Dek-D.com ใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสบการณ์ของ
ผู้ใช้ให้ดียิ่งขึ้น เรียนรู้เพิ่มเติมที่นี่
ยอมรับ

ใครรู้จักโรคพากินสัน บ้างคะ

ตั้งกระทู้ใหม่
ตั้งกระทู้ใหม่
คือ เราอยากทราบข้อมูลเกี่ยวกับโรคนี้น่ะค่ะ ที่รู้มาคือมีอาการกระตุก เกิดจากเส้นประสาท ไม่รู้ว่าเราเข้าใจถูกรึปล่าว แล้วการรักษานี่ต้อง ทำเกี่ยวกับสมองเหรอคะ ถ้าไม่รักษาจะเป็นอันตรายมั้ยคะ ช่วยหน่อยนะคะ อยากรู้จริงๆ
PS.  ช่วยไปอ่านนิยายของผ้มหน่อยน้าคร้าบบ---ฉันรุไม่ควรเอาสัญญามาผูกมัดตัวเธอเอาไว้ ถ้าเธอไม่มีใจยื้อไว้ก็เท่านั้น แต่ต้องใช้คำว่าสัญญามาผูกมัดเธอไว้กับฉัน เพราะเชื่อว่าสักวันความรักจะทำให้เธอต้องใจอ่อน

แสดงความคิดเห็น

>

3 ความคิดเห็น

@~Pisces~@ 29 ต.ค. 49 เวลา 16:07 น. 1

เข้าไปดูได้ที่ เว็บไชด์นี้นะค่ะ
http://www.siamhealth.net/Disease/neuro/parkinson.htm

เพิ่มเติม 

การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอช่วยป้องกันการเกิดโรคพาร์กินสันได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเพศชายที่ฟิตร่างกายตั้งแต่อายุยังน้อย
สามารถลดความเสี่ยงของการเกิดโรคพาร์กินสันได้มากถึงร้อยละ 50 ค่ะ


PS.  You can logoff anytime you like but you can never leave
0
อ ภิญญา 28 ต.ค. 51 เวลา 17:33 น. 2

พลังชีวิตบำบัด เหรียญควอนตั้ม&nbsp การแพทย์ทางเลือกแห่งโลกยุคไฮเทค
เรียนเชิญผู้สนใจทดสอบ หรือ อยากรู้ข้อมูลเหรียญควอนตั้ม พลังสเคล่า คืออะไร ? จริงหรือไม่ เพียง 1 นาที ที่จับเห็นผลเลยหรือ
ไม่ใช้สิ่งงมงาย ไม่ได้เล่นกล แต่สามารถพิสูจน์ได้จริงทางวิทยาศาสตร์ และ มีผู้นำไปใช้ได้ผลจริงๆมาแล้ว มากกว่า 1000 คน ในประเทศไทย มารับฟังคำบอกเล่าจากปากดีกว่า อย่าเชื่อสิ่งที่เขาบอก ลองทดสอบด้วยตัวคุณเอง เพราะส่วนหนึ่งอาจจะมีประโยชน์ไม่มากก็น้อยสำหรับตัวคุณเองหรือเพื่อนบ้านของคุณ ที่นี้ได้อะไรมากกว่าที่คุณคิด

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม&nbsp ทดสอบพลังงานฟรี&nbsp 089-1735117&nbsp อภิญญา
www.fusionexcel.com
www.Quantum2u.com

0
เนย 30 เม.ย. 53 เวลา 14:09 น. 3

โรคพาร์กินสันมี 2 ประเภทใหญ่ๆนะคะ คือพาร์กินสันแท้ กับพาร์กินสันเทียม เป็นโรคที่เกิดจาก สมองทำงานผิดปรกติโดยไม่หลั่งสารตัวหนึ่งซึ่งที่เป็นตัวบังคับการเคลื่อนไหว ทำให้ผู้ป่วยมีอาการของการเคลื่อนไหวผิดปรกติ&nbsp ในพาร์กินสันแท้จะเกิดอาการสั่นที่พบบ่อยๆก็จะเป็นที่มือ ข้างใดข้างหนึ่งหรือสองข้าง ในกรณีนี้จะสังเกตได้ง่าย แต่ในรายที่เป็นพาร์กินสันเทียมจะสังเกตอาการได้ยากหน่อยแต่ที่เจอกับคุณพ่อของตัวเองเลยคือ อาการเริ่มต้นที่ลิ้นไม่รับรส มือหยิบจับอะไรไม่ค่อนถนัด การเคลื่อนไหวช้าลง เป็นริดสีดวงเนื่องจาก สารตัวนี้ไปควบคุมการเคลื่อนไหวไม่ใช่แต่การเคลื่อนไหวภายนอกเท่านั้นแต่บังคับการเคลื่อนไหวอวัยวะภายในอย่างลำไส้ด้วยเลยทำให้ลำไส้เคลื่อนไหวช้า การขับถ่ายเลยผิดปรกติ ทำให้เกิดริดสีดวงในเวลาต่อมาเนื่องจากถ่ายยาก หน้าตาของคนไข้จะไม่แสดงอารมณ์ใดๆเลย คือหน้าตาย อาจจะเนื่องจากกล้ามเนื้อบนใบหน้า และเครียดเนื่องจาก ไม่รู้จะบอกคนอื่นๆว่า เป็นอะไร ดังนั้นผู้ป่วยที่เป็นพาร์กินสันเทียมจึงเสี่ยงต่อการเป็นโรคซึมเศร้าด้วย ความรู้ทั้งหมดนี้มีอยู่ในหนังสือ เรื่อง พาร์กินสันหายได้ เขียนโดย หมอโรงพยาบาลจุฬา เขียนดีมาก และก็ดีขึ้นได้จริงๆนะคะ ตอนนี้คุณพ่อใช้ชีวิตได้ปรกติทุกอย่าง แต่คนเป็นโรคนี้ต้องกินยาเพื่อให้สมองหลั่งสารที่ควบคุมการเคลื่อนไหวตลอดชีวิต พาร์กินสันเป็นโรคที่ไม่หายนะคะ แต่ควบคุมโรคได้ และอีกอย่างหนึ่งที่สำคัญคือ การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอนะคะ เท่านี้คนไข้สามารถใช้ชีวิตได้ปรกติเหมือนคนปรกติเลยคะ คุณพ่ออายุ 71 ปี ขับรถได้ปรกติ ส่งที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งก็คือ อย่าเพ่มหรือลดยาเองเด็ดขาดนะคะ เนื่องจากโรคนี้เป็นโรคที่ต้องกินยาตลอดชีวิต ดังนั้นการเพ่มและลดยาเองจะทำให้มีผลกระทบต่อการรักษาอาการของโรคในระยะยาว ซึ่งอาจจะเกิดอาการดื้อยาในอนาคตได้คะ&nbsp มันมีการรักษาอีกแบบหนึ่งคือการกระตุ้นสมองด้วยไฟฟ้าคะ แต่อันนี้ไม่มีข้อมูลมากคะ ทางที่ที่สุดคือ ไปหาหมอที่ศูนย์สมองที่เชียงใหม่ก็มีนะคะ ที่จุฬาก็น่าจะดีที่สุดคะ ขอคำแนะนำก็ได้ แต่ต้องรีบรักษานะคะก่อนที่อาการของโรคจะมากขึ้นคะ

0