาวหางมาก

The FireBall-The Meteor

                              อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

                              สะเก็ดดาวหรือดาวตก มองเห็นวิ่งผ่านชั้นบรรยากาศของโลกเป็นแสงสว่างแล้วก็หายไป สะเก็ดดาวตกอาจเป็นวัตถุแข็งๆ มีขนาดไม่โตกว่าเม็ดทรายหรืออาจมีขนาดเท่าๆกับเม็ดถั่วลิสงเท่านั้น แสงสว่างเกิดขึ้นมาเพราะการเสียดสีระหว่างอะตอมของสะเก็ดดาวตก กับโมเลกุลของอากาศของโลก สะเก็ดดาวตกเช่นนั้นมองเห็นมีแสงสว่างสะเก็ดดาวตกเช่นนั้นจะหายไปใน บรรยากาศของโลกในระดับความสูงประมาณ 60 ไมล์(95 กิโลเมตร) เทห์แข็งๆของสะเก็ดดาวบางครั้งมีมวลเพียงไม่กี่ออนซ์ จนถึงมีนำหนักหลายตันอาจหล่นมาถึงผิวโลกเรียกว่า อุกกาบาต สะเก็ดดาวบางครั้งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงไม่กี่ไมครอน วิ่งผ่านบรรยากาศและหล่นมาถึงผิวโลก เหลือเป็นอนุภาคเล็กๆ เมื่อโคจรผ่านสะเก็ดดาว ซึ่งเคลื่อนไหว ในวงโคจรรอบๆดวงอาทิตย์ จะมีจำนวนดาวตก จำนวนมากวิ่งผ่านเข้ามาในบรรยากาศของโลกชั่วโมง หนึ่งหลายสิบครั้ง บางครั้งกลุ่มสะเก็ดดาวปรากฏตัวอยู่บนท้องฟ้า เป็นแผ่นหนาเหมือนหิมะกลุ่มละอองสะเก็ดดาวในวงโคจรบางครั้งมีลักษณะเหมือนกลุ่มละออง สะเก็ดดาวในดาวหาง เรื่องนี้เป็นหลักฐานแสดง ให้เห็นว่าดาวหางและกลุ่มสะเก็ดดาวมีความเกี่ยวพันกันนักดาราศาสตร์มีความเห็นว่าสสาร ของสะเก็ดดาว คือส่วนที่หลงเหลือจากการสลายตัวของดาวหางบางดวง

               ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอุกกาบาต เช่น
ฝนอุกกาบาต(meteor showers) คือขณะที่โลกโคจรไปพบอุกกาบาตที่มาด้วยกันเป็นกลุ่มใหญ่อุกกาบาตนี้จะตกลงมาในเวลาอันรวดเร็ว                                                         เป็นจำนวนมาก
กลุ่มอุกกาบาต(meteor warm)   คืออุกกาบาตซึ่งโคจรเป็นกลุ่มมีวงโคจรเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์ไม่หนาแน่น ประมาณ 14 ชิ้น/2ล้านลูกบาศก์ไมล์
ธารอุกกาบาต(meteor steam)   คือกลุ่มอุกกาบาตที่แผ่กระจายออกมาตามความโค้งวงทางโคจรทำให้ดูเหมือนว่าอุกกาบาตนั้นเคลื่อนที่ในอวกาศ                                                        เป็นสายธาร

The Nebula

                            คำว่า"เนบิวลา"นักดาราศาสตร์ใช้เรียกสิ่งที่ปรากฏเป็นเมฆหมอกฝ้าอยู่คงที่ในท่ามกลางดวงดาว บนท้องฟ้า อาจจะปรากฏเป็นแสงสว่างเรือง หรือ มืดสนิทก็ได้ เรามองเห็นเนบิวลาได้ยาก เพราะแม้ชนิดที่สว่างก็มีแสงจาง แผ่กรจายไม่รวมกันเข้มเป็นจุดสว่างดังเช่นดาวฤกษ์ เราจึงสามารถเห็นเนบิวลาบนท้องฟ้าด้วยตาเปล่าได้เพียง 4 แห่ง ในขณะที่สามารถเห็นดาวฤกษ์ด้วยตาเปล่าถึงราว 5,000 ดวง ความจริงเนบิวลามีอยู๋เป็นปริมาณมากมายไม่น้อย การที่เราจะตรวจพบหรือไม่ขึ้นอยู่กับความไวของอุปกรณ์ที่ใช้สำรวจ เนบิวลาที่อยู๋ในระบบทางช้างเผือกของเรา เรียกว่า กาแลคติคเนบิวลา Galaxtic Nebula ซึ่งเป็นกลุ่มก๊าซที่มีความสัมพันธ์ทางใดทางหนึ่งกับดาวฤกษ์ หรือกลุ่มดาวในกาแลกซี ซึ่งดวงอาทิตย์ของเราเป็นสมาชิกหน่วยหนึ่ง ตัวอย่างของ Galaxtic Nebulaชนิดแผ่กระจายได้แก่ กลุ่มที่อยู๋ในหมู่ดาว ออไรน นับเป็นกลุ่มก๊าซและฝุ่นซึ่งใหญ่โตกลุ่มหนึ่งในกาแลกซี กินอาณาเขตกว้างขวางในอวกาศ แผ่คลุมดาวฤกษ์อยู่ภายในองค์ประกอบสำคัญ คือ Hydrogen Helium มากที่สุด และนอกนั้นก็มี Oxygen และ Nitrogen เป็นต้น เนบิวลานี้เรืองเสงเพราะถูกกระตุ้นด้วยUVจากดาวฤกษืซึ่งอยู่ภายใน และบางส่วนของก๊าซและฝุ่นที่อยู่เบื้องหลังไกลออกไป จึงปรากฏเป็นเนบิวลามืด กาแลคติคเนบิวลาชนิดเป็นดวง นั้นเป็นกลุ่มก๊าซรูปทรงกลมซึ่งแผ่กระจายออกมาจากการระเบิดของดาวฤกษ์ และปรากฏให้เห็นหลายดวงบนท้องฟ้า เช่นที่เรียกกันว่า เนบิวลาวงแหวน เนบิวลาปู เนบิวลานกฮูก เป็นต้น ตามความคล้ายคลึงกับรูปสิ่งของ สัตว์ที่มนุษย์คุ้นเคยกันทั่วไป

                    เนบิวลานอกกาแลกซี หรือ สไปราลเนบิวลา นั้นเป็นวัตถุจำพวกที่อยู๋ห่างไกลออกไปนอกกาแลกซีของเรา เป็นต้นว่า เมฆแมคเยลแลน ซึ่งเห็นได้ด้วยตาเปล่าบนท้องฟ้าของซีกโลกภาคใต้ อยู่ห่างไป 150,000 ปีแสง หรืออาจจะมากกว่านั้นก็เป็นได้เช่น สไปราลเนบิวลา ที่อยู่ในทิศทางของหมู่ดาวอันโดรเมดาซึ่งอยู่ห่างออกไปถึง 2,200,000 ปีแสง ข้างล่างจะเป็นลักษณะของเนบิวลานะ

: 10 มิถุนายน 2540 เวลา 0.33 น. กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสสิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล Losmandy G-11 เนบิวลาอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ตำแหน่ง R.A. 18h 02m Dec -23o02' อันดับความสว่าง 8.5 ฟิล์ม Kodak Multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 45 นาที

: 4 มิถุนายน 2540 เวลา 2.03 น.
ใช้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสซิเกรน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที ฟิล์ม Kodak Multispeed ตำแหน่ง 18h20m, -16o11'
อันดับความสว่าง 7.6 อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู (Ophiuchus)

: 15 มีนาคม 2540 เวลา 3.00 น.
กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง แบบชมิดท์แคสซิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
อันดับความสว่าง 5.8 อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู (Sagittarius)
ฟิล์ม Kodak multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที


สัญลักษณ์ของดวงอาทิตย์   -------------->>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>            

ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ชั้น G2  เป็นเพียงสมาชิกหนึ่งในบรรดาดาวฤกษ์หนึ่งแสนล้านดวง ในกาแล๊กซี่ทางช้างเผือก

เส้นผ่านศูนย์กลาง: 1,390,000 ก.ม.
มวล: 1.989 x 1030 ก.ก.
อุณหภูมิ: 5800 เคลวิน (พื้นผิว) 15,600,000 K (แกน)

ดวงอาทิตย์ เป็นเทหวัตถุ ที่ใหญ่ที่สุด ในระบบสุริยะ คิดเป็นมวลมากกว่า 99.8% ของมวลทั้งระบบ (ที่เหลือเกือบทั้งหมดเป็น
ดาวพฤหัสบด )

ด วงอาทิตย์ มีชื่อเรียกหลายชื่อในเทพนิยาย: กรีกเรียกว่า เฮลิออส โรมันเรียกว่า ซอล

ในปัจจุบันดวงอาทิตย์ประกอบด้วย ไฮโดรเจน 75% และ ฮีเลียม 25% นับโดยมวล (ไฮโดรเจน 92.1% และฮีเลียม 7.8% นับโดยจำนวนอะตอม) ที่เหลือจำนวน 0.1% เป็น "โลหะ"  X ส่วนเหล่านี้เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ โดยดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจนในแกนของมันให้กลายเป็นฮีเลียม

ชั้นนอกของดวงอาทิตย์มีการเคลื่อนที่แบบ differential rotation กล่าวคือ ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตร หมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบใช้เวลา 25.4 วัน แต่บริเวณขั้ว หมุนหนึ่งรอบใช้เวลาถึง 36 วัน พฤติกรรมเช่นนี้แสดงว่าดวงอาทิตย์มิได้เป็นของแข็ง (solid body) เฉกเข่นโลก แต่คล้ายกับ ดาวเคราะห์แก๊ส ลักษณะการหมุนเช่นนี้เกิดขึ้นในแนวลึกลงไปด้วย ยกเว้นตรงแกนของดวงอาทิตย์ หมุนรอบตัวในลักษณะแบบของแข็ง

แกนของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิสูงถึง 15.6 ล้านเคลวิน และมีความกดดัน 250 พันล้าน หน่วยบรรยากาศ แก๊สที่แกนกลางถูกอัดตัวให้มีความหนาแน่นมากกว่าน้ำถึง 150 เท่า

พลังงานของดวงอาทิตย์  ผลิตโดยปฏิกริยา นิวเคลียร์ฟิวชั่น ทุก ๆ หนึ่งวินาที ดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจน 700,000,000 ตัน ให้กลายเป็นฮีเลียม 695,000,000 ตัน และพลังงานในรูปของรังสีแกมม่าอีกจำนวน 5,000,000 ตัน พุ่งตรงมายังพื้นผิว จากนั้นพลังงานถูกดูดกลืนเข้าไปและเปล่งออกอีก ทำให้อุณหภูมิลดต่ำลงเมื่อถึงพื้นผิว กลายเป็นแสงที่เรามองเห็นได้; ณ ข่วง 20% สุดท้ายก่อนที่จะถึงพื้นผิว พลังงานส่วนใหญ่ม้วนตัวกลับ ( convection ) มากกว่าที่จะแผ่รังสีออก

 พื้นผิวของดวงอาทิตย์เรียกว่า ชั้นโฟโตสเฟียร์ มีอุณหภมิประมาณ 5,800 เคลวิน; จุดบนดวงอาทิตย์ (Sunspots) เป็นย่านที่อุณหภูมิต่ำเพียง 3,800 เคลวิน (มันดูมืดเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณรอบ ๆ) จุดบนดวงอาทิตย์อาจมีขนาดใหญ่ถึง 50,000 ก.ม. มันเกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สลับซับซ้อน และยังไม่เข้าใจดีนัก ว่าเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์อย่างไร

เหนือขึ้นมาจากชั้นโฟโตสเฟียร์ มีชั้นเล็ก ๆ เรียกว่า โครโมสเฟียร์

 ชั้นที่อยู่เหนือโครโมสเฟียร์ เราเรียกว่า โคโรน่า มันแผ่ออกไปในอวกาศหลายล้านกิโลเมตร แต่จะมองเห็นได้เฉพาะเวลาที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงเท่านั้น โคโคน่ามีอุณหภูมิสูงมากกว่า 1,000,000 เคลวิน

ส นามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์มีความเข้มและซับซ้อนมาก เขต แมกเนโตสเฟียร์ (ซึ่งบางทีเรียกว่า เฮลิโอสเฟียร์) แผ่ขยายออกไปไกลกว่า ดาวพลูโต

 นอกเหนือจากความร้อนและแสง ดวงอาทิตย์แพร่อนุภาคความหนาแน่นต่ำ (ส่วนมากเป็นอิเล็กตรอนและโปรตอน) ซึ่งรู้จักกันในนามของลมสุริยะ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 450 ก.ม./วินาที ลมสุริยะและอนุภาคซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า ถูกพ่นออกโดย solar flares สามารถรบกวนสายไฟฟ้าแรงสูง คลื่นวิทยุะ และทำให้เกิดปรากฏการณ์แสงเหนือแสงใต้ที่งดงาม

 ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณ 4.5 ล้านปี นับตั้งแต่กำเนิดมามันได้เผาผลาญไฮโดรเจนในแกนของมันไปประมาณครึ่งหนึ่ง มันยังคงแผ่รังสีอย่างสงบต่อไปอีกประมาณ 5 ล้านปี (ความสว่างจะมากขึ้นเป็นสองเท่าเมื่อถึงเวลานั้น) และเมื่อไฮโดรเจนหมดลง ขนาดของมันจะใหญ่ขึ้นจนกลืนโลกเข้าไป 

ดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์น้อยเป็นเทห์วัตถุ บนท้องฟ้า อีกชนิดหนึ่ง และเป็นบริวาร ที่โคจรรอบ ดวงอาทิตย์คล้ายๆ ดาวเคราะห์ แต่มักมีขนาดเล็ก โดยส่วนใหญ่ จะโคจรอยู่ในบริเวณ ระหว่าง ดาวอังคาร และดาวพฤหัส ข้อมูลปัจจุบัน ประมาณว่า มีดาวเคราะห์น้อย อยู่ประมาณ 30,000 ดวง ถึง 50,000 ดวง แต่มีเพียงไม่กี่ดวง ที่สามารถใช้ กล้องโทรทัศน์ขนาดเล็ก ส่องดูได้ ดาวเคราะห์น้อย บางดวงมีวงโคจร เปลี่ยนไป เปลี่ยนมา เมื่อโคจรผ่านดาวเคราะห์ ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัส จะถูกแรงดึงดูด รบกวนจน ทำให้วงโคจร ของดาวเคราะห์น้อย แปรเปลี่ยนไป ซึ่งบางดวง อาจโคจร เข้ามาใกล้โลกของเรา และอาจจะเกิด อันตรายต่อโลก ของเราได้ แต่มีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยมาก แต่ก็มีการนำเรื่อง ดังกล่าว ไปสร้าง เป็นภาพยนตร์ ที่หลายคน อาจจะได้ดูเมื่อ เร็วๆนี้ คือเรื่อง "Armageddon" ที่ทำเงิน จากการฉายทั่วโลกได้มากมาย   อืมเรื่องนี้ไม่มีรูปประกอบนะหาไม่ได้อ่ะ

ดาวหาง

ดาวหางเป็นเทหวัตถุมีมวลน้อยมาก หมุนอยู่รอบดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกับสมาชิกอื่นๆในระบบสุริยจักรวาลของเรา รูปร่างและความสว่างของดาวหางแต่ละดวงมีความแตกต่างกันออกไปตามระยะทางที่มันอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์ ดาวหางดวงที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นระยะทางไกลๆจะมีความสว่างน้อยมาก มองเห็นคล้ายๆว่าเป็นดวงดาวดวงหนึ่งเท่านั้น ส่วนประกอบสำคัญของดาวหางคือเทหวัตถุขนาดเล็กๆอยู่ในบริเวณตอนหัวของมันเรียกว่า นิวเคลียส

ปรากฏการณ์ของดาวหาง

ในอดีตมนุษย์มักจะมีความหวาดกลัวปรากฏการณ์ของดาวหางทั้งนี้เพราะมองเห็นว่าดาวหางปรากฏตัวขึ้นมาอย่าง กะทันหัน และมีแสงสุกใสมีเส้นทางโคจรลึกลับและบางครั้งดาวหางก็เปลี่ยนแปลงรูปร่างของมันไปอย่างรวดเร็ว

การโคจรของดาวหาง

วงโคจรของมันจะมีรูปทรงกรวยโดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลาง ชนิดของรูปทรงกรวยขึ้นอยู่กับลักษณะ การโคจรไม่เป็นวงกลมของมันคือ 2 และขึ้นอยู่กับความเร็วของดาวหางที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ใกล้ที่สุดคือระยะทาง เส้นทางโคจรของดาวหางมีความซับซ้อนมากกว่าที่กล่าวมาแล้วเพราะว่าดาวหางจะถูกรบกวนขณะเดินทางจากแรงดึงดูด ของดาวเคราะห์ ซึ่งบางครั้งมีผลกระทบต่อเส้นทางโคจรของมันเพียงเล็กน้อย แต่บางครั้งก็จะมีผลกระทบต่อเส้นทางเดินของดาวหาง ดวงนั้นเป็นอย่างมาก ดาวหางยิ่งเดินทางผ่านดาวเคราะห์มากเท่าใด ดาวหางดวงนั้นย่อมได้รัยอิทธิพลจากแรงดึงดูดของดาวเคราะห์ ดวงนั้นมากเท่านั้น ยิ่งดาวพฤหัสบดีซึ่งมีมวลมากส่งผลกระทบต่อวงโคจรของดาวหางมาก

The FireBall-The Meteor

                              อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

                              สะเก็ดดาวหรือดาวตก มองเห็นวิ่งผ่านชั้นบรรยากาศของโลกเป็นแสงสว่างแล้วก็หายไป สะเก็ดดาวตกอาจเป็นวัตถุแข็งๆ มีขนาดไม่โตกว่าเม็ดทรายหรืออาจมีขนาดเท่าๆกับเม็ดถั่วลิสงเท่านั้น แสงสว่างเกิดขึ้นมาเพราะการเสียดสีระหว่างอะตอมของสะเก็ดดาวตก กับโมเลกุลของอากาศของโลก สะเก็ดดาวตกเช่นนั้นมองเห็นมีแสงสว่างสะเก็ดดาวตกเช่นนั้นจะหายไปใน บรรยากาศของโลกในระดับความสูงประมาณ 60 ไมล์(95 กิโลเมตร) เทห์แข็งๆของสะเก็ดดาวบางครั้งมีมวลเพียงไม่กี่ออนซ์ จนถึงมีนำหนักหลายตันอาจหล่นมาถึงผิวโลกเรียกว่า อุกกาบาต สะเก็ดดาวบางครั้งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงไม่กี่ไมครอน วิ่งผ่านบรรยากาศและหล่นมาถึงผิวโลก เหลือเป็นอนุภาคเล็กๆ เมื่อโคจรผ่านสะเก็ดดาว ซึ่งเคลื่อนไหว ในวงโคจรรอบๆดวงอาทิตย์ จะมีจำนวนดาวตก จำนวนมากวิ่งผ่านเข้ามาในบรรยากาศของโลกชั่วโมง หนึ่งหลายสิบครั้ง บางครั้งกลุ่มสะเก็ดดาวปรากฏตัวอยู่บนท้องฟ้า เป็นแผ่นหนาเหมือนหิมะกลุ่มละอองสะเก็ดดาวในวงโคจรบางครั้งมีลักษณะเหมือนกลุ่มละออง สะเก็ดดาวในดาวหาง เรื่องนี้เป็นหลักฐานแสดง ให้เห็นว่าดาวหางและกลุ่มสะเก็ดดาวมีความเกี่ยวพันกันนักดาราศาสตร์มีความเห็นว่าสสาร ของสะเก็ดดาว คือส่วนที่หลงเหลือจากการสลายตัวของดาวหางบางดวง

               ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอุกกาบาต เช่น
ฝนอุกกาบาต(meteor showers) คือขณะที่โลกโคจรไปพบอุกกาบาตที่มาด้วยกันเป็นกลุ่มใหญ่อุกกาบาตนี้จะตกลงมาในเวลาอันรวดเร็ว                                                         เป็นจำนวนมาก
กลุ่มอุกกาบาต(meteor warm)   คืออุกกาบาตซึ่งโคจรเป็นกลุ่มมีวงโคจรเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์ไม่หนาแน่น ประมาณ 14 ชิ้น/2ล้านลูกบาศก์ไมล์
ธารอุกกาบาต(meteor steam)   คือกลุ่มอุกกาบาตที่แผ่กระจายออกมาตามความโค้งวงทางโคจรทำให้ดูเหมือนว่าอุกกาบาตนั้นเคลื่อนที่ในอวกาศ                                                        เป็นสายธาร

The Nebula

                            คำว่า"เนบิวลา"นักดาราศาสตร์ใช้เรียกสิ่งที่ปรากฏเป็นเมฆหมอกฝ้าอยู่คงที่ในท่ามกลางดวงดาว บนท้องฟ้า อาจจะปรากฏเป็นแสงสว่างเรือง หรือ มืดสนิทก็ได้ เรามองเห็นเนบิวลาได้ยาก เพราะแม้ชนิดที่สว่างก็มีแสงจาง แผ่กรจายไม่รวมกันเข้มเป็นจุดสว่างดังเช่นดาวฤกษ์ เราจึงสามารถเห็นเนบิวลาบนท้องฟ้าด้วยตาเปล่าได้เพียง 4 แห่ง ในขณะที่สามารถเห็นดาวฤกษ์ด้วยตาเปล่าถึงราว 5,000 ดวง ความจริงเนบิวลามีอยู๋เป็นปริมาณมากมายไม่น้อย การที่เราจะตรวจพบหรือไม่ขึ้นอยู่กับความไวของอุปกรณ์ที่ใช้สำรวจ เนบิวลาที่อยู๋ในระบบทางช้างเผือกของเรา เรียกว่า กาแลคติคเนบิวลา Galaxtic Nebula ซึ่งเป็นกลุ่มก๊าซที่มีความสัมพันธ์ทางใดทางหนึ่งกับดาวฤกษ์ หรือกลุ่มดาวในกาแลกซี ซึ่งดวงอาทิตย์ของเราเป็นสมาชิกหน่วยหนึ่ง ตัวอย่างของ Galaxtic Nebulaชนิดแผ่กระจายได้แก่ กลุ่มที่อยู๋ในหมู่ดาว ออไรน นับเป็นกลุ่มก๊าซและฝุ่นซึ่งใหญ่โตกลุ่มหนึ่งในกาแลกซี กินอาณาเขตกว้างขวางในอวกาศ แผ่คลุมดาวฤกษ์อยู่ภายในองค์ประกอบสำคัญ คือ Hydrogen Helium มากที่สุด และนอกนั้นก็มี Oxygen และ Nitrogen เป็นต้น เนบิวลานี้เรืองเสงเพราะถูกกระตุ้นด้วยUVจากดาวฤกษืซึ่งอยู่ภายใน และบางส่วนของก๊าซและฝุ่นที่อยู่เบื้องหลังไกลออกไป จึงปรากฏเป็นเนบิวลามืด กาแลคติคเนบิวลาชนิดเป็นดวง นั้นเป็นกลุ่มก๊าซรูปทรงกลมซึ่งแผ่กระจายออกมาจากการระเบิดของดาวฤกษ์ และปรากฏให้เห็นหลายดวงบนท้องฟ้า เช่นที่เรียกกันว่า เนบิวลาวงแหวน เนบิวลาปู เนบิวลานกฮูก เป็นต้น ตามความคล้ายคลึงกับรูปสิ่งของ สัตว์ที่มนุษย์คุ้นเคยกันทั่วไป

                    เนบิวลานอกกาแลกซี หรือ สไปราลเนบิวลา นั้นเป็นวัตถุจำพวกที่อยู๋ห่างไกลออกไปนอกกาแลกซีของเรา เป็นต้นว่า เมฆแมคเยลแลน ซึ่งเห็นได้ด้วยตาเปล่าบนท้องฟ้าของซีกโลกภาคใต้ อยู่ห่างไป 150,000 ปีแสง หรืออาจจะมากกว่านั้นก็เป็นได้เช่น สไปราลเนบิวลา ที่อยู่ในทิศทางของหมู่ดาวอันโดรเมดาซึ่งอยู่ห่างออกไปถึง 2,200,000 ปีแสง ข้างล่างจะเป็นลักษณะของเนบิวลานะ

: 10 มิถุนายน 2540 เวลา 0.33 น. กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสสิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล Losmandy G-11 เนบิวลาอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ตำแหน่ง R.A. 18h 02m Dec -23o02' อันดับความสว่าง 8.5 ฟิล์ม Kodak Multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 45 นาที

: 4 มิถุนายน 2540 เวลา 2.03 น.
ใช้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสซิเกรน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที ฟิล์ม Kodak Multispeed ตำแหน่ง 18h20m, -16o11'
อันดับความสว่าง 7.6 อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู (Ophiuchus)

: 15 มีนาคม 2540 เวลา 3.00 น.
กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง แบบชมิดท์แคสซิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
อันดับความสว่าง 5.8 อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู (Sagittarius)
ฟิล์ม Kodak multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที
2.ใช้ตำแหน่งดาวเคราะห ์น้อยเป็นหลัก โดยแบ่งเป็น 2 พวก คือดาวเคราะห์ที่มีวงโคจรของดาวเคราะห์น้อยเรียกว่า"ดาวเคราะห์ใน(inner planets)"ดาวเคราะห์ที่มีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่นอกวงโคจรดาวเคราะห์น้อยเรียกว่า"ดาวเคราะห์นอก(super planets)"
3.ใช้สมบัติทางฟิสิกส์ ดาวเคราะห์ใดมีสมบัติทางฟิสิกส์คล้ายกับโลกเช่น มีขนาดเล็กเรียก Terrestrid Planetsดาวเคราะห์ที่คล้ายดาวเคราะห์ขนาดใหญ่เรียกว่า Jovian Planets
 วิเคราะห์ลักษณะเด่นของดาวเคราะห์บริวารของดวงอาทิตย์
-ดาวพุธเล็กที่สุด,ดาวพฤหัสใหญ่ที่สุด
-ดาวพุธ,ดาวศุกร์ 2 ดวงนี้รูปร่างเกือบเป็นวงกลมเหมือนดวงจันทร์และดวงอาทิตย์
-ดางศุกร์,ดาวเนปจูนมีวงทางโคจรรอบดวงอาทิตย์เกือบเป็นวงกลม
-โลกเป็นดาวที่มีมนุษย์อาศัยอยู่


                                      


มวลของสมาชิกในระบบสุริยะ
ดวงอาทิตย์ 99.85 %
เหล่าดาวเคราะห์ 0.135 %
เหล่าดาวหาง 0.01 %
บริวารของดาวเคราะห์ 0.00005 %
ดาวเคราะห์น้อย 0.0000002 %
อุกกาบาต 0.0000001 %

องค์ประกอบของระบบสุริยะ
ระบบสุริยะประกอบด้วยดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางและเหล่าสมาชิกโคจรโดยรอบ คือ ดาวเคราะห์ 9 ดวง บริวารของดาวเคราะห์ ดาวหาง ดาวเคราะห์น้อยและอุกกาบาต เมื่อเปรียบเทียบมวลของสมาชิกในระบบสุริยะ ดวงอาทิตย์มีมวลมากที่สุดถึง 99.85% ขณะที่ดาวเคราะห์ทุกดวงรวมกันมีมวลเพียง 0.01355 % ซึ่งดาวพฤหัสบดีมีมวลสูงเป็น 2.5 เท่าของมวลดาวเคราะห์อื่น ๆ ทุกดวงรวมกัน
ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งกำเนิดพลังงานที่ใหญ่ที่สุดแผ่พลังงานออกไปในระบบสุริยะโดยรอบในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

ขนาดของระบบสุริยจักรวาล
การวัดระยะทางภายในระบบสุริยจักรวาลใช้ระบบการวัดหลายระบบด้วยกัน ส่วนใหญ่จะใช้หน่วยวัดเป็นไมล์ ระยะทาง จากดวงอาทิตย์ไปยังดาวเคราะห์ที่ไกลที่สุดที่ค้นพบว่ามีอยู่ปัจจุบัน คือ ดาวเคราะห์พลูโต มีระยะทาง 39.4 หน่วยดาราศาสตร์ในขณะดวงดาว(ดาวฤกษ์)ที่อยู่ ใกล้เรามากที่สุดห่างออกไป 1.33 พาร์เซค (4.35 ปีแสง) วงโคจรของดาวหาง ซึ่งเป็นวงยาวรืมากจะเป็นวงจรอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ไกลออกไปหลายร้อยหรือหลายพัน หน่วยดาราศาสตร์ แต่บริเวณเลยดาวเคราะห์พลูโตออกไป เป็นบริเวณกว้างใหญ่ไพศาลของอวกาศที่มีแต่ความว่างเปล่า ดังนั้นสมาชิกของระบบสุริยจักรวาล จึงห้อมล้อม ด้วยอวกาศและเมื่อเปรียบขนาดของสุริยจักรวาลกับขนาดของกาแลคซี่ทางช้างเผือกซึ่งสุริยจักรวาลของเราเป็นสมาชิกอยู่ ระบบสุริยจักรวาลจะเป็นเพียงจุดเล็กๆจุดหนึ่ง ที่ปราศจากความสำคัญใดๆและจะกลายเป็นเรื่องยากลำบากยิ่ง ในการค้นหาระบบสุริยจักรวาลของเราให้พบเมื่อสังเกตการณ์จากดวงดาวที่อยู่ใกล้สุริยจักรวาลที่สุด ยกเว้น แต่จะมองเห็นดวงอาทิตย์ของเราเพียงดวงเดียวเท่านั้น

ตำแหน่งของระบบสุริยะในกาแล็กซีทางช้างเผือก
ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ดวงหนึ่ง อยู่ในอาณาจักแห่งดวงดาว ที่เรียกว่า กาแล็กซีทางช้างเผือก (The milky Way) หรือ กาแล็กซีของเรา ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกดาวฤกษ์มากมายประมาณ 2 แสนล้านดวง มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 แสนปีแสง ระบบสุริยะอยู่ห่างจากศูนย์กลางราว 32600 ปีแสง ดวงอาทิตย์พาเหล่าบริวารโคจรครบรอบกาแล็กซีในเวลา 225 ล้านปี
เมื่อมองจากอวกาศเหนือขั้วโลกเหนือของดวงอาทิตย์ สมาชิกในระบบสุริยะโคจรรอบดวงอาทิตย์ในทิศทาง ทวนเข็มนาฬิกาไปทางเดียวกัน
ดาวเคราะห์ทั้งหลายต่างโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่ในระนาบใกล้เคียงกัน กับระนาบที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ซึ่งเรียกว่า ระนาบสุริยวิถี (Ecliptic) มีแต่ดาวพลูโตดวงเดียวที่มีวงโคจรรีมาก และเอียงออกจากระนาบสุริยวิถีมากถึง 18 องศา

กำเนิดระบบสุริยะ
สันนิษฐานว่าระบบสุริยะมีกำเนิดมาจากกลุ่มก๊าซและฝุ่นขนาดมหึมาที่หมุนรอบศูนย์กลางเมื่อประมาณ 5000 ล้านปีก่อน มวลสารหมุนวนทำให้มีลักษณะเป็นจานแบนเมื่ออุณหภูมิรอบนอกค่อย ๆเย็นตัวลง มวลสารรวมตัวกันเกิดเป็นดาวเคราะห์และสมาชิกบริวารโคจรรอบดวงอาทิตย์ไปทางเดียวกันและอยู่ในระนาบใกล้เคียงกัน เช่นทุกวันนี้

ประเภทของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ
ดาวเคราะห์ชั้นใน (Inner Planets)
เป็นกลุ่มดาวเคราะห์ทีมีลักษณะคล้ายโลก (The Terrestrial Planet) คือมีพื้นผิวเป็นหินแข็งอย่างโลก ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคาร ขณะที่ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคารมีบรรยากาศห่อหุ้มชัดเจน แต่ดาวพุธเกือบไม่มีบรรยากาศเลย

ดาวเคราะห์ชั้นนอก (Outer Planets)
เป็นกลุ่มดาวเคราะห์ที่มีลักษณะคล้ายดาวพฤหัสบดี (The Jovian Planets) คือเป็นดาวเคราะห์ก๊าซซึ่งอาจมีแกนแข็งขนาดเล็กอยู่ที่ใจกลางและ มีขนาดใหญ่มากเมื่อเทียบกับโลกได้แก่ ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน

ดาวพลูโตดวงโดดเดี่ยว
ดาวพลูโตเป็นดาวเคราะห์ที่มีลักษณะพิเศษประกอบด้วยหินและน้ำแข็งจึงมีลักษณะคล้ายโลก แต่วงโคจรไกลเลยจากวงโคจรของดาวเนปจูนออกไป มนุษย์ยังมีความรรู้เรื่องดาวพลูโตน้อยมาก เนื่องจากวงโคจรของดาวพลูโตเอียงออกจากระนาบของ สุริยวิถีมากจึงมีบางช่วงนานราว 20 ปี ที่ดาวพลูโตโคจรอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าดาวเนปจูน บรรยากาศอาจเกิดจากมีเทนแข็งระเหิด ขณะเมื่อพลูโตเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ แต่เมื่ออยู่ไกลจากดวงอาทิตย์ตามปกติ ดาวพลูโตอาจเย็นจัดเป็นก้อนน้ำแข็งและไม่มีบรรยากาศก็เป็นได้


สัญลักษณ์ของดวงอาทิตย์   -------------->>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>            

ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ชั้น G2  เป็นเพียงสมาชิกหนึ่งในบรรดาดาวฤกษ์หนึ่งแสนล้านดวง ในกาแล๊กซี่ทางช้างเผือก

เส้นผ่านศูนย์กลาง: 1,390,000 ก.ม.
มวล: 1.989 x 1030 ก.ก.
อุณหภูมิ: 5800 เคลวิน (พื้นผิว) 15,600,000 K (แกน)

ดวงอาทิตย์ เป็นเทหวัตถุ ที่ใหญ่ที่สุด ในระบบสุริยะ คิดเป็นมวลมากกว่า 99.8% ของมวลทั้งระบบ (ที่เหลือเกือบทั้งหมดเป็น
ดาวพฤหัสบด )

ด วงอาทิตย์ มีชื่อเรียกหลายชื่อในเทพนิยาย: กรีกเรียกว่า เฮลิออส โรมันเรียกว่า ซอล

ในปัจจุบันดวงอาทิตย์ประกอบด้วย ไฮโดรเจน 75% และ ฮีเลียม 25% นับโดยมวล (ไฮโดรเจน 92.1% และฮีเลียม 7.8% นับโดยจำนวนอะตอม) ที่เหลือจำนวน 0.1% เป็น "โลหะ"  X ส่วนเหล่านี้เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ โดยดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจนในแกนของมันให้กลายเป็นฮีเลียม

ชั้นนอกของดวงอาทิตย์มีการเคลื่อนที่แบบ differential rotation กล่าวคือ ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตร หมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบใช้เวลา 25.4 วัน แต่บริเวณขั้ว หมุนหนึ่งรอบใช้เวลาถึง 36 วัน พฤติกรรมเช่นนี้แสดงว่าดวงอาทิตย์มิได้เป็นของแข็ง (solid body) เฉกเข่นโลก แต่คล้ายกับ ดาวเคราะห์แก๊ส ลักษณะการหมุนเช่นนี้เกิดขึ้นในแนวลึกลงไปด้วย ยกเว้นตรงแกนของดวงอาทิตย์ หมุนรอบตัวในลักษณะแบบของแข็ง

แกนของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิสูงถึง 15.6 ล้านเคลวิน และมีความกดดัน 250 พันล้าน หน่วยบรรยากาศ แก๊สที่แกนกลางถูกอัดตัวให้มีความหนาแน่นมากกว่าน้ำถึง 150 เท่า

พลังงานของดวงอาทิตย์  ผลิตโดยปฏิกริยา นิวเคลียร์ฟิวชั่น ทุก ๆ หนึ่งวินาที ดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจน 700,000,000 ตัน ให้กลายเป็นฮีเลียม 695,000,000 ตัน และพลังงานในรูปของรังสีแกมม่าอีกจำนวน 5,000,000 ตัน พุ่งตรงมายังพื้นผิว จากนั้นพลังงานถูกดูดกลืนเข้าไปและเปล่งออกอีก ทำให้อุณหภูมิลดต่ำลงเมื่อถึงพื้นผิว กลายเป็นแสงที่เรามองเห็นได้; ณ ข่วง 20% สุดท้ายก่อนที่จะถึงพื้นผิว พลังงานส่วนใหญ่ม้วนตัวกลับ ( convection ) มากกว่าที่จะแผ่รังสีออก

 พื้นผิวของดวงอาทิตย์เรียกว่า ชั้นโฟโตสเฟียร์ มีอุณหภมิประมาณ 5,800 เคลวิน; จุดบนดวงอาทิตย์ (Sunspots) เป็นย่านที่อุณหภูมิต่ำเพียง 3,800 เคลวิน (มันดูมืดเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณรอบ ๆ) จุดบนดวงอาทิตย์อาจมีขนาดใหญ่ถึง 50,000 ก.ม. มันเกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สลับซับซ้อน และยังไม่เข้าใจดีนัก ว่าเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์อย่างไร

เหนือขึ้นมาจากชั้นโฟโตสเฟียร์ มีชั้นเล็ก ๆ เรียกว่า โครโมสเฟียร์

 ชั้นที่อยู่เหนือโครโมสเฟียร์ เราเรียกว่า โคโรน่า มันแผ่ออกไปในอวกาศหลายล้านกิโลเมตร แต่จะมองเห็นได้เฉพาะเวลาที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงเท่านั้น โคโคน่ามีอุณหภูมิสูงมากกว่า 1,000,000 เคลวิน

ส นามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์มีความเข้มและซับซ้อนมาก เขต แมกเนโตสเฟียร์ (ซึ่งบางทีเรียกว่า เฮลิโอสเฟียร์) แผ่ขยายออกไปไกลกว่า ดาวพลูโต

 นอกเหนือจากความร้อนและแสง ดวงอาทิตย์แพร่อนุภาคความหนาแน่นต่ำ (ส่วนมากเป็นอิเล็กตรอนและโปรตอน) ซึ่งรู้จักกันในนามของลมสุริยะ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 450 ก.ม./วินาที ลมสุริยะและอนุภาคซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า ถูกพ่นออกโดย solar flares สามารถรบกวนสายไฟฟ้าแรงสูง คลื่นวิทยุะ และทำให้เกิดปรากฏการณ์แสงเหนือแสงใต้ที่งดงาม

 ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณ 4.5 ล้านปี นับตั้งแต่กำเนิดมามันได้เผาผลาญไฮโดรเจนในแกนของมันไปประมาณครึ่งหนึ่ง มันยังคงแผ่รังสีอย่างสงบต่อไปอีกประมาณ 5 ล้านปี (ความสว่างจะมากขึ้นเป็นสองเท่าเมื่อถึงเวลานั้น) และเมื่อไฮโดรเจนหมดลง ขนาดของมันจะใหญ่ขึ้นจนกลืนโลกเข้าไป 

ดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์น้อยเป็นเทห์วัตถุ บนท้องฟ้า อีกชนิดหนึ่ง และเป็นบริวาร ที่โคจรรอบ ดวงอาทิตย์คล้ายๆ ดาวเคราะห์ แต่มักมีขนาดเล็ก โดยส่วนใหญ่ จะโคจรอยู่ในบริเวณ ระหว่าง ดาวอังคาร และดาวพฤหัส ข้อมูลปัจจุบัน ประมาณว่า มีดาวเคราะห์น้อย อยู่ประมาณ 30,000 ดวง ถึง 50,000 ดวง แต่มีเพียงไม่กี่ดวง ที่สามารถใช้ กล้องโทรทัศน์ขนาดเล็ก ส่องดูได้ ดาวเคราะห์น้อย บางดวงมีวงโคจร เปลี่ยนไป เปลี่ยนมา เมื่อโคจรผ่านดาวเคราะห์ ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัส จะถูกแรงดึงดูด รบกวนจน ทำให้วงโคจร ของดาวเคราะห์น้อย แปรเปลี่ยนไป ซึ่งบางดวง อาจโคจร เข้ามาใกล้โลกของเรา และอาจจะเกิด อันตรายต่อโลก ของเราได้ แต่มีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยมาก แต่ก็มีการนำเรื่อง ดังกล่าว ไปสร้าง เป็นภาพยนตร์ ที่หลายคน อาจจะได้ดูเมื่อ เร็วๆนี้ คือเรื่อง "Armageddon" ที่ทำเงิน จากการฉายทั่วโลกได้มากมาย   อืมเรื่องนี้ไม่มีรูปประกอบนะหาไม่ได้อ่ะ

ดาวหาง

ดาวหางเป็นเทหวัตถุมีมวลน้อยมาก หมุนอยู่รอบดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกับสมาชิกอื่นๆในระบบสุริยจักรวาลของเรา รูปร่างและความสว่างของดาวหางแต่ละดวงมีความแตกต่างกันออกไปตามระยะทางที่มันอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์ ดาวหางดวงที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นระยะทางไกลๆจะมีความสว่างน้อยมาก มองเห็นคล้ายๆว่าเป็นดวงดาวดวงหนึ่งเท่านั้น ส่วนประกอบสำคัญของดาวหางคือเทหวัตถุขนาดเล็กๆอยู่ในบริเวณตอนหัวของมันเรียกว่า นิวเคลียส

ปรากฏการณ์ของดาวหาง

ในอดีตมนุษย์มักจะมีความหวาดกลัวปรากฏการณ์ของดาวหางทั้งนี้เพราะมองเห็นว่าดาวหางปรากฏตัวขึ้นมาอย่าง กะทันหัน และมีแสงสุกใสมีเส้นทางโคจรลึกลับและบางครั้งดาวหางก็เปลี่ยนแปลงรูปร่างของมันไปอย่างรวดเร็ว

การโคจรของดาวหาง

วงโคจรของมันจะมีรูปทรงกรวยโดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลาง ชนิดของรูปทรงกรวยขึ้นอยู่กับลักษณะ การโคจรไม่เป็นวงกลมของมันคือ 2 และขึ้นอยู่กับความเร็วของดาวหางที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ใกล้ที่สุดคือระยะทาง เส้นทางโคจรของดาวหางมีความซับซ้อนมากกว่าที่กล่าวมาแล้วเพราะว่าดาวหางจะถูกรบกวนขณะเดินทางจากแรงดึงดูด ของดาวเคราะห์ ซึ่งบางครั้งมีผลกระทบต่อเส้นทางโคจรของมันเพียงเล็กน้อย แต่บางครั้งก็จะมีผลกระทบต่อเส้นทางเดินของดาวหาง ดวงนั้นเป็นอย่างมาก ดาวหางยิ่งเดินทางผ่านดาวเคราะห์มากเท่าใด ดาวหางดวงนั้นย่อมได้รัยอิทธิพลจากแรงดึงดูดของดาวเคราะห์ ดวงนั้นมากเท่านั้น ยิ่งดาวพฤหัสบดีซึ่งมีมวลมากส่งผลกระทบต่อวงโคจรของดาวหางมาก

The FireBall-The Meteor

                              อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

                              สะเก็ดดาวหรือดาวตก มองเห็นวิ่งผ่านชั้นบรรยากาศของโลกเป็นแสงสว่างแล้วก็หายไป สะเก็ดดาวตกอาจเป็นวัตถุแข็งๆ มีขนาดไม่โตกว่าเม็ดทรายหรืออาจมีขนาดเท่าๆกับเม็ดถั่วลิสงเท่านั้น แสงสว่างเกิดขึ้นมาเพราะการเสียดสีระหว่างอะตอมของสะเก็ดดาวตก กับโมเลกุลของอากาศของโลก สะเก็ดดาวตกเช่นนั้นมองเห็นมีแสงสว่างสะเก็ดดาวตกเช่นนั้นจะหายไปใน บรรยากาศของโลกในระดับความสูงประมาณ 60 ไมล์(95 กิโลเมตร) เทห์แข็งๆของสะเก็ดดาวบางครั้งมีมวลเพียงไม่กี่ออนซ์ จนถึงมีนำหนักหลายตันอาจหล่นมาถึงผิวโลกเรียกว่า อุกกาบาต สะเก็ดดาวบางครั้งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงไม่กี่ไมครอน วิ่งผ่านบรรยากาศและหล่นมาถึงผิวโลก เหลือเป็นอนุภาคเล็กๆ เมื่อโคจรผ่านสะเก็ดดาว ซึ่งเคลื่อนไหว ในวงโคจรรอบๆดวงอาทิตย์ จะมีจำนวนดาวตก จำนวนมากวิ่งผ่านเข้ามาในบรรยากาศของโลกชั่วโมง หนึ่งหลายสิบครั้ง บางครั้งกลุ่มสะเก็ดดาวปรากฏตัวอยู่บนท้องฟ้า เป็นแผ่นหนาเหมือนหิมะกลุ่มละอองสะเก็ดดาวในวงโคจรบางครั้งมีลักษณะเหมือนกลุ่มละออง สะเก็ดดาวในดาวหาง เรื่องนี้เป็นหลักฐานแสดง ให้เห็นว่าดาวหางและกลุ่มสะเก็ดดาวมีความเกี่ยวพันกันนักดาราศาสตร์มีความเห็นว่าสสาร ของสะเก็ดดาว คือส่วนที่หลงเหลือจากการสลายตัวของดาวหางบางดวง

               ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอุกกาบาต เช่น
ฝนอุกกาบาต(meteor showers) คือขณะที่โลกโคจรไปพบอุกกาบาตที่มาด้วยกันเป็นกลุ่มใหญ่อุกกาบาตนี้จะตกลงมาในเวลาอันรวดเร็ว                                                         เป็นจำนวนมาก
กลุ่มอุกกาบาต(meteor warm)   คืออุกกาบาตซึ่งโคจรเป็นกลุ่มมีวงโคจรเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์ไม่หนาแน่น ประมาณ 14 ชิ้น/2ล้านลูกบาศก์ไมล์
ธารอุกกาบาต(meteor steam)   คือกลุ่มอุกกาบาตที่แผ่กระจายออกมาตามความโค้งวงทางโคจรทำให้ดูเหมือนว่าอุกกาบาตนั้นเคลื่อนที่ในอวกาศ                                                        เป็นสายธาร

The Nebula

                            คำว่า"เนบิวลา"นักดาราศาสตร์ใช้เรียกสิ่งที่ปรากฏเป็นเมฆหมอกฝ้าอยู่คงที่ในท่ามกลางดวงดาว บนท้องฟ้า อาจจะปรากฏเป็นแสงสว่างเรือง หรือ มืดสนิทก็ได้ เรามองเห็นเนบิวลาได้ยาก เพราะแม้ชนิดที่สว่างก็มีแสงจาง แผ่กรจายไม่รวมกันเข้มเป็นจุดสว่างดังเช่นดาวฤกษ์ เราจึงสามารถเห็นเนบิวลาบนท้องฟ้าด้วยตาเปล่าได้เพียง 4 แห่ง ในขณะที่สามารถเห็นดาวฤกษ์ด้วยตาเปล่าถึงราว 5,000 ดวง ความจริงเนบิวลามีอยู๋เป็นปริมาณมากมายไม่น้อย การที่เราจะตรวจพบหรือไม่ขึ้นอยู่กับความไวของอุปกรณ์ที่ใช้สำรวจ เนบิวลาที่อยู๋ในระบบทางช้างเผือกของเรา เรียกว่า กาแลคติคเนบิวลา Galaxtic Nebula ซึ่งเป็นกลุ่มก๊าซที่มีความสัมพันธ์ทางใดทางหนึ่งกับดาวฤกษ์ หรือกลุ่มดาวในกาแลกซี ซึ่งดวงอาทิตย์ของเราเป็นสมาชิกหน่วยหนึ่ง ตัวอย่างของ Galaxtic Nebulaชนิดแผ่กระจายได้แก่ กลุ่มที่อยู๋ในหมู่ดาว ออไรน นับเป็นกลุ่มก๊าซและฝุ่นซึ่งใหญ่โตกลุ่มหนึ่งในกาแลกซี กินอาณาเขตกว้างขวางในอวกาศ แผ่คลุมดาวฤกษ์อยู่ภายในองค์ประกอบสำคัญ คือ Hydrogen Helium มากที่สุด และนอกนั้นก็มี Oxygen และ Nitrogen เป็นต้น เนบิวลานี้เรืองเสงเพราะถูกกระตุ้นด้วยUVจากดาวฤกษืซึ่งอยู่ภายใน และบางส่วนของก๊าซและฝุ่นที่อยู่เบื้องหลังไกลออกไป จึงปรากฏเป็นเนบิวลามืด กาแลคติคเนบิวลาชนิดเป็นดวง นั้นเป็นกลุ่มก๊าซรูปทรงกลมซึ่งแผ่กระจายออกมาจากการระเบิดของดาวฤกษ์ และปรากฏให้เห็นหลายดวงบนท้องฟ้า เช่นที่เรียกกันว่า เนบิวลาวงแหวน เนบิวลาปู เนบิวลานกฮูก เป็นต้น ตามความคล้ายคลึงกับรูปสิ่งของ สัตว์ที่มนุษย์คุ้นเคยกันทั่วไป

                    เนบิวลานอกกาแลกซี หรือ สไปราลเนบิวลา นั้นเป็นวัตถุจำพวกที่อยู๋ห่างไกลออกไปนอกกาแลกซีของเรา เป็นต้นว่า เมฆแมคเยลแลน ซึ่งเห็นได้ด้วยตาเปล่าบนท้องฟ้าของซีกโลกภาคใต้ อยู่ห่างไป 150,000 ปีแสง หรืออาจจะมากกว่านั้นก็เป็นได้เช่น สไปราลเนบิวลา ที่อยู่ในทิศทางของหมู่ดาวอันโดรเมดาซึ่งอยู่ห่างออกไปถึง 2,200,000 ปีแสง ข้างล่างจะเป็นลักษณะของเนบิวลานะ

: 10 มิถุนายน 2540 เวลา 0.33 น. กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสสิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล Losmandy G-11 เนบิวลาอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ตำแหน่ง R.A. 18h 02m Dec -23o02' อันดับความสว่าง 8.5 ฟิล์ม Kodak Multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 45 นาที

: 4 มิถุนายน 2540 เวลา 2.03 น.
ใช้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสซิเกรน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที ฟิล์ม Kodak Multispeed ตำแหน่ง 18h20m, -16o11'
อันดับความสว่าง 7.6 อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู (Ophiuchus)

: 15 มีนาคม 2540 เวลา 3.00 น.
กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง แบบชมิดท์แคสซิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
อันดับความสว่าง 5.8 อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู (Sagittarius)
ฟิล์ม Kodak multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที


สัญลักษณ์ของดวงอาทิตย์   -------------->>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>            

ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ชั้น G2  เป็นเพียงสมาชิกหนึ่งในบรรดาดาวฤกษ์หนึ่งแสนล้านดวง ในกาแล๊กซี่ทางช้างเผือก

เส้นผ่านศูนย์กลาง: 1,390,000 ก.ม.
มวล: 1.989 x 1030 ก.ก.
อุณหภูมิ: 5800 เคลวิน (พื้นผิว) 15,600,000 K (แกน)

ดวงอาทิตย์ เป็นเทหวัตถุ ที่ใหญ่ที่สุด ในระบบสุริยะ คิดเป็นมวลมากกว่า 99.8% ของมวลทั้งระบบ (ที่เหลือเกือบทั้งหมดเป็น
ดาวพฤหัสบด )

ด วงอาทิตย์ มีชื่อเรียกหลายชื่อในเทพนิยาย: กรีกเรียกว่า เฮลิออส โรมันเรียกว่า ซอล

ในปัจจุบันดวงอาทิตย์ประกอบด้วย ไฮโดรเจน 75% และ ฮีเลียม 25% นับโดยมวล (ไฮโดรเจน 92.1% และฮีเลียม 7.8% นับโดยจำนวนอะตอม) ที่เหลือจำนวน 0.1% เป็น "โลหะ"  X ส่วนเหล่านี้เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ โดยดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจนในแกนของมันให้กลายเป็นฮีเลียม

ชั้นนอกของดวงอาทิตย์มีการเคลื่อนที่แบบ differential rotation กล่าวคือ ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตร หมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบใช้เวลา 25.4 วัน แต่บริเวณขั้ว หมุนหนึ่งรอบใช้เวลาถึง 36 วัน พฤติกรรมเช่นนี้แสดงว่าดวงอาทิตย์มิได้เป็นของแข็ง (solid body) เฉกเข่นโลก แต่คล้ายกับ ดาวเคราะห์แก๊ส ลักษณะการหมุนเช่นนี้เกิดขึ้นในแนวลึกลงไปด้วย ยกเว้นตรงแกนของดวงอาทิตย์ หมุนรอบตัวในลักษณะแบบของแข็ง

แกนของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิสูงถึง 15.6 ล้านเคลวิน และมีความกดดัน 250 พันล้าน หน่วยบรรยากาศ แก๊สที่แกนกลางถูกอัดตัวให้มีความหนาแน่นมากกว่าน้ำถึง 150 เท่า

พลังงานของดวงอาทิตย์  ผลิตโดยปฏิกริยา นิวเคลียร์ฟิวชั่น ทุก ๆ หนึ่งวินาที ดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจน 700,000,000 ตัน ให้กลายเป็นฮีเลียม 695,000,000 ตัน และพลังงานในรูปของรังสีแกมม่าอีกจำนวน 5,000,000 ตัน พุ่งตรงมายังพื้นผิว จากนั้นพลังงานถูกดูดกลืนเข้าไปและเปล่งออกอีก ทำให้อุณหภูมิลดต่ำลงเมื่อถึงพื้นผิว กลายเป็นแสงที่เรามองเห็นได้; ณ ข่วง 20% สุดท้ายก่อนที่จะถึงพื้นผิว พลังงานส่วนใหญ่ม้วนตัวกลับ ( convection ) มากกว่าที่จะแผ่รังสีออก

 พื้นผิวของดวงอาทิตย์เรียกว่า ชั้นโฟโตสเฟียร์ มีอุณหภมิประมาณ 5,800 เคลวิน; จุดบนดวงอาทิตย์ (Sunspots) เป็นย่านที่อุณหภูมิต่ำเพียง 3,800 เคลวิน (มันดูมืดเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณรอบ ๆ) จุดบนดวงอาทิตย์อาจมีขนาดใหญ่ถึง 50,000 ก.ม. มันเกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สลับซับซ้อน และยังไม่เข้าใจดีนัก ว่าเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์อย่างไร

เหนือขึ้นมาจากชั้นโฟโตสเฟียร์ มีชั้นเล็ก ๆ เรียกว่า โครโมสเฟียร์

 ชั้นที่อยู่เหนือโครโมสเฟียร์ เราเรียกว่า โคโรน่า มันแผ่ออกไปในอวกาศหลายล้านกิโลเมตร แต่จะมองเห็นได้เฉพาะเวลาที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงเท่านั้น โคโคน่ามีอุณหภูมิสูงมากกว่า 1,000,000 เคลวิน

ส นามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์มีความเข้มและซับซ้อนมาก เขต แมกเนโตสเฟียร์ (ซึ่งบางทีเรียกว่า เฮลิโอสเฟียร์) แผ่ขยายออกไปไกลกว่า ดาวพลูโต

 นอกเหนือจากความร้อนและแสง ดวงอาทิตย์แพร่อนุภาคความหนาแน่นต่ำ (ส่วนมากเป็นอิเล็กตรอนและโปรตอน) ซึ่งรู้จักกันในนามของลมสุริยะ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 450 ก.ม./วินาที ลมสุริยะและอนุภาคซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า ถูกพ่นออกโดย solar flares สามารถรบกวนสายไฟฟ้าแรงสูง คลื่นวิทยุะ และทำให้เกิดปรากฏการณ์แสงเหนือแสงใต้ที่งดงาม

 ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณ 4.5 ล้านปี นับตั้งแต่กำเนิดมามันได้เผาผลาญไฮโดรเจนในแกนของมันไปประมาณครึ่งหนึ่ง มันยังคงแผ่รังสีอย่างสงบต่อไปอีกประมาณ 5 ล้านปี (ความสว่างจะมากขึ้นเป็นสองเท่าเมื่อถึงเวลานั้น) และเมื่อไฮโดรเจนหมดลง ขนาดของมันจะใหญ่ขึ้นจนกลืนโลกเข้าไป 

ดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์น้อยเป็นเทห์วัตถุ บนท้องฟ้า อีกชนิดหนึ่ง และเป็นบริวาร ที่โคจรรอบ ดวงอาทิตย์คล้ายๆ ดาวเคราะห์ แต่มักมีขนาดเล็ก โดยส่วนใหญ่ จะโคจรอยู่ในบริเวณ ระหว่าง ดาวอังคาร และดาวพฤหัส ข้อมูลปัจจุบัน ประมาณว่า มีดาวเคราะห์น้อย อยู่ประมาณ 30,000 ดวง ถึง 50,000 ดวง แต่มีเพียงไม่กี่ดวง ที่สามารถใช้ กล้องโทรทัศน์ขนาดเล็ก ส่องดูได้ ดาวเคราะห์น้อย บางดวงมีวงโคจร เปลี่ยนไป เปลี่ยนมา เมื่อโคจรผ่านดาวเคราะห์ ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัส จะถูกแรงดึงดูด รบกวนจน ทำให้วงโคจร ของดาวเคราะห์น้อย แปรเปลี่ยนไป ซึ่งบางดวง อาจโคจร เข้ามาใกล้โลกของเรา และอาจจะเกิด อันตรายต่อโลก ของเราได้ แต่มีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยมาก แต่ก็มีการนำเรื่อง ดังกล่าว ไปสร้าง เป็นภาพยนตร์ ที่หลายคน อาจจะได้ดูเมื่อ เร็วๆนี้ คือเรื่อง "Armageddon" ที่ทำเงิน จากการฉายทั่วโลกได้มากมาย   อืมเรื่องนี้ไม่มีรูปประกอบนะหาไม่ได้อ่ะ

ดาวหาง

ดาวหางเป็นเทหวัตถุมีมวลน้อยมาก หมุนอยู่รอบดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกับสมาชิกอื่นๆในระบบสุริยจักรวาลของเรา รูปร่างและความสว่างของดาวหางแต่ละดวงมีความแตกต่างกันออกไปตามระยะทางที่มันอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์ ดาวหางดวงที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นระยะทางไกลๆจะมีความสว่างน้อยมาก มองเห็นคล้ายๆว่าเป็นดวงดาวดวงหนึ่งเท่านั้น ส่วนประกอบสำคัญของดาวหางคือเทหวัตถุขนาดเล็กๆอยู่ในบริเวณตอนหัวของมันเรียกว่า นิวเคลียส

ปรากฏการณ์ของดาวหาง

ในอดีตมนุษย์มักจะมีความหวาดกลัวปรากฏการณ์ของดาวหางทั้งนี้เพราะมองเห็นว่าดาวหางปรากฏตัวขึ้นมาอย่าง กะทันหัน และมีแสงสุกใสมีเส้นทางโคจรลึกลับและบางครั้งดาวหางก็เปลี่ยนแปลงรูปร่างของมันไปอย่างรวดเร็ว

การโคจรของดาวหาง

วงโคจรของมันจะมีรูปทรงกรวยโดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลาง ชนิดของรูปทรงกรวยขึ้นอยู่กับลักษณะ การโคจรไม่เป็นวงกลมของมันคือ 2 และขึ้นอยู่กับความเร็วของดาวหางที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ใกล้ที่สุดคือระยะทาง เส้นทางโคจรของดาวหางมีความซับซ้อนมากกว่าที่กล่าวมาแล้วเพราะว่าดาวหางจะถูกรบกวนขณะเดินทางจากแรงดึงดูด ของดาวเคราะห์ ซึ่งบางครั้งมีผลกระทบต่อเส้นทางโคจรของมันเพียงเล็กน้อย แต่บางครั้งก็จะมีผลกระทบต่อเส้นทางเดินของดาวหาง ดวงนั้นเป็นอย่างมาก ดาวหางยิ่งเดินทางผ่านดาวเคราะห์มากเท่าใด ดาวหางดวงนั้นย่อมได้รัยอิทธิพลจากแรงดึงดูดของดาวเคราะห์ ดวงนั้นมากเท่านั้น ยิ่งดาวพฤหัสบดีซึ่งมีมวลมากส่งผลกระทบต่อวงโคจรของดาวหางมาก

The FireBall-The Meteor

                              อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

                              สะเก็ดดาวหรือดาวตก มองเห็นวิ่งผ่านชั้นบรรยากาศของโลกเป็นแสงสว่างแล้วก็หายไป สะเก็ดดาวตกอาจเป็นวัตถุแข็งๆ มีขนาดไม่โตกว่าเม็ดทรายหรืออาจมีขนาดเท่าๆกับเม็ดถั่วลิสงเท่านั้น แสงสว่างเกิดขึ้นมาเพราะการเสียดสีระหว่างอะตอมของสะเก็ดดาวตก กับโมเลกุลของอากาศของโลก สะเก็ดดาวตกเช่นนั้นมองเห็นมีแสงสว่างสะเก็ดดาวตกเช่นนั้นจะหายไปใน บรรยากาศของโลกในระดับความสูงประมาณ 60 ไมล์(95 กิโลเมตร) เทห์แข็งๆของสะเก็ดดาวบางครั้งมีมวลเพียงไม่กี่ออนซ์ จนถึงมีนำหนักหลายตันอาจหล่นมาถึงผิวโลกเรียกว่า อุกกาบาต สะเก็ดดาวบางครั้งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงไม่กี่ไมครอน วิ่งผ่านบรรยากาศและหล่นมาถึงผิวโลก เหลือเป็นอนุภาคเล็กๆ เมื่อโคจรผ่านสะเก็ดดาว ซึ่งเคลื่อนไหว ในวงโคจรรอบๆดวงอาทิตย์ จะมีจำนวนดาวตก จำนวนมากวิ่งผ่านเข้ามาในบรรยากาศของโลกชั่วโมง หนึ่งหลายสิบครั้ง บางครั้งกลุ่มสะเก็ดดาวปรากฏตัวอยู่บนท้องฟ้า เป็นแผ่นหนาเหมือนหิมะกลุ่มละอองสะเก็ดดาวในวงโคจรบางครั้งมีลักษณะเหมือนกลุ่มละออง สะเก็ดดาวในดาวหาง เรื่องนี้เป็นหลักฐานแสดง ให้เห็นว่าดาวหางและกลุ่มสะเก็ดดาวมีความเกี่ยวพันกันนักดาราศาสตร์มีความเห็นว่าสสาร ของสะเก็ดดาว คือส่วนที่หลงเหลือจากการสลายตัวของดาวหางบางดวง

               ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอุกกาบาต เช่น
ฝนอุกกาบาต(meteor showers) คือขณะที่โลกโคจรไปพบอุกกาบาตที่มาด้วยกันเป็นกลุ่มใหญ่อุกกาบาตนี้จะตกลงมาในเวลาอันรวดเร็ว                                                         เป็นจำนวนมาก
กลุ่มอุกกาบาต(meteor warm)   คืออุกกาบาตซึ่งโคจรเป็นกลุ่มมีวงโคจรเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์ไม่หนาแน่น ประมาณ 14 ชิ้น/2ล้านลูกบาศก์ไมล์
ธารอุกกาบาต(meteor steam)   คือกลุ่มอุกกาบาตที่แผ่กระจายออกมาตามความโค้งวงทางโคจรทำให้ดูเหมือนว่าอุกกาบาตนั้นเคลื่อนที่ในอวกาศ                                                        เป็นสายธาร

The Nebula

                            คำว่า"เนบิวลา"นักดาราศาสตร์ใช้เรียกสิ่งที่ปรากฏเป็นเมฆหมอกฝ้าอยู่คงที่ในท่ามกลางดวงดาว บนท้องฟ้า อาจจะปรากฏเป็นแสงสว่างเรือง หรือ มืดสนิทก็ได้ เรามองเห็นเนบิวลาได้ยาก เพราะแม้ชนิดที่สว่างก็มีแสงจาง แผ่กรจายไม่รวมกันเข้มเป็นจุดสว่างดังเช่นดาวฤกษ์ เราจึงสามารถเห็นเนบิวลาบนท้องฟ้าด้วยตาเปล่าได้เพียง 4 แห่ง ในขณะที่สามารถเห็นดาวฤกษ์ด้วยตาเปล่าถึงราว 5,000 ดวง ความจริงเนบิวลามีอยู๋เป็นปริมาณมากมายไม่น้อย การที่เราจะตรวจพบหรือไม่ขึ้นอยู่กับความไวของอุปกรณ์ที่ใช้สำรวจ เนบิวลาที่อยู๋ในระบบทางช้างเผือกของเรา เรียกว่า กาแลคติคเนบิวลา Galaxtic Nebula ซึ่งเป็นกลุ่มก๊าซที่มีความสัมพันธ์ทางใดทางหนึ่งกับดาวฤกษ์ หรือกลุ่มดาวในกาแลกซี ซึ่งดวงอาทิตย์ของเราเป็นสมาชิกหน่วยหนึ่ง ตัวอย่างของ Galaxtic Nebulaชนิดแผ่กระจายได้แก่ กลุ่มที่อยู๋ในหมู่ดาว ออไรน นับเป็นกลุ่มก๊าซและฝุ่นซึ่งใหญ่โตกลุ่มหนึ่งในกาแลกซี กินอาณาเขตกว้างขวางในอวกาศ แผ่คลุมดาวฤกษ์อยู่ภายในองค์ประกอบสำคัญ คือ Hydrogen Helium มากที่สุด และนอกนั้นก็มี Oxygen และ Nitrogen เป็นต้น เนบิวลานี้เรืองเสงเพราะถูกกระตุ้นด้วยUVจากดาวฤกษืซึ่งอยู่ภายใน และบางส่วนของก๊าซและฝุ่นที่อยู่เบื้องหลังไกลออกไป จึงปรากฏเป็นเนบิวลามืด กาแลคติคเนบิวลาชนิดเป็นดวง นั้นเป็นกลุ่มก๊าซรูปทรงกลมซึ่งแผ่กระจายออกมาจากการระเบิดของดาวฤกษ์ และปรากฏให้เห็นหลายดวงบนท้องฟ้า เช่นที่เรียกกันว่า เนบิวลาวงแหวน เนบิวลาปู เนบิวลานกฮูก เป็นต้น ตามความคล้ายคลึงกับรูปสิ่งของ สัตว์ที่มนุษย์คุ้นเคยกันทั่วไป

                    เนบิวลานอกกาแลกซี หรือ สไปราลเนบิวลา นั้นเป็นวัตถุจำพวกที่อยู๋ห่างไกลออกไปนอกกาแลกซีของเรา เป็นต้นว่า เมฆแมคเยลแลน ซึ่งเห็นได้ด้วยตาเปล่าบนท้องฟ้าของซีกโลกภาคใต้ อยู่ห่างไป 150,000 ปีแสง หรืออาจจะมากกว่านั้นก็เป็นได้เช่น สไปราลเนบิวลา ที่อยู่ในทิศทางของหมู่ดาวอันโดรเมดาซึ่งอยู่ห่างออกไปถึง 2,200,000 ปีแสง ข้างล่างจะเป็นลักษณะของเนบิวลานะ

: 10 มิถุนายน 2540 เวลา 0.33 น. กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสสิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล Losmandy G-11 เนบิวลาอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ตำแหน่ง R.A. 18h 02m Dec -23o02' อันดับความสว่าง 8.5 ฟิล์ม Kodak Multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 45 นาที

: 4 มิถุนายน 2540 เวลา 2.03 น.
ใช้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสซิเกรน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที ฟิล์ม Kodak Multispeed ตำแหน่ง 18h20m, -16o11'
อันดับความสว่าง 7.6 อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู (Ophiuchus)

: 15 มีนาคม 2540 เวลา 3.00 น.
กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง แบบชมิดท์แคสซิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
อันดับความสว่าง 5.8 อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู (Sagittarius)
ฟิล์ม Kodak multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที
-ดาวพุธเล็กที่สุด,ดาวพฤหัสใหญ่ที่สุด
-ดาวพุธ,ดาวศุกร์ 2 ดวงนี้รูปร่างเกือบเป็นวงกลมเหมือนดวงจันทร์และดวงอาทิตย์
-ดางศุกร์,ดาวเนปจูนมีวงทางโคจรรอบดวงอาทิตย์เกือบเป็นวงกลม
-โลกเป็นดาวที่มีมนุษย์อาศัยอยู่


                                      


มวลของสมาชิกในระบบสุริยะ
ดวงอาทิตย์ 99.85 %
เหล่าดาวเคราะห์ 0.135 %
เหล่าดาวหาง 0.01 %
บริวารของดาวเคราะห์ 0.00005 %
ดาวเคราะห์น้อย 0.0000002 %
อุกกาบาต 0.0000001 %

องค์ประกอบของระบบสุริยะ
ระบบสุริยะประกอบด้วยดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางและเหล่าสมาชิกโคจรโดยรอบ คือ ดาวเคราะห์ 9 ดวง บริวารของดาวเคราะห์ ดาวหาง ดาวเคราะห์น้อยและอุกกาบาต เมื่อเปรียบเทียบมวลของสมาชิกในระบบสุริยะ ดวงอาทิตย์มีมวลมากที่สุดถึง 99.85% ขณะที่ดาวเคราะห์ทุกดวงรวมกันมีมวลเพียง 0.01355 % ซึ่งดาวพฤหัสบดีมีมวลสูงเป็น 2.5 เท่าของมวลดาวเคราะห์อื่น ๆ ทุกดวงรวมกัน
ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งกำเนิดพลังงานที่ใหญ่ที่สุดแผ่พลังงานออกไปในระบบสุริยะโดยรอบในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

ขนาดของระบบสุริยจักรวาล
การวัดระยะทางภายในระบบสุริยจักรวาลใช้ระบบการวัดหลายระบบด้วยกัน ส่วนใหญ่จะใช้หน่วยวัดเป็นไมล์ ระยะทาง จากดวงอาทิตย์ไปยังดาวเคราะห์ที่ไกลที่สุดที่ค้นพบว่ามีอยู่ปัจจุบัน คือ ดาวเคราะห์พลูโต มีระยะทาง 39.4 หน่วยดาราศาสตร์ในขณะดวงดาว(ดาวฤกษ์)ที่อยู่ ใกล้เรามากที่สุดห่างออกไป 1.33 พาร์เซค (4.35 ปีแสง) วงโคจรของดาวหาง ซึ่งเป็นวงยาวรืมากจะเป็นวงจรอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ไกลออกไปหลายร้อยหรือหลายพัน หน่วยดาราศาสตร์ แต่บริเวณเลยดาวเคราะห์พลูโตออกไป เป็นบริเวณกว้างใหญ่ไพศาลของอวกาศที่มีแต่ความว่างเปล่า ดังนั้นสมาชิกของระบบสุริยจักรวาล จึงห้อมล้อม ด้วยอวกาศและเมื่อเปรียบขนาดของสุริยจักรวาลกับขนาดของกาแลคซี่ทางช้างเผือกซึ่งสุริยจักรวาลของเราเป็นสมาชิกอยู่ ระบบสุริยจักรวาลจะเป็นเพียงจุดเล็กๆจุดหนึ่ง ที่ปราศจากความสำคัญใดๆและจะกลายเป็นเรื่องยากลำบากยิ่ง ในการค้นหาระบบสุริยจักรวาลของเราให้พบเมื่อสังเกตการณ์จากดวงดาวที่อยู่ใกล้สุริยจักรวาลที่สุด ยกเว้น แต่จะมองเห็นดวงอาทิตย์ของเราเพียงดวงเดียวเท่านั้น

ตำแหน่งของระบบสุริยะในกาแล็กซีทางช้างเผือก
ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ดวงหนึ่ง อยู่ในอาณาจักแห่งดวงดาว ที่เรียกว่า กาแล็กซีทางช้างเผือก (The milky Way) หรือ กาแล็กซีของเรา ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกดาวฤกษ์มากมายประมาณ 2 แสนล้านดวง มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 แสนปีแสง ระบบสุริยะอยู่ห่างจากศูนย์กลางราว 32600 ปีแสง ดวงอาทิตย์พาเหล่าบริวารโคจรครบรอบกาแล็กซีในเวลา 225 ล้านปี
เมื่อมองจากอวกาศเหนือขั้วโลกเหนือของดวงอาทิตย์ สมาชิกในระบบสุริยะโคจรรอบดวงอาทิตย์ในทิศทาง ทวนเข็มนาฬิกาไปทางเดียวกัน
ดาวเคราะห์ทั้งหลายต่างโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่ในระนาบใกล้เคียงกัน กับระนาบที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ซึ่งเรียกว่า ระนาบสุริยวิถี (Ecliptic) มีแต่ดาวพลูโตดวงเดียวที่มีวงโคจรรีมาก และเอียงออกจากระนาบสุริยวิถีมากถึง 18 องศา

กำเนิดระบบสุริยะ
สันนิษฐานว่าระบบสุริยะมีกำเนิดมาจากกลุ่มก๊าซและฝุ่นขนาดมหึมาที่หมุนรอบศูนย์กลางเมื่อประมาณ 5000 ล้านปีก่อน มวลสารหมุนวนทำให้มีลักษณะเป็นจานแบนเมื่ออุณหภูมิรอบนอกค่อย ๆเย็นตัวลง มวลสารรวมตัวกันเกิดเป็นดาวเคราะห์และสมาชิกบริวารโคจรรอบดวงอาทิตย์ไปทางเดียวกันและอยู่ในระนาบใกล้เคียงกัน เช่นทุกวันนี้

ประเภทของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ
ดาวเคราะห์ชั้นใน (Inner Planets)
เป็นกลุ่มดาวเคราะห์ทีมีลักษณะคล้ายโลก (The Terrestrial Planet) คือมีพื้นผิวเป็นหินแข็งอย่างโลก ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคาร ขณะที่ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคารมีบรรยากาศห่อหุ้มชัดเจน แต่ดาวพุธเกือบไม่มีบรรยากาศเลย

ดาวเคราะห์ชั้นนอก (Outer Planets)
เป็นกลุ่มดาวเคราะห์ที่มีลักษณะคล้ายดาวพฤหัสบดี (The Jovian Planets) คือเป็นดาวเคราะห์ก๊าซซึ่งอาจมีแกนแข็งขนาดเล็กอยู่ที่ใจกลางและ มีขนาดใหญ่มากเมื่อเทียบกับโลกได้แก่ ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน

ดาวพลูโตดวงโดดเดี่ยว
ดาวพลูโตเป็นดาวเคราะห์ที่มีลักษณะพิเศษประกอบด้วยหินและน้ำแข็งจึงมีลักษณะคล้ายโลก แต่วงโคจรไกลเลยจากวงโคจรของดาวเนปจูนออกไป มนุษย์ยังมีความรรู้เรื่องดาวพลูโตน้อยมาก เนื่องจากวงโคจรของดาวพลูโตเอียงออกจากระนาบของ สุริยวิถีมากจึงมีบางช่วงนานราว 20 ปี ที่ดาวพลูโตโคจรอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าดาวเนปจูน บรรยากาศอาจเกิดจากมีเทนแข็งระเหิด ขณะเมื่อพลูโตเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ แต่เมื่ออยู่ไกลจากดวงอาทิตย์ตามปกติ ดาวพลูโตอาจเย็นจัดเป็นก้อนน้ำแข็งและไม่มีบรรยากาศก็เป็นได้


สัญลักษณ์ของดวงอาทิตย์   -------------->>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>            

ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ชั้น G2  เป็นเพียงสมาชิกหนึ่งในบรรดาดาวฤกษ์หนึ่งแสนล้านดวง ในกาแล๊กซี่ทางช้างเผือก

เส้นผ่านศูนย์กลาง: 1,390,000 ก.ม.
มวล: 1.989 x 1030 ก.ก.
อุณหภูมิ: 5800 เคลวิน (พื้นผิว) 15,600,000 K (แกน)

ดวงอาทิตย์ เป็นเทหวัตถุ ที่ใหญ่ที่สุด ในระบบสุริยะ คิดเป็นมวลมากกว่า 99.8% ของมวลทั้งระบบ (ที่เหลือเกือบทั้งหมดเป็น
ดาวพฤหัสบด )

ด วงอาทิตย์ มีชื่อเรียกหลายชื่อในเทพนิยาย: กรีกเรียกว่า เฮลิออส โรมันเรียกว่า ซอล

ในปัจจุบันดวงอาทิตย์ประกอบด้วย ไฮโดรเจน 75% และ ฮีเลียม 25% นับโดยมวล (ไฮโดรเจน 92.1% และฮีเลียม 7.8% นับโดยจำนวนอะตอม) ที่เหลือจำนวน 0.1% เป็น "โลหะ"  X ส่วนเหล่านี้เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ โดยดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจนในแกนของมันให้กลายเป็นฮีเลียม

ชั้นนอกของดวงอาทิตย์มีการเคลื่อนที่แบบ differential rotation กล่าวคือ ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตร หมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบใช้เวลา 25.4 วัน แต่บริเวณขั้ว หมุนหนึ่งรอบใช้เวลาถึง 36 วัน พฤติกรรมเช่นนี้แสดงว่าดวงอาทิตย์มิได้เป็นของแข็ง (solid body) เฉกเข่นโลก แต่คล้ายกับ ดาวเคราะห์แก๊ส ลักษณะการหมุนเช่นนี้เกิดขึ้นในแนวลึกลงไปด้วย ยกเว้นตรงแกนของดวงอาทิตย์ หมุนรอบตัวในลักษณะแบบของแข็ง

แกนของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิสูงถึง 15.6 ล้านเคลวิน และมีความกดดัน 250 พันล้าน หน่วยบรรยากาศ แก๊สที่แกนกลางถูกอัดตัวให้มีความหนาแน่นมากกว่าน้ำถึง 150 เท่า

พลังงานของดวงอาทิตย์  ผลิตโดยปฏิกริยา นิวเคลียร์ฟิวชั่น ทุก ๆ หนึ่งวินาที ดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจน 700,000,000 ตัน ให้กลายเป็นฮีเลียม 695,000,000 ตัน และพลังงานในรูปของรังสีแกมม่าอีกจำนวน 5,000,000 ตัน พุ่งตรงมายังพื้นผิว จากนั้นพลังงานถูกดูดกลืนเข้าไปและเปล่งออกอีก ทำให้อุณหภูมิลดต่ำลงเมื่อถึงพื้นผิว กลายเป็นแสงที่เรามองเห็นได้; ณ ข่วง 20% สุดท้ายก่อนที่จะถึงพื้นผิว พลังงานส่วนใหญ่ม้วนตัวกลับ ( convection ) มากกว่าที่จะแผ่รังสีออก

 พื้นผิวของดวงอาทิตย์เรียกว่า ชั้นโฟโตสเฟียร์ มีอุณหภมิประมาณ 5,800 เคลวิน; จุดบนดวงอาทิตย์ (Sunspots) เป็นย่านที่อุณหภูมิต่ำเพียง 3,800 เคลวิน (มันดูมืดเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณรอบ ๆ) จุดบนดวงอาทิตย์อาจมีขนาดใหญ่ถึง 50,000 ก.ม. มันเกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สลับซับซ้อน และยังไม่เข้าใจดีนัก ว่าเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์อย่างไร

เหนือขึ้นมาจากชั้นโฟโตสเฟียร์ มีชั้นเล็ก ๆ เรียกว่า โครโมสเฟียร์

 ชั้นที่อยู่เหนือโครโมสเฟียร์ เราเรียกว่า โคโรน่า มันแผ่ออกไปในอวกาศหลายล้านกิโลเมตร แต่จะมองเห็นได้เฉพาะเวลาที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงเท่านั้น โคโคน่ามีอุณหภูมิสูงมากกว่า 1,000,000 เคลวิน

ส นามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์มีความเข้มและซับซ้อนมาก เขต แมกเนโตสเฟียร์ (ซึ่งบางทีเรียกว่า เฮลิโอสเฟียร์) แผ่ขยายออกไปไกลกว่า ดาวพลูโต

 นอกเหนือจากความร้อนและแสง ดวงอาทิตย์แพร่อนุภาคความหนาแน่นต่ำ (ส่วนมากเป็นอิเล็กตรอนและโปรตอน) ซึ่งรู้จักกันในนามของลมสุริยะ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 450 ก.ม./วินาที ลมสุริยะและอนุภาคซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า ถูกพ่นออกโดย solar flares สามารถรบกวนสายไฟฟ้าแรงสูง คลื่นวิทยุะ และทำให้เกิดปรากฏการณ์แสงเหนือแสงใต้ที่งดงาม

 ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณ 4.5 ล้านปี นับตั้งแต่กำเนิดมามันได้เผาผลาญไฮโดรเจนในแกนของมันไปประมาณครึ่งหนึ่ง มันยังคงแผ่รังสีอย่างสงบต่อไปอีกประมาณ 5 ล้านปี (ความสว่างจะมากขึ้นเป็นสองเท่าเมื่อถึงเวลานั้น) และเมื่อไฮโดรเจนหมดลง ขนาดของมันจะใหญ่ขึ้นจนกลืนโลกเข้าไป 

ดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์น้อยเป็นเทห์วัตถุ บนท้องฟ้า อีกชนิดหนึ่ง และเป็นบริวาร ที่โคจรรอบ ดวงอาทิตย์คล้ายๆ ดาวเคราะห์ แต่มักมีขนาดเล็ก โดยส่วนใหญ่ จะโคจรอยู่ในบริเวณ ระหว่าง ดาวอังคาร และดาวพฤหัส ข้อมูลปัจจุบัน ประมาณว่า มีดาวเคราะห์น้อย อยู่ประมาณ 30,000 ดวง ถึง 50,000 ดวง แต่มีเพียงไม่กี่ดวง ที่สามารถใช้ กล้องโทรทัศน์ขนาดเล็ก ส่องดูได้ ดาวเคราะห์น้อย บางดวงมีวงโคจร เปลี่ยนไป เปลี่ยนมา เมื่อโคจรผ่านดาวเคราะห์ ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัส จะถูกแรงดึงดูด รบกวนจน ทำให้วงโคจร ของดาวเคราะห์น้อย แปรเปลี่ยนไป ซึ่งบางดวง อาจโคจร เข้ามาใกล้โลกของเรา และอาจจะเกิด อันตรายต่อโลก ของเราได้ แต่มีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยมาก แต่ก็มีการนำเรื่อง ดังกล่าว ไปสร้าง เป็นภาพยนตร์ ที่หลายคน อาจจะได้ดูเมื่อ เร็วๆนี้ คือเรื่อง "Armageddon" ที่ทำเงิน จากการฉายทั่วโลกได้มากมาย   อืมเรื่องนี้ไม่มีรูปประกอบนะหาไม่ได้อ่ะ

ดาวหาง

ดาวหางเป็นเทหวัตถุมีมวลน้อยมาก หมุนอยู่รอบดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกับสมาชิกอื่นๆในระบบสุริยจักรวาลของเรา รูปร่างและความสว่างของดาวหางแต่ละดวงมีความแตกต่างกันออกไปตามระยะทางที่มันอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์ ดาวหางดวงที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นระยะทางไกลๆจะมีความสว่างน้อยมาก มองเห็นคล้ายๆว่าเป็นดวงดาวดวงหนึ่งเท่านั้น ส่วนประกอบสำคัญของดาวหางคือเทหวัตถุขนาดเล็กๆอยู่ในบริเวณตอนหัวของมันเรียกว่า นิวเคลียส

ปรากฏการณ์ของดาวหาง

ในอดีตมนุษย์มักจะมีความหวาดกลัวปรากฏการณ์ของดาวหางทั้งนี้เพราะมองเห็นว่าดาวหางปรากฏตัวขึ้นมาอย่าง กะทันหัน และมีแสงสุกใสมีเส้นทางโคจรลึกลับและบางครั้งดาวหางก็เปลี่ยนแปลงรูปร่างของมันไปอย่างรวดเร็ว

การโคจรของดาวหาง

วงโคจรของมันจะมีรูปทรงกรวยโดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลาง ชนิดของรูปทรงกรวยขึ้นอยู่กับลักษณะ การโคจรไม่เป็นวงกลมของมันคือ 2 และขึ้นอยู่กับความเร็วของดาวหางที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ใกล้ที่สุดคือระยะทาง เส้นทางโคจรของดาวหางมีความซับซ้อนมากกว่าที่กล่าวมาแล้วเพราะว่าดาวหางจะถูกรบกวนขณะเดินทางจากแรงดึงดูด ของดาวเคราะห์ ซึ่งบางครั้งมีผลกระทบต่อเส้นทางโคจรของมันเพียงเล็กน้อย แต่บางครั้งก็จะมีผลกระทบต่อเส้นทางเดินของดาวหาง ดวงนั้นเป็นอย่างมาก ดาวหางยิ่งเดินทางผ่านดาวเคราะห์มากเท่าใด ดาวหางดวงนั้นย่อมได้รัยอิทธิพลจากแรงดึงดูดของดาวเคราะห์ ดวงนั้นมากเท่านั้น ยิ่งดาวพฤหัสบดีซึ่งมีมวลมากส่งผลกระทบต่อวงโคจรของดาวหางมาก

The FireBall-The Meteor

                              อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

                              สะเก็ดดาวหรือดาวตก มองเห็นวิ่งผ่านชั้นบรรยากาศของโลกเป็นแสงสว่างแล้วก็หายไป สะเก็ดดาวตกอาจเป็นวัตถุแข็งๆ มีขนาดไม่โตกว่าเม็ดทรายหรืออาจมีขนาดเท่าๆกับเม็ดถั่วลิสงเท่านั้น แสงสว่างเกิดขึ้นมาเพราะการเสียดสีระหว่างอะตอมของสะเก็ดดาวตก กับโมเลกุลของอากาศของโลก สะเก็ดดาวตกเช่นนั้นมองเห็นมีแสงสว่างสะเก็ดดาวตกเช่นนั้นจะหายไปใน บรรยากาศของโลกในระดับความสูงประมาณ 60 ไมล์(95 กิโลเมตร) เทห์แข็งๆของสะเก็ดดาวบางครั้งมีมวลเพียงไม่กี่ออนซ์ จนถึงมีนำหนักหลายตันอาจหล่นมาถึงผิวโลกเรียกว่า อุกกาบาต สะเก็ดดาวบางครั้งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงไม่กี่ไมครอน วิ่งผ่านบรรยากาศและหล่นมาถึงผิวโลก เหลือเป็นอนุภาคเล็กๆ เมื่อโคจรผ่านสะเก็ดดาว ซึ่งเคลื่อนไหว ในวงโคจรรอบๆดวงอาทิตย์ จะมีจำนวนดาวตก จำนวนมากวิ่งผ่านเข้ามาในบรรยากาศของโลกชั่วโมง หนึ่งหลายสิบครั้ง บางครั้งกลุ่มสะเก็ดดาวปรากฏตัวอยู่บนท้องฟ้า เป็นแผ่นหนาเหมือนหิมะกลุ่มละอองสะเก็ดดาวในวงโคจรบางครั้งมีลักษณะเหมือนกลุ่มละออง สะเก็ดดาวในดาวหาง เรื่องนี้เป็นหลักฐานแสดง ให้เห็นว่าดาวหางและกลุ่มสะเก็ดดาวมีความเกี่ยวพันกันนักดาราศาสตร์มีความเห็นว่าสสาร ของสะเก็ดดาว คือส่วนที่หลงเหลือจากการสลายตัวของดาวหางบางดวง

               ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอุกกาบาต เช่น
ฝนอุกกาบาต(meteor showers) คือขณะที่โลกโคจรไปพบอุกกาบาตที่มาด้วยกันเป็นกลุ่มใหญ่อุกกาบาตนี้จะตกลงมาในเวลาอันรวดเร็ว                                                         เป็นจำนวนมาก
กลุ่มอุกกาบาต(meteor warm)   คืออุกกาบาตซึ่งโคจรเป็นกลุ่มมีวงโคจรเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์ไม่หนาแน่น ประมาณ 14 ชิ้น/2ล้านลูกบาศก์ไมล์
ธารอุกกาบาต(meteor steam)   คือกลุ่มอุกกาบาตที่แผ่กระจายออกมาตามความโค้งวงทางโคจรทำให้ดูเหมือนว่าอุกกาบาตนั้นเคลื่อนที่ในอวกาศ                                                        เป็นสายธาร

The Nebula

                            คำว่า"เนบิวลา"นักดาราศาสตร์ใช้เรียกสิ่งที่ปรากฏเป็นเมฆหมอกฝ้าอยู่คงที่ในท่ามกลางดวงดาว บนท้องฟ้า อาจจะปรากฏเป็นแสงสว่างเรือง หรือ มืดสนิทก็ได้ เรามองเห็นเนบิวลาได้ยาก เพราะแม้ชนิดที่สว่างก็มีแสงจาง แผ่กรจายไม่รวมกันเข้มเป็นจุดสว่างดังเช่นดาวฤกษ์ เราจึงสามารถเห็นเนบิวลาบนท้องฟ้าด้วยตาเปล่าได้เพียง 4 แห่ง ในขณะที่สามารถเห็นดาวฤกษ์ด้วยตาเปล่าถึงราว 5,000 ดวง ความจริงเนบิวลามีอยู๋เป็นปริมาณมากมายไม่น้อย การที่เราจะตรวจพบหรือไม่ขึ้นอยู่กับความไวของอุปกรณ์ที่ใช้สำรวจ เนบิวลาที่อยู๋ในระบบทางช้างเผือกของเรา เรียกว่า กาแลคติคเนบิวลา Galaxtic Nebula ซึ่งเป็นกลุ่มก๊าซที่มีความสัมพันธ์ทางใดทางหนึ่งกับดาวฤกษ์ หรือกลุ่มดาวในกาแลกซี ซึ่งดวงอาทิตย์ของเราเป็นสมาชิกหน่วยหนึ่ง ตัวอย่างของ Galaxtic Nebulaชนิดแผ่กระจายได้แก่ กลุ่มที่อยู๋ในหมู่ดาว ออไรน นับเป็นกลุ่มก๊าซและฝุ่นซึ่งใหญ่โตกลุ่มหนึ่งในกาแลกซี กินอาณาเขตกว้างขวางในอวกาศ แผ่คลุมดาวฤกษ์อยู่ภายในองค์ประกอบสำคัญ คือ Hydrogen Helium มากที่สุด และนอกนั้นก็มี Oxygen และ Nitrogen เป็นต้น เนบิวลานี้เรืองเสงเพราะถูกกระตุ้นด้วยUVจากดาวฤกษืซึ่งอยู่ภายใน และบางส่วนของก๊าซและฝุ่นที่อยู่เบื้องหลังไกลออกไป จึงปรากฏเป็นเนบิวลามืด กาแลคติคเนบิวลาชนิดเป็นดวง นั้นเป็นกลุ่มก๊าซรูปทรงกลมซึ่งแผ่กระจายออกมาจากการระเบิดของดาวฤกษ์ และปรากฏให้เห็นหลายดวงบนท้องฟ้า เช่นที่เรียกกันว่า เนบิวลาวงแหวน เนบิวลาปู เนบิวลานกฮูก เป็นต้น ตามความคล้ายคลึงกับรูปสิ่งของ สัตว์ที่มนุษย์คุ้นเคยกันทั่วไป

                    เนบิวลานอกกาแลกซี หรือ สไปราลเนบิวลา นั้นเป็นวัตถุจำพวกที่อยู๋ห่างไกลออกไปนอกกาแลกซีของเรา เป็นต้นว่า เมฆแมคเยลแลน ซึ่งเห็นได้ด้วยตาเปล่าบนท้องฟ้าของซีกโลกภาคใต้ อยู่ห่างไป 150,000 ปีแสง หรืออาจจะมากกว่านั้นก็เป็นได้เช่น สไปราลเนบิวลา ที่อยู่ในทิศทางของหมู่ดาวอันโดรเมดาซึ่งอยู่ห่างออกไปถึง 2,200,000 ปีแสง ข้างล่างจะเป็นลักษณะของเนบิวลานะ

: 10 มิถุนายน 2540 เวลา 0.33 น. กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสสิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล Losmandy G-11 เนบิวลาอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ตำแหน่ง R.A. 18h 02m Dec -23o02' อันดับความสว่าง 8.5 ฟิล์ม Kodak Multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 45 นาที

: 4 มิถุนายน 2540 เวลา 2.03 น.
ใช้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสซิเกรน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที ฟิล์ม Kodak Multispeed ตำแหน่ง 18h20m, -16o11'
อันดับความสว่าง 7.6 อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู (Ophiuchus)

: 15 มีนาคม 2540 เวลา 3.00 น.
กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง แบบชมิดท์แคสซิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
อันดับความสว่าง 5.8 อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู (Sagittarius)
ฟิล์ม Kodak multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที


สัญลักษณ์ของดวงอาทิตย์   -------------->>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>            

ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ชั้น G2  เป็นเพียงสมาชิกหนึ่งในบรรดาดาวฤกษ์หนึ่งแสนล้านดวง ในกาแล๊กซี่ทางช้างเผือก

เส้นผ่านศูนย์กลาง: 1,390,000 ก.ม.
มวล: 1.989 x 1030 ก.ก.
อุณหภูมิ: 5800 เคลวิน (พื้นผิว) 15,600,000 K (แกน)

ดวงอาทิตย์ เป็นเทหวัตถุ ที่ใหญ่ที่สุด ในระบบสุริยะ คิดเป็นมวลมากกว่า 99.8% ของมวลทั้งระบบ (ที่เหลือเกือบทั้งหมดเป็น
ดาวพฤหัสบด )

ด วงอาทิตย์ มีชื่อเรียกหลายชื่อในเทพนิยาย: กรีกเรียกว่า เฮลิออส โรมันเรียกว่า ซอล

ในปัจจุบันดวงอาทิตย์ประกอบด้วย ไฮโดรเจน 75% และ ฮีเลียม 25% นับโดยมวล (ไฮโดรเจน 92.1% และฮีเลียม 7.8% นับโดยจำนวนอะตอม) ที่เหลือจำนวน 0.1% เป็น "โลหะ"  X ส่วนเหล่านี้เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ โดยดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจนในแกนของมันให้กลายเป็นฮีเลียม

ชั้นนอกของดวงอาทิตย์มีการเคลื่อนที่แบบ differential rotation กล่าวคือ ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตร หมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบใช้เวลา 25.4 วัน แต่บริเวณขั้ว หมุนหนึ่งรอบใช้เวลาถึง 36 วัน พฤติกรรมเช่นนี้แสดงว่าดวงอาทิตย์มิได้เป็นของแข็ง (solid body) เฉกเข่นโลก แต่คล้ายกับ ดาวเคราะห์แก๊ส ลักษณะการหมุนเช่นนี้เกิดขึ้นในแนวลึกลงไปด้วย ยกเว้นตรงแกนของดวงอาทิตย์ หมุนรอบตัวในลักษณะแบบของแข็ง

แกนของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิสูงถึง 15.6 ล้านเคลวิน และมีความกดดัน 250 พันล้าน หน่วยบรรยากาศ แก๊สที่แกนกลางถูกอัดตัวให้มีความหนาแน่นมากกว่าน้ำถึง 150 เท่า

พลังงานของดวงอาทิตย์  ผลิตโดยปฏิกริยา นิวเคลียร์ฟิวชั่น ทุก ๆ หนึ่งวินาที ดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจน 700,000,000 ตัน ให้กลายเป็นฮีเลียม 695,000,000 ตัน และพลังงานในรูปของรังสีแกมม่าอีกจำนวน 5,000,000 ตัน พุ่งตรงมายังพื้นผิว จากนั้นพลังงานถูกดูดกลืนเข้าไปและเปล่งออกอีก ทำให้อุณหภูมิลดต่ำลงเมื่อถึงพื้นผิว กลายเป็นแสงที่เรามองเห็นได้; ณ ข่วง 20% สุดท้ายก่อนที่จะถึงพื้นผิว พลังงานส่วนใหญ่ม้วนตัวกลับ ( convection ) มากกว่าที่จะแผ่รังสีออก

 พื้นผิวของดวงอาทิตย์เรียกว่า ชั้นโฟโตสเฟียร์ มีอุณหภมิประมาณ 5,800 เคลวิน; จุดบนดวงอาทิตย์ (Sunspots) เป็นย่านที่อุณหภูมิต่ำเพียง 3,800 เคลวิน (มันดูมืดเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณรอบ ๆ) จุดบนดวงอาทิตย์อาจมีขนาดใหญ่ถึง 50,000 ก.ม. มันเกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สลับซับซ้อน และยังไม่เข้าใจดีนัก ว่าเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์อย่างไร

เหนือขึ้นมาจากชั้นโฟโตสเฟียร์ มีชั้นเล็ก ๆ เรียกว่า โครโมสเฟียร์

 ชั้นที่อยู่เหนือโครโมสเฟียร์ เราเรียกว่า โคโรน่า มันแผ่ออกไปในอวกาศหลายล้านกิโลเมตร แต่จะมองเห็นได้เฉพาะเวลาที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงเท่านั้น โคโคน่ามีอุณหภูมิสูงมากกว่า 1,000,000 เคลวิน

ส นามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์มีความเข้มและซับซ้อนมาก เขต แมกเนโตสเฟียร์ (ซึ่งบางทีเรียกว่า เฮลิโอสเฟียร์) แผ่ขยายออกไปไกลกว่า ดาวพลูโต

 นอกเหนือจากความร้อนและแสง ดวงอาทิตย์แพร่อนุภาคความหนาแน่นต่ำ (ส่วนมากเป็นอิเล็กตรอนและโปรตอน) ซึ่งรู้จักกันในนามของลมสุริยะ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 450 ก.ม./วินาที ลมสุริยะและอนุภาคซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า ถูกพ่นออกโดย solar flares สามารถรบกวนสายไฟฟ้าแรงสูง คลื่นวิทยุะ และทำให้เกิดปรากฏการณ์แสงเหนือแสงใต้ที่งดงาม

 ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณ 4.5 ล้านปี นับตั้งแต่กำเนิดมามันได้เผาผลาญไฮโดรเจนในแกนของมันไปประมาณครึ่งหนึ่ง มันยังคงแผ่รังสีอย่างสงบต่อไปอีกประมาณ 5 ล้านปี (ความสว่างจะมากขึ้นเป็นสองเท่าเมื่อถึงเวลานั้น) และเมื่อไฮโดรเจนหมดลง ขนาดของมันจะใหญ่ขึ้นจนกลืนโลกเข้าไป 

ดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์น้อยเป็นเทห์วัตถุ บนท้องฟ้า อีกชนิดหนึ่ง และเป็นบริวาร ที่โคจรรอบ ดวงอาทิตย์คล้ายๆ ดาวเคราะห์ แต่มักมีขนาดเล็ก โดยส่วนใหญ่ จะโคจรอยู่ในบริเวณ ระหว่าง ดาวอังคาร และดาวพฤหัส ข้อมูลปัจจุบัน ประมาณว่า มีดาวเคราะห์น้อย อยู่ประมาณ 30,000 ดวง ถึง 50,000 ดวง แต่มีเพียงไม่กี่ดวง ที่สามารถใช้ กล้องโทรทัศน์ขนาดเล็ก ส่องดูได้ ดาวเคราะห์น้อย บางดวงมีวงโคจร เปลี่ยนไป เปลี่ยนมา เมื่อโคจรผ่านดาวเคราะห์ ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัส จะถูกแรงดึงดูด รบกวนจน ทำให้วงโคจร ของดาวเคราะห์น้อย แปรเปลี่ยนไป ซึ่งบางดวง อาจโคจร เข้ามาใกล้โลกของเรา และอาจจะเกิด อันตรายต่อโลก ของเราได้ แต่มีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยมาก แต่ก็มีการนำเรื่อง ดังกล่าว ไปสร้าง เป็นภาพยนตร์ ที่หลายคน อาจจะได้ดูเมื่อ เร็วๆนี้ คือเรื่อง "Armageddon" ที่ทำเงิน จากการฉายทั่วโลกได้มากมาย   อืมเรื่องนี้ไม่มีรูปประกอบนะหาไม่ได้อ่ะ

ดาวหาง

ดาวหางเป็นเทหวัตถุมีมวลน้อยมาก หมุนอยู่รอบดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกับสมาชิกอื่นๆในระบบสุริยจักรวาลของเรา รูปร่างและความสว่างของดาวหางแต่ละดวงมีความแตกต่างกันออกไปตามระยะทางที่มันอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์ ดาวหางดวงที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นระยะทางไกลๆจะมีความสว่างน้อยมาก มองเห็นคล้ายๆว่าเป็นดวงดาวดวงหนึ่งเท่านั้น ส่วนประกอบสำคัญของดาวหางคือเทหวัตถุขนาดเล็กๆอยู่ในบริเวณตอนหัวของมันเรียกว่า นิวเคลียส

ปรากฏการณ์ของดาวหาง

ในอดีตมนุษย์มักจะมีความหวาดกลัวปรากฏการณ์ของดาวหางทั้งนี้เพราะมองเห็นว่าดาวหางปรากฏตัวขึ้นมาอย่าง กะทันหัน และมีแสงสุกใสมีเส้นทางโคจรลึกลับและบางครั้งดาวหางก็เปลี่ยนแปลงรูปร่างของมันไปอย่างรวดเร็ว

การโคจรของดาวหาง

วงโคจรของมันจะมีรูปทรงกรวยโดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลาง ชนิดของรูปทรงกรวยขึ้นอยู่กับลักษณะ การโคจรไม่เป็นวงกลมของมันคือ 2 และขึ้นอยู่กับความเร็วของดาวหางที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ใกล้ที่สุดคือระยะทาง เส้นทางโคจรของดาวหางมีความซับซ้อนมากกว่าที่กล่าวมาแล้วเพราะว่าดาวหางจะถูกรบกวนขณะเดินทางจากแรงดึงดูด ของดาวเคราะห์ ซึ่งบางครั้งมีผลกระทบต่อเส้นทางโคจรของมันเพียงเล็กน้อย แต่บางครั้งก็จะมีผลกระทบต่อเส้นทางเดินของดาวหาง ดวงนั้นเป็นอย่างมาก ดาวหางยิ่งเดินทางผ่านดาวเคราะห์มากเท่าใด ดาวหางดวงนั้นย่อมได้รัยอิทธิพลจากแรงดึงดูดของดาวเคราะห์ ดวงนั้นมากเท่านั้น ยิ่งดาวพฤหัสบดีซึ่งมีมวลมากส่งผลกระทบต่อวงโคจรของดาวหางมาก

The FireBall-The Meteor

                              อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

                              สะเก็ดดาวหรือดาวตก มองเห็นวิ่งผ่านชั้นบรรยากาศของโลกเป็นแสงสว่างแล้วก็หายไป สะเก็ดดาวตกอาจเป็นวัตถุแข็งๆ มีขนาดไม่โตกว่าเม็ดทรายหรืออาจมีขนาดเท่าๆกับเม็ดถั่วลิสงเท่านั้น แสงสว่างเกิดขึ้นมาเพราะการเสียดสีระหว่างอะตอมของสะเก็ดดาวตก กับโมเลกุลของอากาศของโลก สะเก็ดดาวตกเช่นนั้นมองเห็นมีแสงสว่างสะเก็ดดาวตกเช่นนั้นจะหายไปใน บรรยากาศของโลกในระดับความสูงประมาณ 60 ไมล์(95 กิโลเมตร) เทห์แข็งๆของสะเก็ดดาวบางครั้งมีมวลเพียงไม่กี่ออนซ์ จนถึงมีนำหนักหลายตันอาจหล่นมาถึงผิวโลกเรียกว่า อุกกาบาต สะเก็ดดาวบางครั้งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงไม่กี่ไมครอน วิ่งผ่านบรรยากาศและหล่นมาถึงผิวโลก เหลือเป็นอนุภาคเล็กๆ เมื่อโคจรผ่านสะเก็ดดาว ซึ่งเคลื่อนไหว ในวงโคจรรอบๆดวงอาทิตย์ จะมีจำนวนดาวตก จำนวนมากวิ่งผ่านเข้ามาในบรรยากาศของโลกชั่วโมง หนึ่งหลายสิบครั้ง บางครั้งกลุ่มสะเก็ดดาวปรากฏตัวอยู่บนท้องฟ้า เป็นแผ่นหนาเหมือนหิมะกลุ่มละอองสะเก็ดดาวในวงโคจรบางครั้งมีลักษณะเหมือนกลุ่มละออง สะเก็ดดาวในดาวหาง เรื่องนี้เป็นหลักฐานแสดง ให้เห็นว่าดาวหางและกลุ่มสะเก็ดดาวมีความเกี่ยวพันกันนักดาราศาสตร์มีความเห็นว่าสสาร ของสะเก็ดดาว คือส่วนที่หลงเหลือจากการสลายตัวของดาวหางบางดวง

               ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอุกกาบาต เช่น
ฝนอุกกาบาต(meteor showers) คือขณะที่โลกโคจรไปพบอุกกาบาตที่มาด้วยกันเป็นกลุ่มใหญ่อุกกาบาตนี้จะตกลงมาในเวลาอันรวดเร็ว                                                         เป็นจำนวนมาก
กลุ่มอุกกาบาต(meteor warm)   คืออุกกาบาตซึ่งโคจรเป็นกลุ่มมีวงโคจรเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์ไม่หนาแน่น ประมาณ 14 ชิ้น/2ล้านลูกบาศก์ไมล์
ธารอุกกาบาต(meteor steam)   คือกลุ่มอุกกาบาตที่แผ่กระจายออกมาตามความโค้งวงทางโคจรทำให้ดูเหมือนว่าอุกกาบาตนั้นเคลื่อนที่ในอวกาศ                                                        เป็นสายธาร

The Nebula

                            คำว่า"เนบิวลา"นักดาราศาสตร์ใช้เรียกสิ่งที่ปรากฏเป็นเมฆหมอกฝ้าอยู่คงที่ในท่ามกลางดวงดาว บนท้องฟ้า อาจจะปรากฏเป็นแสงสว่างเรือง หรือ มืดสนิทก็ได้ เรามองเห็นเนบิวลาได้ยาก เพราะแม้ชนิดที่สว่างก็มีแสงจาง แผ่กรจายไม่รวมกันเข้มเป็นจุดสว่างดังเช่นดาวฤกษ์ เราจึงสามารถเห็นเนบิวลาบนท้องฟ้าด้วยตาเปล่าได้เพียง 4 แห่ง ในขณะที่สามารถเห็นดาวฤกษ์ด้วยตาเปล่าถึงราว 5,000 ดวง ความจริงเนบิวลามีอยู๋เป็นปริมาณมากมายไม่น้อย การที่เราจะตรวจพบหรือไม่ขึ้นอยู่กับความไวของอุปกรณ์ที่ใช้สำรวจ เนบิวลาที่อยู๋ในระบบทางช้างเผือกของเรา เรียกว่า กาแลคติคเนบิวลา Galaxtic Nebula ซึ่งเป็นกลุ่มก๊าซที่มีความสัมพันธ์ทางใดทางหนึ่งกับดาวฤกษ์ หรือกลุ่มดาวในกาแลกซี ซึ่งดวงอาทิตย์ของเราเป็นสมาชิกหน่วยหนึ่ง ตัวอย่างของ Galaxtic Nebulaชนิดแผ่กระจายได้แก่ กลุ่มที่อยู๋ในหมู่ดาว ออไรน นับเป็นกลุ่มก๊าซและฝุ่นซึ่งใหญ่โตกลุ่มหนึ่งในกาแลกซี กินอาณาเขตกว้างขวางในอวกาศ แผ่คลุมดาวฤกษ์อยู่ภายในองค์ประกอบสำคัญ คือ Hydrogen Helium มากที่สุด และนอกนั้นก็มี Oxygen และ Nitrogen เป็นต้น เนบิวลานี้เรืองเสงเพราะถูกกระตุ้นด้วยUVจากดาวฤกษืซึ่งอยู่ภายใน และบางส่วนของก๊าซและฝุ่นที่อยู่เบื้องหลังไกลออกไป จึงปรากฏเป็นเนบิวลามืด กาแลคติคเนบิวลาชนิดเป็นดวง นั้นเป็นกลุ่มก๊าซรูปทรงกลมซึ่งแผ่กระจายออกมาจากการระเบิดของดาวฤกษ์ และปรากฏให้เห็นหลายดวงบนท้องฟ้า เช่นที่เรียกกันว่า เนบิวลาวงแหวน เนบิวลาปู เนบิวลานกฮูก เป็นต้น ตามความคล้ายคลึงกับรูปสิ่งของ สัตว์ที่มนุษย์คุ้นเคยกันทั่วไป

                    เนบิวลานอกกาแลกซี หรือ สไปราลเนบิวลา นั้นเป็นวัตถุจำพวกที่อยู๋ห่างไกลออกไปนอกกาแลกซีของเรา เป็นต้นว่า เมฆแมคเยลแลน ซึ่งเห็นได้ด้วยตาเปล่าบนท้องฟ้าของซีกโลกภาคใต้ อยู่ห่างไป 150,000 ปีแสง หรืออาจจะมากกว่านั้นก็เป็นได้เช่น สไปราลเนบิวลา ที่อยู่ในทิศทางของหมู่ดาวอันโดรเมดาซึ่งอยู่ห่างออกไปถึง 2,200,000 ปีแสง ข้างล่างจะเป็นลักษณะของเนบิวลานะ

: 10 มิถุนายน 2540 เวลา 0.33 น. กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสสิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล Losmandy G-11 เนบิวลาอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ตำแหน่ง R.A. 18h 02m Dec -23o02' อันดับความสว่าง 8.5 ฟิล์ม Kodak Multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 45 นาที

: 4 มิถุนายน 2540 เวลา 2.03 น.
ใช้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสซิเกรน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที ฟิล์ม Kodak Multispeed ตำแหน่ง 18h20m, -16o11'
อันดับความสว่าง 7.6 อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู (Ophiuchus)

: 15 มีนาคม 2540 เวลา 3.00 น.
กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง แบบชมิดท์แคสซิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
อันดับความสว่าง 5.8 อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู (Sagittarius)
ฟิล์ม Kodak multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที

แสดงความคิดเห็น

>